โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามนักเขียนเรื่องสั้น

ดัชนี รายนามนักเขียนเรื่องสั้น

รายชื่อนักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย;ก.

60 ความสัมพันธ์: ชอุ่ม ปัญจพรรค์ชัชวาลย์ โคตรสงครามชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ชาติ กอบจิตติบินหลา สันกาลาคีรีฟ้า พูลวรลักษณ์พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก)กุหลาบ สายประดิษฐ์กนกพงศ์ สงสมพันธุ์มาลา คำจันทร์มนัส จรรยงค์ยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์วัชระ สัจจะสารสินวัฒน์ วรรลยางกูรวิมล ไทรนิ่มนวลวินทร์ เลียววาริณศักดิชัย บำรุงพงศ์ศักดิ์ชัย ลัคนาวิเชียรศักดิ์เกษม หุตาคมส. ธรรมยศสมชาย อาสนจินดาสุภา ศิริมานนท์สุภาว์ เทวกุลสุริยัน ศักดิ์ไธสงสุวรรณี สุคนธาสุจิตต์ วงษ์เทศสด กูรมะโรหิตหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณหม่อมหลวงต้อย ชุมสายหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนีอบ ไชยวสุอัญชันอังคาร กัลยาณพงศ์อิศรา อมันตกุลอุชเชนี (แก้ความกำกวม)จักษณ์ จันทรจันตรี ศิริบุญรอดจำลอง ฝั่งชลจิตรธาร ยุทธชัยบดินทร์ธารา ศรีอนุรักษ์ทวี เกตะวันดีณรงค์ จันทร์เรืองคมทวน คันธนูคำพูน บุญทวีฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิประภัสสร เสวิกุลประมวล ดาระดาษประยอม ซองทอง...ประเสริฐ พิจารณ์โสภณนันทนา วีระชนนิวัต พุทธประสาทนิคม รายยวาแมวเบอร์มีสไมตรี ลิมปิชาติเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเหม เวชกรเดือนวาด พิมวนาเฉลิม รงคผลิน ขยายดัชนี (10 มากกว่า) »

ชอุ่ม ปัญจพรรค์

อุ่ม ปัญจพรรค์ หรือ ชอุ่ม แย้มงาม (6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556) นักเขียน นักแต่งเพลงชาวไทย ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและชอุ่ม ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัชวาลย์ โคตรสงคราม

ัชวาลย์ โคตรสงคราม เป็นนักเขียนผู้เข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและชัชวาลย์ โคตรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์

ลี เอี่ยมกระสินธุ์ (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2546) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น และนวนิยายแนวการผจญภัยในป่าดงดิบ และบทความสารคดีชุด "ราชสำนัก" และ "เมืองไทยในอดีต" ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป จากสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2544 ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ เกิดที่ตำบลเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นบุตรคนโตของ นายบุญชู และนางแฉล้ม เอี่ยมกระสินธุ์ มีน้องชายชื่อชวลิต และน้องสาวชื่อชุลี เมื่ออายุ 7 ปี ได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพมหานคร ที่บ้านพักริมแม่น้ำเจ้าพระยา ใกล้วัดบพิตรพิมุข (วัดเชิงเลน) สะพานยาว บิดาของชาลี เป็นครู และเป็นนักเขียน มีนามปากกาว่า ". เอี่ยมกระสินธุ์" ต่อมาได้ตั้งสำนักพิมพ์ อ.ก..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติ กอบจิตติ

ติ กอบจิตติ (เกิด 25 มิถุนายน 2497) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี พ.ศ. 2547 และนักเขียน 2 รางวัลซีไรต์ และรางวัลช่อการะเก.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและชาติ กอบจิตติ · ดูเพิ่มเติม »

บินหลา สันกาลาคีรี

นหลา สันกาลาคีรี เป็นนามปากกาของ วุฒิชาติ ชุ่มสนิท เป็นนักประพันธ์ไทยได้รับรางวัลซีไรต.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและบินหลา สันกาลาคีรี · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้า พูลวรลักษณ์

ฟ้า พูลวรลักษณ์ "เด็กชายฟ้า พูลวรลักษณ์":IMAGE.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและฟ้า พูลวรลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก)

ระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญจนิโก) (3 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส นักเขียนเรื่องสั้นชุด "หลวงตา" เจ้าของนามปากกา แพรเยื่อไม้ พระครูพิศาลธรรมโกศล เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อเป็นฆราวาสใช้ชื่อว่า พจน์ คงเพียรธรรม เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายลำใย-นางสำริด คงเพียรธรรม บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อ พ.ศ. 2485 อายุ 17 ปี และ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. 2488 อายุ 20 ปี ณ วัดบ้านช้าง อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา และย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดประยุรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. 2489 พระครูพิศาลธรรมโกศล เริ่มงานเขียนหนังสือเมื่อประมาณ พ.ศ. 2500 เรื่องกงกรรมกงเกวียน และเรื่องบุษรา นำออกพิมพ์จำหน่ายเผยแพร่ ตามด้วยเรื่องอุเทนราช เขียนเป็นตอนๆ ลงในวารสารพุทธจักร ประมาณ พ.ศ. 2510 พระครูพิศาลธรรมโกศลเริ่มเขียน เรื่องสั้นชุดหลวงตา โดยเริ่มจากเรื่องสั้นเรื่องแรก ชื่อ บุญหลง เมื่อนำมารวมเล่มจำหน่ายครั้งแรก จึงใช้ชื่อหนังสือว่า หลวงตา ตามชื่อตัวเอก ต่อมาได้รับการติดต่อไปพิมพ์เผยแพร่ในนามของ ศูนย์การเผยแพร่พระพุทธศาสนา มูลนิธิอภิธรรม วัดมหาธาตุ และได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พิมพ์ซ้ำหลายครั้ง และนามปากกา แพรเยื่อไม้ ก็เป็นที่รู้จักแพร่หลาย พระครูพิศาลธรรมโกศล มรณภาพเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ด้วยโรคมะเร็งในหลอดอาหาร ที่โรงพยาบาลเปาโล.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและพระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก) · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและกุหลาบ สายประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กนกพงศ์ สงสมพันธุ์

กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง — 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นนักเขียนรางวัลซีไรต์ ปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาลา คำจันทร์

มาลา คำจันทร์ เป็นนามปากกาของ เจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและมาลา คำจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนัส จรรยงค์

มนัส จรรยงค์ (10 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ที่จังหวัดเพชรบุรี — 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508) เป็นนักเขียนชาวไทย ได้รับการยกย่องว่าเป็น "ราชาเรื่องสั้นของเมืองไทย " มนัส จรรยงค์ เกิดที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรคนโตในจำนวน 10 คนของนายผ่องและนางเยื้อน จรรยงค์ เมื่อจบชั้นมัธยม 2 บิดามารดาได้ส่งไปเรียนหนังสือที่กรุงเทพ ที่โรงเรียนสุขุมาลัย วัดพิชัยญาติ โดยพักอาศัยอยู่ที่บ้านเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) แล้วไปเป็นนักเรียนประจำที่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยาจนจบชั้นมัธยม 6 และออกจากโรงเรียนเมื่อขึ้นชั้นมัธยม 7 เพราะผลการเรียนตกต่ำ ออกไปเผชิญชีวิตภายนอกเป็นนักแสดงกายกรรม แอบโดยสารใต้ท้องรถไฟเพื่อไปเป็นกรรมกรเหมืองแร่ที่ภาคใต้ และถูกนายตรวจจับได้ จึงต้องเดินเท้ากลับ เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและมนัส จรรยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์

งศักดิ์ โควสุรัตน์ คือนักเขียนเจ้าของนามปากกา "อีแร้ง" นักวิจารณ์ภาพยนตร์เจ้าของนามปากกา "น้ำผึ้ง" อดีตพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของการบินไทย และอาจารย์สอนงานบริการ เจ้าของผลงานชุดบินแหลก และคำสารภาพของนักเขียน ปัจจุบันยังคงเขียนคอลัมน์ บินแหลก ลงในนิตยสารดิฉัน เป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ สัจจะสารสิน

วัชระ สัจจะสารสิน เป็นนามปากกาของ "วัชระ เพชรพรหมศร" เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ที่อำเภอควนเนียง จ.สงขลา รับราชการสังกัดสำนักงานศาลปกครอง และเขียนเรื่องสั้นเป็นงานอดิเรก ได้รับรางวัลซีไรต์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและวัชระ สัจจะสารสิน · ดูเพิ่มเติม »

วัฒน์ วรรลยางกูร

วัฒน์ วรรลยางกูร วัฒน์ วรรลยางกูร (เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2498) เป็นนักเขียนชาวไทย เกิดที่ตำบลตะลุง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี วัฒน์ปฏิเสธอำนาจของคณะรัฐประหาร..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและวัฒน์ วรรลยางกูร · ดูเพิ่มเติม »

วิมล ไทรนิ่มนวล

วิมล ไทรนิ่มนวล (เกิด พ.ศ. 2498) เป็นชาวอำเภอบางเลน.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและวิมล ไทรนิ่มนวล · ดูเพิ่มเติม »

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและวินทร์ เลียววาริณ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและศักดิชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ชัย ลัคนาวิเชียร

ักดิ์ชัย ลัคนาวิชียร นักประพันธ์ มีผลงานรวมเล่มแล้วดังนี้.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและศักดิ์ชัย ลัคนาวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและศักดิ์เกษม หุตาคม · ดูเพิ่มเติม »

ส. ธรรมยศ

. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. 2478 เคยบวชพระแต่ไม่ได้แต่งงาน หลังกลับมาอยู่เมืองไทย เริ่มต้นอาชีพครูที่โรงเรียนสตรีจุลนาคของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี.ธรรมยศ เริ่มต่อสู้เพื่อให้เปิดการสอนวิชาปรัชญาขึ้นในประเทศไทยด้วยถือว่าเป็นมารดาของวิชาทั้งปวง จนเกิดเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ เขาได้เขียนบทความและหนังสือวิชาปรัชญามากมายตลอดจนปาฐกถาในสาขาวิชานี้ เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารโยนก ของสมาคมชาวเหนือ เขียนเรื่องสั้นไว้ประมาณ 40 เล่ม สารคดี และวิชาปรัชญาอีกหลายเล่ม เขียน บทนำแห่งปรัชญาศาสตร์ หนา 289 หน้า เมื่ออายุได้ 26 ปี เขียน พระเจ้ากรุงสยาม หนาร่วม 800 หน้า ขณะที่ป่วย นอนอยู่ในโรงพยาบาล.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและส. ธรรมยศ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สุภา ศิริมานนท์

ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสุภา ศิริมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภาว์ เทวกุล

ว์ เทวกุล เป็นนามปากกาของ สุภาว์ เทวกุล ณ อยุธยา (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 - 5 กันยายน พ.ศ. 2536) นักเขียนนวนิยาย และเรื่องสั้น เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และดำรงตำแหน่งเลขาธิการสมาคมติดต่อกันมาหลายปี และได้รับเลือกเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย คนที่ 6 ต่อจากครูแก้ว อัจฉริยะกุล ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสุภาว์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยัน ศักดิ์ไธสง

ริยัน ศักดิ์ไธสง นักเขียนที่มีผลงาน เส้นทางมาเฟีย ที่ถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง หรือรู้จักในนาม เปี๊ยก วิสุทธิ์กษัตริย์ ในภาพยนตร์ 2499 อันธพาลครองเมือง.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสุริยัน ศักดิ์ไธสง · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณี สุคนธา

วรรณี สุคนธา เป็นนามปากกาของ สุวรรณี สุคนธ์เที่ยง (1 มีนาคม พ.ศ. 2475 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) นักเขียนชาวไทย สุวรรณีเป็นบุตรของนายย้อยและนางแตงอ่อน มีพี่ชายหนึ่งคน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนผดุงนารี-กวีพิทยา ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก แล้วมาต่อที่วิทยาลัยเพาะช่างสองปี และคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงจิตรกรรม เมื่อ พ.ศ. 2494 จากนั้นจึงเริ่มเป็นครูศิลปะที่โรงเรียนศิลปศึกษา กรุงเทพมหานคร อยู่สามปี แล้วไปเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างนั้นได้เริ่มเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกคือ "จดหมายถึงปุก" (พ.ศ. 2508) โดยตีพิมพ์ในสตรีสาร และใช้นามปากกาว่า "สุวรรณี" ต่อมานายประมูล อุณหธูป บรรณาธิการสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ได้ตั้งนามปากกาให้ใหม่ว่า "สุวรรณี สุคนธา" เมื่อได้ส่งเรื่องสั้นให้ตีพิมพ์ในสยามรัฐ ส่วนนวนิยายเรื่องแรกที่เขียนคือ "สายบ่หยุดเสน่ห์หาย" ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เมื่องานเขียนเริ่มเป็นที่นิยมสุวรรณีจึงลาออกจากราชการ และปฏิบัติงานเขียนอย่างเต็มตัว จนถึง..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสุวรรณี สุคนธา · ดูเพิ่มเติม »

สุจิตต์ วงษ์เทศ

ตต์ วงษ์เทศ (20 เมษายน พ.ศ. 2488 - ปัจจุบัน) นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นนักเขียนประจำในเครือมติชน เขียนเป็นประจำในคอลัมน์ "สยามประเทศไทย" ในหนังสือพิมพ์มติชน และผู้บรรยาย องค์ปาฐกถาพิเศษด้านศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) ประจำปี พ.ศ. 2545 (แต่ได้ขอปฏิเสธรางวัลและค่าตอบแทน).

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสุจิตต์ วงษ์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

สด กูรมะโรหิต

กูรมะโรหิต (27 เมษายน พ.ศ. 2451 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) เป็นนักเขียนนวนิยายไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเขียนหลากหลาย ทั้งสารคดี เรื่องสั้น นวนิยาย นวนิยายแปล บทละครเวที และบทภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังเป็นเกษตรกร ที่พยายามนำแนวคิดเกี่ยวกับกิจการสหกรณ์ไว้เป็นจำนวนมาก สด กูรมะโรหิต เกิดที่ตำบลท่าเรือจ้าง จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของอำมาตย์โท พระจรูญภารการ (เติม กูรมะโรหิต) กับนางเหนย กูรมะโรหิต (2417-2512:95 ปี) มีน้องสาวคือ คุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ (2454- 2557 อายุ 103 ปี) บิดาเป็นข้าราชการมหาดไทย ตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมือง ยกกระบัตรมณฑล ปลัดมณฑล และผู้ว่าราชการจังหวัด ในวัยเด็กต้องย้ายตามบิดาไปตามจังหวัดต่างๆ และเข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งแต่ชั้นประถม 1 ถึงมัธยม 8 เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ โดยมีผลการเรียนดีเด่น เข้าสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงสองครั้งในปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและสด กูรมะโรหิต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย

หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย (28 มกราคม พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2504) นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนในคณะสุภาพบุรุษ ศิลปินช่างภาพ เป็นผู้บุกเบิกวงการถ่ายภาพนู้ดของไทย เมื่อราวทศวรรษ 2480 เคยเป็นอาจารย์ ผู้แนะนำรงค์ วงษ์สวรรค์เข้าสู่แวดวงนักหนังสือพิมพ์ หม่อมหลวงต้อย เป็นบุตรของ พระยาสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ถัด ชุมสาย บุตรหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย กับหม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์) กับคุณหญิงสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (ติ๊ โภคาสมบัติ ธิดาขุนโภคาสมบัติ (เอม) กับนางโภคาสมบัติ (เอม)) เกิดที่บ้านหลังวัดสังขเวชวิศยราม บางลำพู พี่น้องจำนวน 7 คน ได้แก.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและหม่อมหลวงต้อย ชุมสาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์

อง ม.จ.อากาศดำเกิงรพีพัฒน์ บนปกหนังสือ ละครแห่งชีวิต หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (12 พฤศจิกายน 2447 — 18 พฤษภาคม 2475) หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกา วรเศวต เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ กับหม่อมอ่อน ทรงได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และศึกษาต่อชั้นมัธยม 4 ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แต่สอบตกชั้นมัธยม 7 จึงออกจากโรงเรียน เดินทางไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่สำนักมิดเดิ้ลเทมเปิ้ล กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ แต่โดยที่ไม่โปรดในเรื่องกฎหมาย จึงทรงคลุกคลีอยู่กับหมู่นักหนังสือพิมพ์อังกฤษ จนล้มเหลวในเรื่องการศึกษา แต่โชคดีที่ได้รับพระราชทานทุนจากรัชกาลที่ 7 ให้ไปศึกษาวิชาการต่างประเทศ ที่เมืองจอร์จทาวน์ สหรัฐอเมริกา แต่ประชวรหนักทำให้ต้องเดินทางกลับประเทศไทย ม..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า ". ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

อบ ไชยวสุ

อบ ไชยวสุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540) ครูสอนภาษาไทย นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนเรื่องสั้นแนวชวนหัว เจ้าของนามปากกา ฮิวเมอริสต์ และ L.ก.. ได้รับการยกย่องเป็นผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัลพระเกี้ยวทองคำ และรับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (หัสคดี) ประจำปีพุทธศักราช 2529 อบ ไชยวสุ เกิดที่บ้านตำบลคลองสำเหร่ ฝั่งธนบุรี เป็นบุตรคนโตในจำนวน 8 คนของหลวงรัตนเทพีพลารักษ์ (เชย) กับนางเที่ยง ไชยวสุ บิดาเคยรับราชการเป็นพระพี่เลี้ยงสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วรับราชการเป็นครูสอนวิชาภาษาไทย จากนั้นทำงานเป็นบรรณาธิการ นักหนังสือพิมพ์ นักภาษาและนักประพันธ์ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มนักประพันธ์ชื่อคณะ “สุภาพบุรุษ” เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและอบ ไชยวสุ · ดูเพิ่มเติม »

อัญชัน

อัญชัน (L.) เป็นไม้เถา ลำต้นมีขนนุ่ม มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือแดงชัน (เชียงใหม่) และเอื้องชัน,เองชัญ (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและอัญชัน · ดูเพิ่มเติม »

อังคาร กัลยาณพงศ์

อังคาร กัลยาณพงศ์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นทั้งกวีและจิตรกร เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนวัดจันทาราม ต่อมาก็เรียนที่วัดใหญ่จนจบประถมสี่ แล้วย้ายไปเรียนที่โรงเรียนมัธยมประจำจังหวัด คือ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช ศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่าง และที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อังคารเป็นผู้ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นจิตรกรและกวี เป็นกวีที่มีความโดดเด่น ทั้งในด้านความคิดและรูปแบบ อีกทั้งยังเป็นกวีที่มีความคิดเป็นอิสระ ไม่ถูกร้อยรัดด้วยรูปแบบที่ตายตัว จึงนับเป็นกวีผู้บุกเบิกกวีนิพนธ์ยุคใหม่ ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้กล่าวถึงผลงานกวีนิพนธ์ของอังคาร กัลยาณพงศ์ ว่ามีความโดดเด่นเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและอังคาร กัลยาณพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อิศรา อมันตกุล

อิศรา อมันตกุล นายอิศรา อมันตกุล (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2512) (ชื่อเดิม อิบรอฮีม อะมัน) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ คนสำคัญของประเทศไทย และ นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและอิศรา อมันตกุล · ดูเพิ่มเติม »

อุชเชนี (แก้ความกำกวม)

อุชเชนี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและอุชเชนี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

จักษณ์ จันทร

ักษณ์ จันทร เป็นกวีและนักเขียนชาวไทย เกิดในครอบครัวชาวสวนแถบชานเมืองจังหวัดปราจีนบุรี สำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเพาะช่าง ผลงานเขียนชิ้นแรกที่ได้รับการตีพิมพ์คือบทกวี 'เพ้อพร่ำร่ำเมรัย' ตีพิมพ์ในมติชนสุดสัปดาห..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและจักษณ์ จันทร · ดูเพิ่มเติม »

จันตรี ศิริบุญรอด

ันตรี ศิริบุญรอด จันตรี ศิริบุญรอด (31 มีนาคม พ.ศ. 2460 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักเขียนที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งนิยายวิทยาศาสตร์ไท.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและจันตรี ศิริบุญรอด · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ฝั่งชลจิตร

ำลอง ฝั่งชลจิตรหรือเจ้าของฉายา ลอง เรื่องสั้น เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นชาวนครศรีธรรมราช เรียนจบชั้น ม..5 ที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช จากนั้นเข้าศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนจะลาออกไปเป็นครู เป็นพนักงานโรงแรม ทำหนังสือ และเป็นนักเขียนอิสระ จำลอง ฝั่งชลจิตร เริ่มงานเขียนหนังสือครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและจำลอง ฝั่งชลจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ธาร ยุทธชัยบดินทร์

ร ยุทธชัยบดินทร์ นักเขียนเชื้อสายไทย-จีน เกิดเมื่อ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ที่ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร มีผลงานวรรณกรรมพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารต่าง ๆ ทั้งบทความและเรื่องสั้น รวมถึงหนังสือเล่มซึ่งได้รับรางวัลระดับประเทศหลายครั้ง.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและธาร ยุทธชัยบดินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธารา ศรีอนุรักษ์

รา ศรีอนุรักษ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - ปัจจุบัน) นักเขียนเรื่องสั้นชาวนครศรีธรรมราช เจ้าของนามปากกา ธาร ธรรมโฆษณ.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและธารา ศรีอนุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี เกตะวันดี

ทวี เกตะวันดี เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น บทภาพยนตร์ และเป็นคอลัมนิสต์ให้กับหนังสือพิมพ์สยามรัฐ เดลินิวส์ เดลิเมล์ เป็นดำรงตำแหน่งนายกสมาคมนักข่าวฯ 3 สมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและทวี เกตะวันดี · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ จันทร์เรือง

ณรงค์ จันทร์เรือง เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 เป็นนักเขียนชาวไทย ประเภทเรื่องขนหัวลุก ใช้นามปากกาว่า "ใบหนาด".

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและณรงค์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

คมทวน คันธนู

มทวน คันธนู เป็นนามปากกาของ ประสาทพร ภูสุศิลป์ธร เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2493 ที่ธนบุรี นักประพันธ์ชาวไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ ควทวนสำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณวัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดชิโนรส ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และปริญญาตรีจาก คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้นำงานนิตยสาร และหนังสือพิมพ์หลายแห่ง อาทิ ปุถุชน ประชาธิปไตย มติชน ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสระ คมทวนเริ่มแต่งคำประพันธ์ขณะเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงในหนังสือของชมรมภาษาไทย เมื่อศึกษาอยู่ในมหาลัยธรรมศาสตร์ เขียนกลอนเปล่า, บทความและบมละครลงหนังสือวรรศิลป์ของมหาวิทยาลัย งานประพันธ์มีหลายประเภท เรื่องสั้น เช่น กบฏ:วรรณกรรมซาดิสม์ (พ.ศ. 2518) ซึ่งใช้นามปากกา โกสุม พิสัย แสงดาวแห่งศรัทธา (พ.ศ. 2521) ฯ บทกวี เช่น นาฏกรรมบนลานกว้าง (พ.ศ. 2524) กำศรวลโกสินทร์ (พ.ศ. 2525) นวนิยาย เช่น นายขนมต้ม คนกล้านอกตำนาน (พ.ศ. 2529) พราน (พ.ศ. 2534) ฯ บทกวีชุด นาฏกรรมบนลานกว้าง ได้รับรางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (รางวัลซีไรต์) ประจำปีพุทธศักราช 2526.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและคมทวน คันธนู · ดูเพิ่มเติม »

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 จากนวนิยายเรื่อง ลูกอีสาน และได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและคำพูน บุญทวี · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ประภัสสร เสวิกุล

ประภัสสร เสวิกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช 2554 (22 เมษายน พ.ศ. 2491 — 18 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนที่ได้รับความนิยมจากนักอ่านและเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทยในช่วงเวลากว่า 40 ปี ท่านได้สร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่าทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น บทกวี สารคดี จำนวนมาก ผลงานจำนวนไม่น้อยได้รับรางวัลในระดับชาติหลายเรื่อง ได้มีผู้นำไปสร้างสรรค์เป็นศิลปะแขนงอื่น คือ ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ อีกจำนวนหนึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ วรรณกรรมของนายประภัสสร เสวิกุล มิใช่เพียงให้ความบันเทิงใจแก่ผู้อ่าน แต่ให้ภาพสมจริงของสังคมและชีวิตมนุษย์ ผลงานที่สร้างขึ้นอย่างประณีต ผสมผสานข้อมูลกับจินตนาการอย่างเหมาะสม นำเสนอด้วยฝีมือการประพันธ์ และภาษาที่เลือกสรรแล้ว พร้อมทั้งให้ข้อคิดคติธรรมแก่ผู้อ่าน ได้แสดงให้เป็นที่ประจักษ์ว่าท่านเป็นนักเขียนที่มีอุดมคติและมีสำนึกความรับผิดชอบต่อนักอ่านและสังคม งานประพันธ์ทุกเรื่องของท่านจะฉายภาพให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ คุณธรรมและค่านิยมประการต่าง ๆ ได้แก่ ความเป็นผู้นำ มิตรภาพ การพึ่งตนเอง ความขยันหมั่นเพียร ความกล้า สู้ชีวิต ความอดออม ความเมตตา ความกตัญญู ความซื่อสัตย์ ความสามัคคี การเคารพเชื่อฟังผู้อาวุโส การหมั่นแสวงหาความรู้ ตลอดจนการเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ เพราะท่านเชื่อมั่นว่าด้านดีของมนุษย์และคุณลักษณะที่ดีของคนไทย จะเป็นพลังสำคัญที่จะธำรงรักษาสังคมและมนุษยชาติไว้ นอกจากการสร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้เป็นสิ่งจรรโลงใจแก่ผู้อ่านแล้ว นายประภัสสร เสวิกุล ยังมีบทบาทสำคัญในการเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของนักเขียนรุ่นอาวุโส ส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์ทางวรรณกรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่วงการนักเขียนและวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทย รวมทั้งถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการประพันธ์เพื่อสร้างนักเขียนรุ่นเยาว์ให้ก้าวไปสู่การเป็นนักเขียนอาชี.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและประภัสสร เสวิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล ดาระดาษ

ประมวล ดาระดาษ เกิด 2 กันยายน 2502 ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นนักเขียนเรื่องสั้น และบทกวี.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและประมวล ดาระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

ประยอม ซองทอง

ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและประยอม ซองทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ

ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียง ใช้นามปากกาว่า "ชาย บางกอก" ตั้งให้โดยประหยัด ศ. นาคะนาท ใช้เขียนเรื่องตลกหรรษา และนามปากกา "เพชร ชมพู" มีผลงานเขียนสารคดี และบทละครวิทยุ บทละครเวที และบทภาพยนตร์ มีชื่อเสียงจากเรื่องสั้นชุด "ท้องนาข้างกรุง" ตีพิมพ์ในนิตยสารฟ้าเมืองไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักพิมพ์ประเสริฐวาทินร่วมกับวาทิน ปิ่นเฉลียว.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและประเสริฐ พิจารณ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

นันทนา วีระชน

นันทนา วีระชน เป็นนักเขียนชาวไทยผู้เขียนงานนวนิยาย ซึ่งนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายเรื่อง อาทิ "ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท", "ปีกมาร", "สะใภ้ปฏิวัติ", "เพลิงพ่าย", "แรงเงา", "คุณหญิงบ่าวตั้ง", "อีเปรี้ยวตลาดแตก", "ไฟเสน่หา", "ไปไม่ถึงดวงดาว", "ลูกหลง", "ลูกเขยซ่า พ่อตาแสบ", "พ่อจอมยวน แม่จอมยุ่ง", "เมียแต่ง", "บ้านนี้ผีไม่ปอบ", "ดงดอกเหมย", "รักนี้หัวใจเราจอง" ฯลฯ รวมไปถึงงานเขียนบทละครโทรทัศน์อีกมากมาย ทั้งที่มาจากนวนิยายของตัวเองและของนักเขียนท่านอื่น มาช่วงหลังงานเขียนนวนิยายของเริ่มซาลง แต่ก็ยังไม่ทิ้งงานเขียนเนื่องจากเป็นงานที่เธอรัก แม้จะมีออกมาปีละ 2-3 เรื่อง ถ้าเทียบกับเมื่อก่อนที่มีปีละ 9-10 เรื่อง.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและนันทนา วีระชน · ดูเพิ่มเติม »

นิวัต พุทธประสาท

นิวัต พุทธประสาท (30 เมษายน พ.ศ. 2515 -) นักเขียนชาวกรุงเทพ มีผลงานรวมเรื่องสั้นและนวนิยายหลายเล่ม ได้รับรางวัลช่อการะเกดยอดนิยมจากผลงานเรื่องสั้น “ความเหลวใหล” นิวัตเป็นผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ thaiwriter.net เว็บไซต์วรรณกรรมเว็บแรกของไท.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและนิวัต พุทธประสาท · ดูเพิ่มเติม »

นิคม รายยวา

นิคม รายยวา เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2487 ที่ตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนเชลียง และระดับปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มต้นการทำงานกับ บริษัทธุรกิจเดี่ยวกับน้ำมันปิโตรเลียมในกรุงเทพฯ ระยะหนึ่ง แล้วเปลี่ยนไปทำงานอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทางภาคใต้ ระยะหลังสนใจเกษตรแบบคนต่างเมือง ลงมือทำสวนโกโก้ โดยเซาะป่าเป็นร่อง ใช้แนวไม้เป็นร่มไพร โกโก้เสียหายหมดทั้ง 50,000 ต้น ปัจจุบันหันมาเรียนรู้จากเกษตรกรในท้องถิ่นดั้งเดิม เพื่อทำสวนยางพารา คุณ นิคม รายยวา เริ่มเขียนเรื่องสั้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 เรื่องที่กำลังเขียนอยู่และยังไม่จบได้แก่ "ทะเลขี้ผึ้ง" และ "โกโก้ 50,000 ต้น".

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและนิคม รายยวา · ดูเพิ่มเติม »

แมวเบอร์มีส

แมวเบอร์มีส แมวเบอร์มีส, ทองแดง หรือ ศุภลักษณ์ เป็นพันธุ์แมวบ้านซึ่งกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีการพัฒนาในสหรัฐอเมริกา แมวเบอร์มีสสมัยใหม่ส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของแมวเพศเมียตัวหนึ่งชื่อ วงแมว (Wong Mau) ซึ่งซื้อจากพม่าไปอเมริกาใน..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและแมวเบอร์มีส · ดูเพิ่มเติม »

ไมตรี ลิมปิชาติ

มตรี ลิมปิชาติ เริ่มเขียนหนังสือตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและไมตรี ลิมปิชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · ดูเพิ่มเติม »

เหม เวชกร

หม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 - 16 เมษายน พ.ศ. 2512) ศิลปินจิตรกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นแนวเหมือนจริงเช่น ภาพวิจิตรชุดวรรณคดีไทย, นางงามในวรรณคดี, ชีวประวัติสุนทรภู่, ภาพประวัติศาสตร์ไทย, ราชาธิราชและกากี และพระลอภาพวิจิตร เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและเหม เวชกร · ดูเพิ่มเติม »

เดือนวาด พิมวนา

ือนวาด พิมวนา หรือชื่อจริง พิมใจ จูกลิ่น (22 มีนาคม 2512 -) เป็นนักเขียนสตรีที่มีชื่อเสียง มีผลงานมากมาย เช่น ผู้บรรลุ, หนังสือเล่มสอง ปัจจุบันเธอปักหลักเขียนหนังสืออยู่ที่บ้านเกิดและมีเรื่องสั้นขนาดยาว ตีพิมพ์ในมติชน.

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและเดือนวาด พิมวนา · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม รงคผลิน

ฉลิม รงคผลิน หรือ เฉลิมศักดิ์ รงคผลิน (1 มกราคม พ.ศ. 2490 -) นักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากนวนิยายเรื่อง อยู่กับก๋ง กตัญญูพิศวาส และ มงกุฎดอกงิ้ว ใช้นามปากกาว่า "หยก บูรพา" เฉลิม รงคผลิน เกิดที่อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี เดิมชื่อ เฉลิมศักดิ์ ศิลาพร ต่อมาเปลี่ยนนามสกุลเป็น รงคผลิน และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น เฉลิม จบชั้นมัธยมและสอบเทียบ ม.8 จากโรงเรียนปทุมคงคา และศึกษาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เฉลิม รงคผลิน เริ่มเขียนร้อยกรองตั้งแต่สมัยเรียนชั้นมัธยม เมื่อเรียนมหาวิทยาลัยได้เป็นประธานชมรมวรรณศิลป์ของมหาวิทยาลัย และทำงานเสริมเป็นผู้ช่วยบรรณาธิการนิตยสารฟ้าเมืองไทย และเริ่มงานเขียนเรื่องสั้นเกี่ยวกับชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในชุด "ที่นี่มหาวิทยาลัย" "เสื้อครุยสีดำ" และ "ปริญญาสีขาว" เฉลิม รงคผลิน เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกชื่อ "พันธะชีวิต" และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากเรื่องที่สอง "อยู่กับก๋ง" ได้รับรางวัลนวนิยายดีเด่นประจำปี..

ใหม่!!: รายนามนักเขียนเรื่องสั้นและเฉลิม รงคผลิน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อนักเขียนเรื่องสั้นนักเขียนเรื่องสั้น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »