โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)

ดัชนี วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)

Tuareg forces วิกฤตการณ์ลิเบีย หมายถึงความขัดแย้งที่ยังดำเนินอยู่ในลิเบีย เริ่มขึ้นด้วยการประท้วงและการเดินขบวนครั้งใหญ่ทั่วประเทศจากกระแสอาหรับสปริงเพื่อต่อต้านรัฐบาลของมูอัมมาร์ กัดดาฟี แล้วลุกลามกลายเป็นสงครามกลางเมืองลิเบียครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ฝ่ายกบฏสามารถควบคุมหัวเมืองและนครชายฝั่งได้หลายแห่ง โดยที่ฝ่ายที่สนับสนุนกัดดาฟียังคงควบคุมเมืองชายฝั่งบ้านเกิดของกัดดาฟี เซิร์ทและเมืองบานีวาลิคทางตอนใต้ของกรุงตริโปลี วันที่ 22 สิงหาคม..

8 ความสัมพันธ์: มูอัมมาร์ กัดดาฟีรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสหประชาชาติสงครามกลางเมืองลิเบียอาหรับสปริงตริโปลีประเทศลิเบีย

มูอัมมาร์ กัดดาฟี

มุอัมมัร อัลก็อษษาฟี (معمر القذافي) เป็นผู้นำประเทศลิเบียโดยพฤตินัย หลังรัฐประหารในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และมูอัมมาร์ กัดดาฟี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (Islamic State of Iraq and the Levant, ย่อ: ISIL) หรือเรียก รัฐอิสลามอิรักและซีเรีย (Islamic State of Iraq and Syria; ย่อ: ISIS), รัฐอิสลามอิรักและอัชชาม (Islamic State of Iraq and ash-Sham) หรือรัฐอิสลาม (Islamic State; ย่อ: IS) เป็นกลุ่มนักรบสุดโต่งวะฮาบีย์/ญิฮัดสะละฟีย์ซึ่งตั้งตนเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์และรัฐอิสลาม กลุ่มนี้มีชาวอาหรับนิกายซุนนีย์จากประเทศอิรักและซีเรียเป็นผู้นำและเป็นส่วนใหญ่ ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มควบคุมดินแดนที่มีประชากร 10 ล้านคนในประเทศอิรักและซีเรีย และควบคุมเหนือดินแดนขนาดเล็กในประเทศลิเบีย ไนจีเรียและอัฟกานิถสานผ่านกลุ่มท้องถิ่นที่ภักดี กลุ่มนี้ยังปฏิบัติการหรือมีสาขาในส่วนอื่นของโลก รวมถึงแอฟริกาเหนือและเอเชียใต้ วันที่ 29 มิถุนายน กลุ่มตั้งต้นเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ทั่วโลก โดยมีอะบู บักร์ อัลบัฆดาดีเป็นเคาะลีฟะฮ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นอัดเดาละฮ์ อัลอิสลามิยะฮ์ (الدولة الإسلامية, ad-Dawlah al-Islāmiyah "รัฐอิสลาม") ด้วยเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ กลุ่มนี้อ้างอำนาจทางศาสนา การเมืองและทหารเหนือมุสลิมทุกคนทั่วโลก และว่า "ความชอบด้วยกฎหมายของทุก ๆ เอมิเรต กลุ่ม รัฐและองค์การเป็นโมฆะโดยการแผ่ขยายอำนาจของเคาะลีฟะฮ์และทหารของรัฐเคาะลีฟะฮ์มาถึงพื้นที่ของสิ่งเหล่านี้" สหประชาชาติถือว่า ISIL รับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอาชญากรรมสงคราม และองค์การนิรโทษกรรมสากลรายงานการล้างชาติพันธุ์ของกลุ่มใน "ขนาดที่ไม่เคยมีมาก่อน" สหประชาชาติ สหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ตุรกี ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อียิปต์ อินเดียและรัสเซียประกาศให้กลุ่มนี้เป็นองค์การก่อการร้าย กว่า 60 ประเทศกำลังทำสงครามโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อ ISIL กลุ่มนี้กำเนิดเป็น "จามาต ตอฮิด วัล ญิฮัด" (Jama'at al-Tawhid wal-Jihad) ในปี 2542 ซึ่งสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮ์ในปี 2547 กลุ่มนี้เข้าร่วมการก่อการกำเริบอิรักให้หลังการบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 โดยกำลังตะวันตก ในเดือนมกราคม 2549 กลุ่มนี้เข้ากับกลุ่มก่อการกำเริบซุนนีย์อื่นตั้งเป็นสภาชูรามุญาฮิดีน (Mujahideen Shura Council) ซึ่งประกาศตั้งรัฐอิสลามอิรัก (ISI) ในเดือนตุลาคม 2549 หลังสงครามกลางเมืองซีเรียอุบัติในเดือนมีนาคม 2554 ISI โดยมีอัลบัฆดาดีเป็นผู้นำ ส่งผู้แทนไปซีเรียในเดือนสิงหาคม 2554 นักรบเหล่านี้ตั้งชื่อตัวเองเป็นญับฮะตุลนุศเราะฮฺลิอะห์ลิอัชชาม (Jabhat an-Nuṣrah li-Ahli ash-Shām) หรือแนวอัลนุสรา (al-Nusra Front) และเข้าไปในอยู่ในพื้นที่ของซีเรียซึ่งมีมุสลิมซุนนีย์เป็นส่วนใหญ่จำนวนมาก ในผู้ว่าราชการอัรร็อกเกาะฮ์ อิดลิบ เดอีร์เอซซอร์ และอะเลปโป ในเดือนเมษายน 2556 อัลบัฆดาดีประกาศรวม ISI กับแนวร่วมอัลนุสราแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL) อย่างไรก็ดี อะบู มุฮัมมัด อัลจูลานี (Abu Mohammad al-Julani) และอัยมัน อัซเซาะวาฮิรี ผู้นำของอัลนุสราและอัลกออิดะฮ์ตามลำดับ ปฏิเสธการรวมดังกล่าว วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2557 หลังการแย่งอำนาจนานแปดเดือน อัลกออิดะฮ์เรียกกลุ่มนี้ว่า "สุดโต่งเกิน" และตัดความสัมพันธ์ทั้งหมดกับ ISIL โดยอ้างว่าไม่สามารถปรึกษาได้และไม่ยอมอ่อนข้ออย่างเปิดเผย" ในประเทศซีเรีย กลุ่มนี้ดำเนินการโจมตีภาคพื้นดินต่อทั้งกำลังรัฐบาลและกลุ่มแยกกบฏในสงครามกลางเมืองซีเรีย กลุ่มนี้มีความสำคัญหลังขับกำลังรัฐบาลอิรักออกจากนครสำคัญในภาคตะวันตกของอิรักในการรุกที่เริ่มเมื่อต้นปี 2557 การเสียดินแดนของอิรักแทบทำให้รัฐบาลอิรักล่มและทำให้สหรัฐรื้อฟื้นการปฏิบัติทางทหารใหม่ในอิรัก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ

ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ. 2554 ต่อต้านมูอัมมาร์ กัดดาฟี ประธานาธิบดีแห่งประเทศลิเบีย ตามประกาศการจัดตั้งอันมีขึ้นในเมืองเบงกาซีเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 ด้วยวัตถุประสงค์จะให้ปฏิบัติหน้าที่เป็น "โฉมหน้าทางการเมืองของคณะปฏิวัติ" เมื่อวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองลิเบีย

งครามกลางเมืองลิเบี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และสงครามกลางเมืองลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับสปริง

อาหรับสปริง (Arab Spring, الثورات العربية‎ al-Thawrāt al-ʻArabiyyah) เป็นคลื่นปฏิวัติการเดินขบวน การประท้วงและสงครามซึ่งเกิดขึ้นในโลกอาหรับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2553 ตราบจนปัจจุบัน ผู้ปกครองถูกโค่นจากอำนาจในตูนิเซีย อียิปต์ ลิเบีย และเยเมน การก่อการกำเริบพลเมืองอุบัติขึ้นในบาห์เรน และซีเรีย การประท้วงใหญ่เกิดขึ้นในอัลจีเรีย อิรัก จอร์แดน คูเวต โมร็อกโก และซูดาน และการประท้วงเล็กเกิดในเลบานอน มอริเตเนีย โอมาน ซาอุดิอาระเบีย จิบูตี และเวสเทิร์นสะฮารา การประท้วงมีเทคนิคการดื้อแพ่งร่วมกันในการรณรงค์ต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับการนัดหยุดงาน การเดินขบวน การเดินแถว และการชุมนม เช่นเดียวกับการใช้โซเชียลมีเดียในการจัดระเบียบ สื่อสารและสร้างความตระหนักเมื่อเผชิญกับความพยายามของรัฐในการปราบปรามและตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ต การเดินขบวนอาหรับสปริงหลายประเทศเผชิญกับการตอบสนองรุนแรงจากทางการ เช่นเดียวกับทหารอาสาสมัครนิยมรัฐบาลและการเดินขบวนโต้ตอบ การโจมตีเหล่านี้ได้รับการสนองจากผู้ประท้วงด้วยความรุนแรงในบางกรณี.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และอาหรับสปริง · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลี

ตริโปลีในแผนที่ พีรี่ รีส ตริโปลี (طرابلس, ภาษาอาหรับลิเบีย:, ภาษาเบอร์เบอร์: Ṭrables, มาจาก Τρίπολις "สามเมือง") เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและ เมืองหลวงของลิเบีย บางครั้งจะเรียกว่าตริโปลีตะวันตก (طرابلس الغرب) เพื่อให้ต่างจากตริโปลีในเลบานอน ตริโปลีมีประชากร 1,065,405 (พ.ศ. 2549)ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ที่ขอบของทะเลทราย เป็นส่วนของแผ่นดินที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตรงบริเวณที่เป็นอ่าว ชาวฟินิเซียก่อตั้งเมืองตริโปลีขึ้นเมื่อ 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยตั้งชื่อว่า "เอีย" ตริโปลีเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด มีท่าเรือ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแห่งลิเบีย เนื่องจากเป็นเมืองที่มีประวัติยาวนาน จึงมีแหล่งโบราณคดีในเมืองมากมาย มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน คือ อากาศร้อน ฤดูร้อนแล้ง ฤดูหนาวฝนตก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)และประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วิกฤตการณ์ลิเบีย (2011–ปัจจุบัน)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »