โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิทยาหน่วยคำ

ดัชนี วิทยาหน่วยคำ

วิทยาหน่วยคำ (morphology) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของคำ โดยที่โดยทั่วไปแล้วคำถูกยอมรับว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในวากยสัมพันธ์ และเป็นที่ชัดเจนว่าในภาษาส่วนมาก มีกฎที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ของคำแต่ละคำกับคำอื่น ๆ.

4 ความสัมพันธ์: กฎภาษาศาสตร์วากยสัมพันธ์คำ

กฎ

กฎ (rule, law) คือ ข้อบังคับ ที่อยู่ในความเป็นจริง เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและ ชีวิต แต่อย่างไรก็ตามกฎในบางแขนงวิชาเช่นชีววิทยามีโอกาสถูกล้มล้างได้ โดยมีความจริงในตัวของมันเองสามารถทดสอบได้ และได้ผลเหมือนเดิมทุกครั้งโดยไม่มีข้อโต้แย้ง เช่น กฎการถ่ายทอดพันธุกรรมของเมนเดล (mendel's law) หมวดหมู่:สังคมวิทยา.

ใหม่!!: วิทยาหน่วยคำและกฎ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาศาสตร์

ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.

ใหม่!!: วิทยาหน่วยคำและภาษาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วากยสัมพันธ์

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ: syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นปร.

ใหม่!!: วิทยาหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

คำ

ำ เป็นหน่วยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบด้วยพยางค์หนึ่งพยางค์หรือมากกว่า ปกติแล้วในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำแสดงถึงความหมายและที่มาของคำนั้น โดยการนำคำหลายคำมาประกอบกันจะทำให้เกิดวลีหรือประโยคซึ่งใช้สื่อความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นไป.

ใหม่!!: วิทยาหน่วยคำและคำ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สัณฐานวิทยา (ภาษาศาสตร์)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »