โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามประธานาธิบดีเนปาล

ดัชนี รายนามประธานาธิบดีเนปาล

ไม่มีคำอธิบาย.

10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2551พ.ศ. 2558รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาลสเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามีธงชาติเนปาลคิริชา ประสาท โกอิราลาตราแผ่นดินของเนปาลประเทศเนปาล28 พฤษภาคม29 ตุลาคม

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

ระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียกโดยราชประเพณีว่า "ศรีปัญจมหาราชธิราช" (เนปาลี: श्री ५ महाराजधिराज, Śrī Pañca Mahārājdhirāj) ส่วนสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียก "ศรีปัญจพฑามหารานี" (เนปาลี: श्री ५ बडामहारानी, Śrī Pañca Badāmahārānī) ทั้งนี้ การปกครองประเทศเนปาลตามระบอบราชาธิปไตยนั้นได้ยกเลิกไปโดยมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลซึ่งให้เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลมีชื่อว่า สเยาง์ ถุงฺคา ผูลกา หามี (เนปาล: सयौं थुँगा फूलका हामी, แปลว่า "เราคือบุปผานับร้อย") เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องโดยประทีป กุมาร ราอิ (Pradeep Kumar Rai) กวีชาวเนปาล ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในชื่อ พยากุล มาอิลา (Byakul Maila) ทำนองโดยอัมพาร์ คุรุง (Ambar Gurung) เพลงนี้ได้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติเนปาลอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ในรัฐพิธีซึ่งจัดขึ้น ณ หอประชุมคณะกรรมการการวางแผนชาติ ภายในพระราชวังสิงหดรูบาร์ (Singha Durbar) อันเป็นที่ตั้งของรัฐสภาเนปาล โดยนายสุภาศ เนมวัง (Subhash Nemwang) ประธานรัฐสภาเนปาล เป็นผู้เปิดแผ่นซีดีบรรเลงเพลงชาติในพิธีดังกล่าวทั้งนี้ การเริ่มใช้เพลงชาติเนปาลใหม่อย่างเป็นทางการข้างต้น ได้มีขึ้นก่อนการผ่านกฎหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญมาสู่ระบอบสาธารณรัฐอย่างเป็นทางการประมาณ 4 เดือน อนึ่ง คำว่าเพลงชาติในภาษาเนปาลใช้คำว่า "ราษฺฏฺริย คาน" (อักษรเทวนาครี: राष्ट्रिय गान) แต่ในเอกสารภาษาต่างประเทศมักใช้อ้างอิงถึงเพลง "ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี" (อักษรเทวนาครี: श्रीमान् गम्भीर नेपाली) ซึ่งเป็นเพลงชาติเนปาล ในสมัยราชาธิปไต.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและสเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเนปาล

งชาติเนปาล เป็นธงชาติเดียวในโลกที่มิได้มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ธงนี้เป็นการรวมธงสามเหลี่ยมสองผืนกันให้ง่าย สีแดงเลือดหมูเป็นสีของกุหลาบพันปี ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติ สีแดงยังเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะในสงคราม ขอบน้ำเงินเป็นสีแห่งสันติภาพ กระทั่ง พ.ศ. 2505 ดวงอาทิตย์และจันทร์เสี้ยว มีหน้ามนุษย์ด้วย ใบหน้าถูกนำออกเพื่อทำให้ธงทันสมัย ใบหน้ายังเหลืออยู่บนดวงอาทิตย์และดวงจันทร์บนธงพระมหากษัตริย์กระทั่งมีการล้มล้างพระมหากษัตริย์ใน..

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและธงชาติเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

คิริชา ประสาท โกอิราลา

ริชา ประสาท โกอิราลา คิริชา ประสาท โกอิราลา (गिरिजा प्रसाद कोइराला) เป็นอดีตผู้รักษาการประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีเนปาล.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและคิริชา ประสาท โกอิราลา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเนปาล

ตราแผ่นดินของเนปาล เริ่มใช้วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2549 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและตราแผ่นดินของเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 ตุลาคม

วันที่ 29 ตุลาคม เป็นวันที่ 302 ของปี (วันที่ 303 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 63 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายนามประธานาธิบดีเนปาลและ29 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »