โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สดใส รุ่งโพธิ์ทอง

ดัชนี สดใส รุ่งโพธิ์ทอง

ใส รุ่งโพธิ์ทอง มีชื่อจริงในอดีตว่า วันชัย โรจนวิชัย เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยมีพ่อเป็นคนทำขวัญนาค แม่มีอาชีพชาวนา ในวัยเด็กชอบร้องเพลง โดยเฉพาะเพลงลูกทุ่ง สดใสบันทึกเสียงตัวเองลงแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง ข้าด้อยเพียงดิน ซึ่งเป็นเพลงที่เขียนเอง แต่เพลงที่ทำให้ได้ชื่อเสียงและได้รับความนิยมคือ รักจางที่บางปะกง ในปี พ.ศ. 2517 ซึ่งสดใสเขียนเนื้อเพลงเอง เป็นที่ได้รับความนิยมมากเพราะมีเนื้อร้องที่ไหลลื่นและคลองจองกัน พร้อมกับมีดนตรีที่เป็นจังหวะฉิ่งฉับ ฟังแล้วให้รู้สึกคึกคัก หลังจากนั้นมา สดใส ก็ได้มีผลงานบันทึกเสียงกับบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยอยู่ในอัลบั้ม สุดยอดลูกทุ่งเสียงทอง ต่อมาสดใสก็มีผลงานบันทึกเสียงกับค่ายโรสวิดีโอ (ปัจจุบันคือ โรสมีเดียฯ) โดยนำผลงานเพลงของตัวเอง และเพลงของ ศรเพชร ศรสุพรรณ รวมถึงนักร้องท่านอื่น ๆ มาขับร้องด้วย สดใส รุ่งโพธิ์ทอง กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในปี พ.ศ. 2540 กับเพลง รักน้องพร ซึ่งมีเนื้อหาและลีลาการร้องที่ออดอ้อน ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้ถูกนำมาร้องใหม่และแปลงเนื้อร้องโดยนักร้องลูกทุ่งหลายคน ในทางการเมือง สดใสสนใจการเมืองมาตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ได้นำเอาเพลงของคาราวานไปใส่เนื้อร้องใหม่เป็นเพลงลูกทุ่ง เช่นเพลง เราคนจน มาจากเพลง คนกับควาย เพลงโอ้ชาวนา มาจากเพลง เปิบข้าว เป็นต้น จากนั้น ได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและปริญญาโท รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 สดใสได้ลงสมัครเป็น ส.ว. ที่จ.ปทุมธานี และได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึง 52,180 คะแนน เป็นอันดับหนึ่งของจังหวัด มีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมของวุฒิสภา แต่ทำหน้าที่ได้เพียง 5 เดือนเท่านั้นก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการถูกรัฐประหาร ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งที.ปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการทาบทามของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรค โดยลงในเขต 2.ปทุมธานี ซึ่งประกอบด้วย อ.ธัญบุรี อ.ลำลูกกา และ อ.หนองเสือ พร้อมกับได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น สดใส โรจนวิชัย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในพื้นที่เดิม โดยย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒน.

35 ความสัมพันธ์: ชาวไร่ชาวนาพ.ศ. 2494พ.ศ. 2517พ.ศ. 2540พ.ศ. 2553พรรคชาติไทยพัฒนาพรรคประชาธิปัตย์การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549วันศุกร์ศรเพชร ศรสุพรรณส.ว.สุเทพ เทือกสุบรรณอำเภอบางบ่ออำเภอลำลูกกาอำเภอหนองเสืออำเภอธัญบุรีจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดปทุมธานีคาราวาน (วงดนตรี)คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงคนกับควายนักการเมืองนักร้องแผ่นซีดีแผ่นเสียงเช้านี้...ที่หมอชิตเพลงลูกทุ่งเหตุการณ์ 14 ตุลา12 พฤษภาคม23 กรกฎาคม

ชาวไร่ชาวนา

ชาวนากำลังดำนาปลูกข้าวอยู่ ชาวไร่ชาวนา เกษตรกรหรือกสิกร เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ เลี้ยงสัตว์เอาอาหารหรือวัตถุดิบ คำนี้ปกติใช้กับผู้ที่กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ปลูกพืชไร่ สวนผลไม้ ไร่องุ่น เลี้ยงสัตว์ปีกหรือปศุสัตว์อื่น ชาวไร่ชาวนาอาจเป็นเจ้าของที่ดินเกษตรกรรมหรือทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานบนที่ดินของผู้อื่นก็ได้ แต่ในประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้า (advanced economy) ปกติชาวไร่ชาวนาเป็นเจ้าของไร่นา ขณะที่ลูกจ้างของไร่นานั้น เรียก คนงานไร่นา (farm workers หรือ farmhand) ทว่า เมื่อไม่นานนี้ ชาวนาเป็นบุคคลเพื่อสนับสนุนหรือปรับปรุงการเติบโตของที่ดินหรือพืชผลหรือเลี้ยงสัตว์ (เช่น ปศุสัตว์หรือปลา) โดยแรงงานและความใส่ใจ หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:เกษตรกรรม.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและชาวไร่ชาวนา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพรรคชาติไทยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 เปิดสอน ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) ต่อมาจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยครูสวนสุนันทา" ในปี พ.ศ. 2518 ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

วันศุกร์

วันศุกร์ เป็นวันลำดับที่ 6 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพฤหัสบดีกับวันเสาร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 5 ของสัปดาห์ วันศุกร์เป็นวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมจะไปชุมนุมที่มัสยิดเพื่อนมาซวันศุกร์เวลาเที่ยงพร้อมกัน.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและวันศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรเพชร ศรสุพรรณ

รเพชร ศรสุพรรณ มีชื่อจริงว่า บุญทัน คล้ายละมั่ง เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย จากจังหวัดสุพรรณบุรี มีชื่อเสียงจากเพลง "ข้าวไม่มีขาย" ซึ่งได้รับรางวัลเสาอากาศทองคำ เมื่อปี พ.ศ. 2518 ศรเพชร จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดศรีสร้อยเพชร อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เริ่มเข้าสู่อาชีพนักร้อง จากการเป็นนักร้องเชียร์รำวงของ ดำ แดนสุพรรณ โดยมี เลี้ยง กันชนะ เป็นผู้ชักนำเข้าวงการ จนได้พบกับ โผผิน พรสุพรรณ นักร้องเชียร์รำวงอีกคนหนึ่ง โผผินจึงแต่งเพลงให้กับศรเพชรไว้หลายเพลงจนมีชื่อเสียงโด่งดังในช่วงปี พ.ศ. 2513-2519 โดยเพลงที่สร้างชื่อเสียงอย่างมาก คือ "ข้าวไม่มีขาย" ได้รับรางวัล นักร้องดีเด่นเสาอากาศทองคำ จากสถานีวิทยุเสียงสามยอด ปี..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและศรเพชร ศรสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ส.ว.

.ว. เป็นตัวย่อ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและส.ว. · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบ่อ

งบ่อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ใช้ภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาท้องถิ่น.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและอำเภอบางบ่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำลูกกา

ลำลูกกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและอำเภอลำลูกกา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองเสือ

อำเภอหนองเสือ เป็นอำเภอหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดปทุมธานี สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่ง มีลำคลองไหลผ่านหล.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและอำเภอหนองเสือ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธัญบุรี

ัญบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและอำเภอธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

คาราวาน (วงดนตรี)

ราวาน เป็นวงดนตรีในแนวเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย และ เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตวงแรกในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและคาราวาน (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง กระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดตั้งขึ้นพร้อมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหงอาศัยข้อบังคับและพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคำแหง มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศไทยในอดีตและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ได้ตอบสนองความต้องการของคนในสังคมด้วยการเปิดโอกาสทางการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้อย่างมีคุณธรรมเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ปัจจุบันคงเปิดดำเนินการและมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดผลตอบรับที่ดีและการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

คนกับควาย

ปกด้านหลัง คาราวานเล่นดนตรีอยู่บนเวทีชั่วคราว บนท้ายรถบรรทุก คนกับควาย เป็นเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของวงคาราวาน ขับร้องโดย สุรชัย จันทิมาธร จากทำนองเพลง "Master of War" ของ บ็อบ ไดแลน แต่งคำร้องภาษาไทยโดย สมคิด สิงสง สุรชัย จันทิมาธร ได้ฟังเพลง Master of War และเพลงอื่นๆ ของบ็อบ ไดแลน เป็นครั้งแรกจากแผ่นเสียงที่บ้านของเสถียร จันทิมาธร และชื่นชอบทำนอง จนนำมาหัดเล่นอยู่เสมอ วันหนึ่งสมคิด สิงสง ที่พักอยู่ด้วยกันได้ยินเข้าจึงชักชวนให้แต่งคำร้องภาษาไทย โดยสมคิดเล่นไวโอลิน สุรชัยเล่นกีตาร์ ต่อมา วิสา คัญทัพ ได้ขอร่วมแต่งด้วย จนสำเร็จเป็นเพลงในที่สุด เพลงคนกับควาย ได้แสดงสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก โดยสุรชัย จันทิมาธร และวิสา คัญทัพ ในงานแต่งงานของวีระประวัติ วงศ์พัวพันธุ์ เพื่อนนักเขียนในกลุ่ม "พระจันทร์เสี้ยว" และเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้าง จากการแสดงในงานนิทรรศการเพลงเพื่อชีวิต ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสุรชัย และวีระศักดิ์ สุนทรศรี ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ในปี พ.ศ. 2519 เทปมาสเตอร์ของอัลบัมคนกับควายถูกทำลายทิ้งทั้งหมด เพื่อความปลอดภัยของผู้ครอบครอง ภายหลังจึงได้มีการทำมาสเตอร์ขึ้นมาใหม่ในปี..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและคนกับควาย · ดูเพิ่มเติม »

นักการเมือง

นักการเมือง, ผู้นำทางการเมืองหรือบุคคลทางการเมือง (อังกฤษ: politician มาจากภาษากรีกโบราณ polis ที่แปลว่า "เมือง") เป็นบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะและการวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งรวมผู้ดำรงตำแหน่งวินิจฉัยสั่งการในรัฐบาล และผู้ที่มุ่งดำรงตำแหน่งเหล่านั้น ไม่ว่าด้วยวิธีการเลือกตั้ง การสืบทอด รัฐประหาร การแต่งตั้ง การพิชิต หรือวิธีอื่น การเมืองไม่ใช่จำกัดอยู่เพียงวิธีการปกครองผ่านตำแหน่งสาธารณะเท่านั้น ตำแหน่งทางการเมืองอาจถืออยู่ในบรรษัทก็ได้.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและนักการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและแผ่นซีดี · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นเสียง

แผ่นเสียง คือวัสดุที่ก่อให้เกิดเสียง ทำจากวัสดุหลายชนิดและขน.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและแผ่นเสียง · ดูเพิ่มเติม »

เช้านี้...ที่หมอชิต

้านี้...ที่หมอชิต เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทรายงานข่าว วาไรตี้ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน ผลิตโดย บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด ดำเนินรายการโดย ชวัลนันท์ จันทร์ทรัพย์,ศรีสุภางค์ ธรรมาวุธ และ เหมือนฝัน ประสานพานิช ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 06.00-07.00 น. ทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 เริ่มออกอากาศเป็นครั้งแรก เมื่อวันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2552 และเป็นรายการแรกในช่อง 7 ที่แสดงเวลาบนหน้าจอ โดยระยะแรกเป็นนาฬิกาตัวเลขแบบไม่แสดงเวลาเป็นวินาทีในตำแหน่งสัญลักษณ์รายการ ต่อมาปรับเป็นนาฬิกาตัวเลขแบบแสดงเวลาเป็นวินาทีเช่นเดียวกับช่องอื่นๆ ซึ่งรูปแบบดังกล่าวได้ขยายไปยังรายการ สนามข่าว 7 สี และรายการ ห้องข่าวภาคเที่ยง อีกด้วย ในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 เพิ่มเวลาการออกอากาศเป็น 06:00 - 07:30 น.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและเช้านี้...ที่หมอชิต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สดใส รุ่งโพธิ์ทองและ23 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สดใส โรจนวิชัย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »