โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์

ดัชนี รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์

รประกอบอนินทรีย์ (อังกฤษ:inorganic compound) คือสารประกอบที่มีในโลกที่ไม่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน.

84 ความสัมพันธ์: ฟลูออรีนฟอสเฟตกรดคาร์บอนิกกรดซัลฟิวริกกรดไฮโดรฟลูออริกกรดไฮโดรคลอริกกรดไฮโดรโบรมิกการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPACกำมะถันยิปซัมวิตามินบี12สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศสังกะสีออกไซด์สารหนูสารประกอบอินทรีย์ออสเมียมอะลูมิเนียมอะลูมิเนียมออกไซด์อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์คอปเปอร์(II) คาร์บอเนตคาร์บอนไดออกไซด์ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซัลเฟตซิลิกอนไดออกไซด์ซิลิคอนซิลเวอร์ไนเตรตน้ำน้ำ (โมเลกุล)แบเรียมคลอไรด์แบเรียมซัลเฟตแบเรียมไอโอไดด์แกลเลียมแกโดลิเนียม(III) คลอไรด์แมกนีเซียมแมกนีเซียมซัลเฟตแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์แมงกานีสแร่แอมโมเนียแอมโมเนียมคลอไรด์แอมโมเนียมซัลเฟตแอมโมเนียมไบคาร์บอเนตแอนติโมนีไตรออกไซด์แคลเซียมฟลูออไรด์แคลเซียมคาร์บอเนตแคลเซียมซัลเฟตแคลเซียมไบคาร์บอเนตแคลเซียมไฮดรอกไซด์แคดเมียมคลอไรด์โบรอน...โพแทสเซียมโพแทสเซียมคลอไรด์โพแทสเซียมคาร์บอเนตโพแทสเซียมไอโอไดด์โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์โกลด์(III) คลอไรด์โมลิบดีนัมโอโซนโซดาไฟโซเดียมโซเดียมคลอไรด์โซเดียมคาร์บอเนตโซเดียมซัลไฟด์โซเดียมซัลไฟต์โซเดียมซัลเฟตโซเดียมโบรไมด์โซเดียมไบคาร์บอเนตโซเดียมไอโอไดด์โซเดียมไซยาไนด์ไฮโดรเจนคลอไรด์ไฮโดรเจนโบรไมด์ไฮโดรเจนไอโอไดด์ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ไทเทเนียมไซยาไนด์ไนตรัสออกไซด์ไนตริกออกไซด์ไนโตรเจนไดออกไซด์เฟอร์โรซีนเรดอนเลขทะเบียน CASเหล็กเอชทีทีพีคุกกี้เงิน (โลหะ) ขยายดัชนี (34 มากกว่า) »

ฟลูออรีน

ฟลูออรีน (Fluorine) (จากภาษาละติน Fluere แปลว่า "ไหล") เป็นธาตุเคมีที่เป็นพิษและทำปฏิกิริยาได้มากที่สุด มีสัญลักษณ์ F และเลขอะตอม 9 เป็นธาตุแฮโลเจนที่เป็นเบาที่สุดและมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุด มันปรากฎอยู่ในรูปของแก๊สสีเหลืองที่ภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุนี้ทำปฏิกิริยาได้เกือบทุกธาตุรวมทั้งแก๊สมีตระกูลบางตัว มีสมบัติเป็นอโลหะมากที่สุด (ถ้าไม่รวมแก๊สมีตระกูล).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และฟลูออรีน · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสเฟต

ฟอสเฟต (phosphate) คือ หินชนิดหนึ่ง แร่ที่สำคัญของฟอสเฟต คือ อะพาไทต์ เกิดจากการสะสมตัวจากฟอสเฟต ส่วนใหญ่มักจะใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ไฟล์:3-phosphoric-acid-3D-balls.png| ไฟล์:2-dihydrogenphosphate-3D-balls.png| ไฟล์:1-hydrogenphosphate-3D-balls.png| ไฟล์:0-phosphate-3D-balls.png|.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

กรดคาร์บอนิก

กรดคาร์บอนิก (Carbonic acid) เป็นกรดชนิดหนึ่งที่มีอะตอมของคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ มีสูตรโมเลกุล H2CO3 กรดคาร์บอนิกยังใช้เป็นคำเรียกสารละลายของคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำ ซึ่งมี H2CO3 อยู่เล็กน้อย เราเรียกเกลือของกรดคาร์บอนิกว่า ไบคาร์บอเนต (หรือ ไฮโดรเจนคาร์บอเนต) และ คาร์บอเนต คาร์บอนไดออกไซด์ที่ละลายน้ำเกิดสมดุลเคมีกับกรดคาร์บอนิก ดังสมการต่อนี้ ค่าคงที่สมดุลที่ 25 °C เท่ากับ 1.70×10−3: ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะไม่เปลี่ยนเป็นกรดคาร์บอนิกและยังคงอยู่เป็นโมเลกุล CO2 ถ้าหากไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา สมดุลข้างต้นจะเกิดขึ้นช้า โดยมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา (rate constant) เท่ากับ 0.039 s−2 สำหรับขาไป และ 23 s−1 สำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับ สมดุลระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์และกรดคาร์บอนิก มีความสำคัญมากสำหรับการควบคุมความเป็นกรดของของเหลวในร่างกาย สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดมีเอนไซม์ชื่อคาร์บอนิกแอนไฮเดรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบสองตัวนี้ โดยสามารถเร่งปฏิกิริยาให้เร็วขึ้นถึง 109 เท.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกรดคาร์บอนิก · ดูเพิ่มเติม »

กรดซัลฟิวริก

กรดกำมะถัน หรือ กรดซัลฟิวริก (sulfuric acid หรือ sulphuric acid) มีสูตรเคมีว่า H2SO 4 เป็นกรดแร่ (mineral acid) แก่ ละลายได้ในน้ำในทุกความเข้มข้น ค้นพบโดย จาเบียร์ เฮย์ยัน (Jabir Ibn Hayyan) นักเคมีชาวอาหรับ พบว่ากรดซัลฟิวริกมีประโยชน์มากมายและเป็นสารเคมีที่มีการผลิตมากที่สุด รองจากน้ำ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกรดซัลฟิวริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรฟลูออริก

กรดไฮโดรฟลูออริก เป็นสารละลายของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ในน้ำ แม้ว่าจะมีฤทธิ์กัดกร่อนอย่างแรงและยากแก่การใช้งาน กรดนี้เป็นเพียงกรดอ่อนเท่านั้น กรดไฮโดรฟลูออริกใช้เป็นแหล่งของฟลูออรีนในการสังเคราะห์สารประกอบต่างๆ ทั้งยาและพอลิเมอร์ เช่น เทฟลอน คนทั่วไปรู้จักกรดไฮโดรฟลูออริกในฐานะกรดกัดแก้ว เพราะกรดชนิดนี้ทำปฏิกิริยากับซิลิกอนไดออกไซด์ได้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกรดไฮโดรฟลูออริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรคลอริก

รเจนคลอไรด์โอเวน กรดไฮโดรคลอริก หรือ กรดเกลือ (hydrochloric acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง กรดไฮโดรคลอริก หรือ มูเรียติกแอซิด ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี ค.ศ. 1800 ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ เช่น วีนิลคลอไรด์ สำหรับผลิต PVC พลาสติก และ MDI/TDI (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต พอลิยูลิเทน, (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต เจนลาติน (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้านเมตริกตัน ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกรดไฮโดรคลอริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรโบรมิก

กรดไฮโดรบอมิก (hydrobromic acid) เป็นสารละลายของแก๊สไฮโดรเจนโบรไมด์ ลักษณะของแก๊สโบรมีนคือ มีสีแดงแกมน้ำตาล ทำลายเยื่อบุตาและระบบทางเดินหายใจ กรดไฮโดรบอมิกเป็นกรดที่สามารถกัดกร่อนรุนแรง มีค่า pH ประมาณ 1 ลักษณะของกรดไฮโดรโบมิก เป็นกรดที่อยู่ในจำพวก ไฮโดร (กรดที่มีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ อโลหะและของเหลว) สมการเกิดกรดไฮโดรบอมิก คือ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกรดไฮโดรโบรมิก · ดูเพิ่มเติม »

การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPAC

ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC (IUPAC nomenclature) เป็นระบบการตั้งชื่อ สารประกอบเคมี และการอธิบายข้อมูลทาง เคมี ทั่วไป ระบบนี้ถูกพัฒนาและดูแลรักษาโดย สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry-IUPAC) กฎเกณฑ์ในการตั้งชื่อสารประกอบอินทรีย์และอนินทรีย์เคมีมีรายละเอียดเป็นเอกสาร 2 ชุดคือ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPAC · ดูเพิ่มเติม »

กำมะถัน

กำมะถัน(สุพรรณถัน) หรือ ซัลเฟอร์ (Sulfur หรือ Sulphur) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ S และเลขอะตอม 16 เป็นอโลหะที่มีอยู่ทั่วไป ไม่มีรสหรือกลิ่น และมีวาเลนซ์ได้มากมาย กำมะถันในรูปแบบปกติเป็นของแข็งสีเหลืองที่เป็นผลึก ในธรรมชาติ สามารถพบได้ในรูปธาตุเอง หรือแร่ซัลไฟด์และซัลเฟต เป็นธาตุจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต และพบในกรดอะมิโนหลายชนิด การใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นหลัก คือ ในปุ๋ย แต่นอกจากนี้ยังใช้ในดินปืน ไม้ขีดไฟ ยาฆ่าแมลง และยาฆ่าร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และกำมะถัน · ดูเพิ่มเติม »

ยิปซัม

ปซัม (Gypsum) (CaSO4·2H2O) หรือเรียกว่าเกลือจืด เป็นแร่อโลหะที่มีความเปราะมากมีสีขาว ไม่มีสีหรือสีเทา มักมีสีเหลือง แดง หรือน้ำตาล เป็นมลทินปนอยู่ มีความวาวคล้ายแก้ว มุก หรือไหม ความแข็ง 2 ความถ่วงจำเพาะ 2.7 เนื้อแร่โปร่งใสจนกระทั่งโปร่งแสง อาจเรียกชื่อต่างกันออกไปตามลักษณะของเนื้อแร่ คือ ชนิดซาตินสปาร์ (satinspar) เป็นแร่ยิปซัมลักษณะที่เป็นเนื้อเสี้ยน มีความวาวคล้ายไหม ชนิดอะลาบาสเทอร์ (alabaster) มีเนื้อเป็นมวลเม็ดอัดกันแน่น และชนิดซีลีไนต์ (selenite) ใสไม่มีสี เนื้อแร่เป็นแผ่นบางโปร่งใส เกิดจากแร่ที่ตกตะกอนในแอ่งที่มีการระเหยของน้ำสูงมากและต่อเนื่อง ทำให้น้ำส่วนที่เหลือมีความเข้มข้นสูงขึ้น ถึงจุดที่แร่กลุ่มที่เรียกว่า “อีแวพอไรต์ (evaporites) ” จะสามารถตกตะกอนออกมาตามลำดับความสามารถในการละลาย (solubility) ซึ่งโดยทั่วไปเริ่มจากพวกคาร์บอเนต (carbonates) ซัลเฟต (sulphates) และเฮไลด์ (halides) การกำเนิด แร่ยิปซัมของไทยมีเนื้อเป็นเกล็ดเล็กๆ สมานแน่น เรียกว่า “อะลาบาสเตอร์ (alabaster) ” ซึ่งมิได้เกิดจากการตกตะกอนทับถมกันในสภาพการณ์ปฐมภูมิจากการระเหยของน้ำ แต่เกิดจากการเติมน้ำ (rehydration) ให้กับช่วงบนสุดของมวลแอนไฮไดรต์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลง ชนิดแร่ ยิปซัมในประเทศไทยมีประวัติที่ค่อนข้างซับซ้อน และการศึกษาธรณีวิทยาแหล่งแร่พบว่า เคยผ่านการเปลี่ยนแปลงชนิดแร่ไปมา ระหว่างยิปซัมกับแอนไฮไดรต์ (CaSO4) หลายครั้ง (Utha-aroon and Ratanajarurak, 1996) ก่อนจะมีสภาพเช่นในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และยิปซัม · ดูเพิ่มเติม »

วิตามินบี12

วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และวิตามินบี12 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ

หภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry, ย่อ: IUPAC /ไอยูแพ็ก/) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการ IUPAC" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สังกะสีออกไซด์

ังกะสีออกไซด์ (Zinc oxide) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมี ZnO มีลักษณะเป็นผงที่ไม่ละลายในน้ำและใช้ผสมในผลิตภัณฑ์หลายชนิดเช่น ยาง พลาสติก เซรามิก แก้ว น้ำมันเครื่อง สีทา สารยึดเกาะ อาหาร แบตเตอรี และอื่น ๆ ในธรรมชาติพบในรูปซินไซต์ แต่ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ Marcel De Liedekerke, "2.3.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และสังกะสีออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

สารหนู

รหนู (arsenic) เป็นชื่อธาตุลำดับที่ 33 สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มีสามอัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง หลายคนเข้าใจว่าสารหนูเป็นธาตุที่เป็นพิษ แต่ความจริงแล้วสารหนูบริสุทธิ์ไม่เป็นพิษแต่ประการใด มันจะเกิดพิษก็ต่อเมื่อ ไปรวมตัวกับธาตุอื่นเช่น Arsenic trioxide.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และสารหนู · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบอินทรีย์

มีเทนเป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด สารประกอบอินทรีย์ หมายถึง สารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุลคาร์บอน ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบคาร์ไบน์, คาร์บอเนต, ออกไซด์ของคาร์บอนและไซยาไนด์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอน อย่างเช่น เพชรและแกรไฟต์ ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชาเคมีอย่างกว้างขวาง...

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และสารประกอบอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสเมียม

ออสเมียม(อังกฤษ:Osmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 76 และสัญลักษณ์คือ Os ออสเมียมเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีน้ำเงินเทาหรือน้ำเงิน-ดำแข็งและเปราะอยู่ในกลุ่มของแพลทินัมออสเมียมเป็นธาตุที่มีความหนาแน่นมากที่สุดใช้ผสมกับแพลทินัมและอิริเดียม ในธรรมชาติพบออสเมียมในรูปโลหะผสมในแร่แพลทินัม ออสเมียมในรูปเต็ตรอกไซด์ใช้ย้อมเนื้อเยื่อและหมึกพิมพ์ลายนิ้วมือ โลหะผสมของออสเมียมใช้ทำหัวปากกาหมึกซึม หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ตารางธาตุ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:โลหะมีสกุล หมวดหมู่:โลหะมีค่า.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และออสเมียม · ดูเพิ่มเติม »

อะลูมิเนียม

มื่อวัดในทั้งปริมาณและมูลค่า การใช้อะลูมิเนียมมีมากกว่าโลหะอื่น ๆ ยกเว้นเหล็ก และมีความสำคัญในเศรษฐกิจโลกทุกด้าน อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีแรงต้านการดึงต่ำ แต่สามารถนำไปผสมกับธาตุต่าง ๆ ได้ง่าย เช่น ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม แมงกานีส และซิลิกอน (เช่น duralumin) ในปัจจุบันวัสดุเกือบทั้งหมดที่เรียกว่าอะลูมิเนียมเป็นโลหะผสมของอะลูมิเนียม อะลูมิเนียมบริสุทธิ์พบเฉพาะเมื่อต้องการความทนต่อการกัดกร่อนมากกว่าความแข็งแรงและความแข็ง เมื่อรวมกับกระบวนการทางความร้อนและกลการ (thermo-mechanical processing) โลหะผสมของอะลูมิเนียมมีคุณสมบัติทางกลศาสตร์ที่ดีขึ้น โลหะผสมอะลูมิเนียมเป็นส่วนสำคัญของเครื่องบินและจรวดเนื่องจากมีอัตราความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูง อะลูมิเนียมสามารถสะท้อนแสงที่มองเห็นได้ดีเยี่ยม (~99%) และสามารถสะท้อนแสงอินฟราเรดได้ดี (~95%) อะลูมิเนียมชั้นบาง ๆ สามารถสร้างบนพื้นผิวเรียบด้วยวิธีการควบแน่นของไอสารเคมี (chemical vapor deposition) หรือวิธีการทางเคมี เพื่อสร้างผิวเคลือบออปติคัล (optical coating) และกระจกเงา ผิวเคลือบเหล่านี้จะเกิดชั้นอะลูมิเนียมออกไซด์ที่บางยิ่งกว่า ที่ไม่สึกกร่อนเหมือนผิวเคลือบเงิน กระจกเงาเกือบทั้งหมดสร้างโดยใช้อะลูมิเนียมชั้นบางบนผิวหลังของแผ่นกระจกลอย (float glass).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และอะลูมิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

อะลูมิเนียมออกไซด์

อะลูมิเนียมออกไซด์ (อังกฤษ: aluminum oxide) เป็นสารประกอบเคมีของอะลูมิเนียมและ ออกซิเจนมีสูตรเคมีดังนี้Al2O3ในทางเซรามิก วัสดุศาสตร์และเหมืองเรียกว่าอะลูมิน่า (alumina) อะลูมิเนียมออกไซด์ เป็นส่วนประกอบหลักของแร่บอกไซต์ (bauxite) หรือแร่ อะลูมิเนียม ในอุตสาหกรรมบอกไซต์ถูกทำให้บริสุทธ์เป็นอะลูมิเนียมออกไซด์ โดย กระบวนการไบเออร์ (Bayer process) และเปลี่ยนเป็นโลหะอะลูมิเนียมโดย กระบวนการฮอลล์-ฮีรูลต์ (Hall-Heroult process) บอกไซต์ที่ไม่บริสุทธ์จะประกอบด้วย AlO + FeO + SiO.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และอะลูมิเนียมออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์

อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ (อังกฤษ:Aluminium hydroxide) Al (OH) 3 เป็นฟอร์มที่เสถียรที่สุดของอะลูมิเนียมในสภาวะปกติ ในธรรมชาติรู้จักกันในชื่อ กิบบ์ไซต์ (gibbsite) มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอะลูมิเนียม ออกไซด์ ไฮดรอกไซด์ (aluminium oxide hydroxide-AlO (OH)), และอะลูมิเนียม ออกไซด์ (aluminium oxide) Al2O3 สารประกอบดังกล่าวทั้งหมดจะเป็นส่วนประกอบหลักของแร่ บอกไซด์ (bauxite) อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์เป็นยาลดกรดชนิดหนึ่ง หมวดหมู่:สารประกอบอนินทรีย์ หมวดหมู่:ไฮดรอกไซด์ ฮไดรอกซได์ หมวดหมู่:ยาลดกรด.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

คอปเปอร์(II) คาร์บอเนต

อปเปอร์(II) คาร์บอเนต (Copper(II) carbonate บ่อยครั้งเรียก copper carbonate หรือ cupric carbonate) เป็น สารประกอบ สีฟ้าเขียว (สูตรเคมีเป็นดังนี้ CuCO3) ส่วนใหญ่มักจะเกิดเป็น ปาตินา (patina) บนผิวที่สัมผัสอาการของ ทองเหลือง, ทองสัมฤทธ์, และ ทองแดง สีสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ตั้งแตน้ำเงินสดใสไปเป็นสีเขียวเพราะอาจมีส่วนผสมของคอปเปอร์(II)คาร์บอเนตในหลายสถานะของ ไฮเดรชัน มันถูกใช้ประโยชน์ในการทำสี (pigment) ในงานศิลป์ และบางประเภทของเครื่องสำอาง ถึงแม้ว่ามันจะเป็นพิษต่อมนุษย์ สารตัวนี้พบในธรรมชาติในรูป มาลาไคต์ (malachite)(CuCO3.Cu(OH)2) and azurite (Cu3(CO3)2(OH)2).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และคอปเปอร์(II) คาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บอนไดออกไซด์

ร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) หรือ CO2 เป็นก๊าซไม่มีสี ซึ่งหากหายใจเอาก๊าซนี้เข้าไปในปริมาณมากๆ จะรู้สึกเปรี้ยวที่ปาก เกิดการระคายเคืองที่จมูกและคอ และหาจยใจไม่ออกเนื่องจากอาจเกิดการละลายของแก๊สนี้ในเมือกในอวัยวะ ก่อให้เกิดกรดคาร์บอนิกอย่างอ่อน คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่น 1.98 kg/m3 ซึ่งเป็นประมาณ 1.5 เท่าของอากาศ โมเลกุลประกอบด้วยพันธะคู่ 2 พันธะ (O.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และคาร์บอนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลเฟอร์ไดออกไซด์

ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (สูตรทางเคมี SO2) เป็นออกไซด์ชนิดหนึ่งของกำมะถัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลเฟต

รงสร้างและพันธะของซัลเฟตไอออน โครงสร้าง Space-filling ของซัลเฟตไอออน ซัลเฟต (Sulfate) คือเกลือของกรดซัลฟิวริก.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิกอนไดออกไซด์

ทราย หนึ่งในอัญรูปของซิลิกา ซิลิกอนไดออกไซด์ (silicon dioxide) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า ซิลิกา (จากภาษาละตินคำว่า silex) คือสารประกอบระหว่างออกไซด์และซิลิกอนรวมตัวกันเป็นสูตรทางเคมีคือ SiO2 และเป็นที่รู้กันตั้งแต่สมัยโบราณถึงความแข็งแกร่งของมัน ซิลิกามักพบได้ทั่วไปในธรรมชาติอาจในรูปของทรายหรือควอตซ์ และในผนังเซลล์ของไดอะตอม ซิลิกาเป็นสารประกอบที่มีจำนวนมากโดยทั่วไปบนเปลือกโลก ซิลิกาได้นำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิตที่หลากหลาย อาทิ แก้ว, คริสตัล, เจล, แอโรเจล, ซิลิการมควัน และคอลลอยดอลซิลิกา ยิ่งไปกว่านั้น ซิลิกานาโนสปริงก็ผลิตขึ้นจากวิธีความดันไอ-ของเหลว-ของแข็ง ในอุณหภูมิที่ใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง ซิลิกาใช้เป็นวัสดุเบื้องต้นในการผลิตกระจก, แก้วน้ำและขวดแก้ว สายใยแก้วที่ใช้ในการโทรคมนาคมก็เป็นผลิตผลจากซิลิกาเช่นเดียวกัน และยังใช้เป็นวัสถุดิบแรกเริ่มในผลิตภัณฑ์จำพวกเซรามิกเช่น เครื่องปั้นดินเผา, เครื่องหิน, เครื่องลายคราม และการผลิตพาร์ตแลนด์ซีเมนต.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และซิลิกอนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิคอน

ซิลิคอน (Silicon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ Si และเลขอะตอม 14 เป็นธาตุกึ่งโลหะแบบเตตระวาเลนต์ (คือมีวาเลนซ์เป็น 4) ซิลิคอนทำปฏิกิริยาน้อยกว่าธาตุที่คล้ายกันคือคาร์บอน เป็นธาตุที่มีมากที่สุดในเปลือกโลกเป็นอันดับ 2 มีปริมาตร 25.7% โดยน้ำหนัก ปรากฏในดินเหนียว เฟลด์สปาร์ (feldspar) หินแกรนิต ควอตซ์ และทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซิลิคอน ไดออกไซด์ (หรือซิลิกา) และซิลิเกต (สารประกอบที่ประกอบจากซิลิคอน ออกซิเจน และ โลหะ) ซิลิคอน เป็นส่วนประกอบหลักของแก้ว ซีเมนต์ เซรามิก, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ส่วนใหญ่ และซิลิโคน (สารพลาสติกที่มักจะสับสนกับซิลิคอน) ซิลิคอนใช้เป็นสารกึ่งตัวนำอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก สารกึ่งตัวนำเจอร์เมเนียมมีปัญหาเกี่ยวกับการไหลของกระแสไหลย้อนกลับ (reverse leakage current).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และซิลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวอร์ไนเตรต

ซิลเวอร์ไนเตรต (silver nitrate) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ AgNO3 ลักษณะเป็นผลึกของแข็งไม่มีสีถึงขาว ไม่มีกลิ่น เป็นสารตั้งต้นของสารประกอบเงินหลายชนิด ซิลเวอร์ไนเตรตใช้ในงานหลายประเภท เช่น ทางการแพทย์ งานถ่ายภาพ การย้อมสี การเคลือบเงินและการทำกระจก ในศตวรรษที่ 13 อัลแบร์ตุส มาญุสเคยบันทึกว่ากรดไนตริกสามารถละลายธาตุเงิน และสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตทำให้ผิวดำได้ ครั้งหนึ่งนักเล่นแร่แปรธาตุเคยเรียกซิลเวอร์ไนเตรตว่า lunar caustic เพราะเชื่อว่าธาตุเงินเกี่ยวข้องกับดวงจันทร์ (lunar ในภาษาละตินแปลว่า ดวงจันทร์) ซิลเวอร์ไนเตรตเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างธาตุเงินกับกรดไนตริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิลเวอร์ไนเตรต น้ำและออกไซด์ของไนโตรเจนตามสมการ: ปฏิกิริยาดังกล่าวต้องทำในตู้ดูดควันเนื่องจากไนโตรเจนไดออกไซด์เป็นก๊าซพิษ ซิลเวอร์ไนเตรตเป็นตัวออกซิไดซ์ จึงควรเก็บแยกกับสารอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กัดกร่อนและเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม หากร่างกายได้รับสารประกอบเงินอาจก่อให้เกิดภาวะอาร์จีเรีย (argyria) ซึ่งจะทำให้สีผิวเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสีน้ำเงินหรือน้ำเงินเท.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และซิลเวอร์ไนเตรต · ดูเพิ่มเติม »

น้ำ

น้ำในสองสถานะ: ของเหลว (รวมทั้งก้อนเมฆซึ่งเป็นตัวอย่างของละอองลอย) และของแข็ง (น้ำแข็ง) น้ำเป็นสิ่งที่โปร่งใส ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น และเกือบจะไม่มีสี ซึ่งเป็นสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบหลักของลำธาร, แม่น้ำ, และมหาสมุทรในโลก เป็นต้น และยังเป็นของเหลวในสิ่งมีชีวิต มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หิมะ, ธารน้ำแข็ง, และภูเขาน้ำแข็ง, ก้อนเมฆ, หมอก, น้ำค้าง, ชั้นหินอุ้มน้ำ และ ความชื้นในบรรยากาศ น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ดิน 1.7% ในธารน้ำแข็งและชั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเศษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจากอนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ) และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และชั้นบรรยากาศ และน้ำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของสิ่งมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฏจักรของการระเหยเป็นไอและการคายน้ำ (การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน น้ำดื่มสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะไม่มีแคลอรีหรือสารอาหารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ประชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่า 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเกี่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่างไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำ (โมเลกุล)

น้ำมี สูตรเคมี H2O, หมายถึงหนึ่ง โมเลกุล ของน้ำประกอบด้วยสองอะตอมของ ไฮโดรเจน และหนึ่งอะตอมของ ออกซิเจน เมื่ออยู่ในภาวะ สมดุลพลวัต (dynamic equilibrium) ระหว่างสถานะ ของเหลว และ ของแข็ง ที่ STP (standard temperature and pressure: อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน) ที่อุณหภูมิห้อง เป็นของเหลวเกือบ ไม่มีสี, ไม่มีรส, และ ไม่มีกลิ่น บ่อยครั้งมีการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ว่ามันเป็น ตัวทำละลายของจักรวาล และน้ำเป็นสารประกอบบริสุทธิ์ชนิดเดียวเท่านั้นที่พบในธรรมชาติทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และน้ำ (โมเลกุล) · ดูเพิ่มเติม »

แบเรียมคลอไรด์

แบเรียมคลอไรด์ (BaCl2) ที่เตรียมได้จากแร่แบไรต์ ใช้เป็นตัวเคลือบกระดาษและเป็นส่วนผสมของกระดาษอัดรูป นอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเติมเพื่อเพิ่มความแข็งของเหล็กในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ช่วยในการผลิตโลหะแมกนีเซียมและปรับปรุงคุณภาพน้ำ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแบเรียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แบเรียมซัลเฟต

'''แบเรียมซัลเฟต'''ชนิดแกลนูล การถ่ายภาพทางการแพทย์โดยแสงเอกซ์ '''แบไรต์'''ในรูปผลึก แบเรียมซัลเฟต (Barium sulfate หรือ barium sulphate) เป็นสารประกอบไอออนิกใช้ในทางการแพทย์ เป็นสารทึบแสงหรือเรดิโอคอนทราสต์ (radiocontrast) สำหรับแสงเอกซ์ (X-ray) เพื่อการถ่ายภาพทางการแพทย์ สำหรับการวินิจฉัยโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคในช่องท้องและทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract) ซึ่งจะรู้จักกันในชื่อที่คุ้นเคยว่าอาหารแบเรียม (Barium meal) และนำเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วยโดยการรับประทานหรือสวนทางทวารหนัก (enema) แบเรียมซัลเฟตจะอยู่ในรูปซัสเพนชัน (suspension) ของผงละเอียดที่กระจายตัวในสารละลายน้ำ ถึงแม้ว่าแบเรียมจะเป็นโลหะหนักที่สารประกอบของมันเมื่อละลายน้ำถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายแล้วจะเป็นพิษสูง แต่เนื่องจากแบเรียมซัลเฟตละลายน้ำได้น้อยมากคนไข้จึงไม่ได้รับอันตรายจากพิษของมัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแบเรียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แบเรียมไอโอไดด์

แบเรียมไอโอไดด์ (barium iodide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ BaI2 มีทั้งอยู่ในรูปแอนไฮดรัสและไฮเดรต (BaI2(H2O)2) แบเรียมไอโอไดด์ในรูปไฮเดรตละลายได้ในน้ำ, เอทานอลและแอซีโทน เมื่อได้รับความร้อนจะเปลี่ยนรูปเป็นเกลือแอนไฮดรัส โครงสร้างของแบเรียมไอโอไดด์ในรูปแอนไฮดรัสมีความคล้ายคลึงกับเลด(II) คลอไรด์ โดยอะตอมของแบเรียมอยู่ตรงกลางจับกับลิแกนด์ของไอโอไดด์ 9 ตัว และมีโครงสร้างผลึกที่คล้ายกับแบเรียมคลอไรด์ (BaCl2) แบเรียมไอโอไดด์มีความเป็นพิษเช่นเดียวกับเกลืออื่น ๆ ของแบเรียม จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแบเรียมไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

แกลเลียม

แกลเลียม (Gallium) สัญลักษณ์ธาตุ Ga ถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแกลเลียม · ดูเพิ่มเติม »

แกโดลิเนียม(III) คลอไรด์

แกโดลิเนียม (III) คลอไรด์ (Gadolinium (III) chloride) เป็นผลึกของแข็งสีขาว และเป็น เฮกซาไฮเดรต สีขาวด้วย, เลขทะเบียน CAS หมวดหมู่:สารประกอบแกโดลิเนียม หมวดหมู่:คลอไรด์ หมวดหมู่:เฮไลด์โลหะ หมวดหมู่:สารประกอบโคออร์ดิเนชัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแกโดลิเนียม(III) คลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แมกนีเซียม

แมกนีเซียม (Magnesium) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Mg และเลขอะตอม 12 แมกนีเซียมเป็นธาตุที่มีอยู่มากเป็นอันดับ 8 และเป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกประมาณ 2% และเป็นธาตุที่ละลายในน้ำทะเลมากเป็นอันดับ 3 โลหะอัลคาไลเอิร์ธตัวนี้ส่วนมากใช้เป็นตัวผสมโลหะเพื่อทำโลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแมกนีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แมกนีเซียมซัลเฟต

แมกนีเซียมซัลเฟต (อังกฤษ: magnesium sulfate) เป็นสารประกอบเคมีของแมกนีเซียม มีสูตรเคมีคือ MgSO4 มักอยู่ในรูปของเฮปต้า ไฮเดรต เริ่มแรกโดยการเคี่ยวน้ำแร่ (mineral water) จนงวดและแห้งที่เมืองยิปซัม (Epsom) ประเทศอังกฤษ และต่อมาภายหลังเตรียมได้จากน้ำทะเลและพบในแร่หลายชนิด เช่น ซิลิซีอัสไฮเดรตออฟแมกนีเซียม (siliceous hydrate of magnesia) แมกนีเซียมซัลเฟตในรูปมีน้ำ 7 โมเลกุลเรียกดีเกลือฝรั่งได้มาจากการทำนาเกลือโดยจะตกผลึกปนมากับดีเกลือไทย ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับน้ำดี และใช้แก้พิษตะกั่ว.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแมกนีเซียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์

แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (อังกฤษ: Magnesium hydroxide) สูตรเคมี Mg(OH)2 รู้จักกันในชื่อ "มิลค์ออฟแมกนีเซีย" (milk of magnesia) นิยมใช้เป็นยาลดกรดหรือยาระบาย แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ในรูปของแร่รู้จักกันในชื่อ บรูไซต์ (brucite) แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์มีฤทธิ์แทรกแซงการดูดซึมกรดโฟลิกและเหล็ก.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

แมงกานีส

แมงกานีส (Manganese) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์เป็น Mn มีหมายเลขอะตอมเป็น 25 ร่างกายจะขาดไม่ได้จะพบมากที่ สุดในโครงกระดูก ตับ ตับอ่อน หัวใจและต่อมพิทูอิทารี่ มีคุณสมบัติเป็นด่าง แมงกานีส ส่วนใหญ่จะสูญเสียไประหว่างกระบวนการปรุงอาหาร และส่วนเกินจะออกผ่านทางน้ำดีแล้วจะออกทางอุจจาร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแมงกานีส · ดูเพิ่มเติม »

แร่

ผลึกแร่ชนิดต่าง ๆ แร่ (Mineral) เป็นธาตุหรือสารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ด้วยกระบวนการทางอนินทรีย์ ส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีโครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนคงที่หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกั.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแร่ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนีย

แอมโมเนีย เป็น สารประกอบเคมี ที่ประกอบด้วยธาตุ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน โดยมี สูตรเคมี ดังนี้ NH3.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแอมโมเนีย · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมคลอไรด์

ณสมบัติ ทั่วไป Sample of ammonium chlorideแอมโมเนียมคลอไรด์ กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแอมโมเนียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมซัลเฟต

ณสมบัติ ทั่วไป แอมโมเนียมซัลเฟตแอมโมเนียมซัลเฟต กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแอมโมเนียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต

แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต หรือเรียกว่า ไบคาร์บอเนตออฟแอมโมเนีย, แอมโมเนียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต, ฮาร์ตสฮอร์น (hartshorn), or ผงเบกิ่งแอมโมเนีย เป็น เกลือไบคาร์บอเนต ของ แอมโมเนีย แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต สามารถทำให้เกิดได้โดยการผ่าน คาร์บอนไดออกไซด์ เข้าไปในสารละลายแอมโมเนีย จะได้ผงสีขาว ไม่มีกลิ่น ละลายน้ำได้เล็กน้อย สารละลายของแอมโมเนียม ไบคาร์บอเนตเมื่อสัมผัสกับอากาศหรือโดนความร้อนจะปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ ออกมามันทำตัวเป็นด่างในปฏิกิริยา สารละลายทั้งหมดของคาร์บอเนตเมื่อถูกต้มจะสะลายตัวเกิดเป็น คาร์บอนไดออกไซด์ และ แอมโมเนียดังสมการข้างล่างนี้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแอมโมเนียมไบคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

แอนติโมนีไตรออกไซด์

แอนติโมนีไตรออกไซด์ (Antimony trioxide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ด้วยสูตร Sb2O3 มันเป็นสารประกอบในเชิงพาณิชย์ที่สำคัญที่สุดของพลวง มันถูกพบในธรรมชาติเป็นแร่ธาตุวาเลนทิไนต์ และเซนาร์มอนไทต์ เช่นเดียวกับโพลิเมอร์ออกไซด์ได้มากที่สุด Sb2O3 ละลายในสารละลายเท่านั้นที่มีการย่อยสล.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแอนติโมนีไตรออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมฟลูออไรด์

แคลเซียมฟลูออไรด์ (calcium fluoride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ CaF2 ลักษณะเป็นของแข็งผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น ได้จากแร่ฟลูออไรต์ แคลเซียมฟลูออไรด์บริสุทธิ์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรฟลูออริก ตามสมการ: แคลเซียมฟลูออไรด์ใช้ในอุตสาหกรรมกระจกและเลนส์ และเป็นแหล่งสำคัญของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมโลหะ การกลั่นน้ำมันและตัวทำความเย็น แคลเซียมฟลูออไรด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจ หากทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกจะได้กรดไฮโดรฟลูออริกซึ่งเป็นพิษ จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคลเซียมฟลูออไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมคาร์บอเนต

แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium carbonate) เป็นสารประกอบมีสูตรเคมีคือ CaCO3 คาร์บอเนต ไม่ละลายในน้ำ แต่สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำและ คาร์บอนไดออกไซด์แล้วกลายเป็นแคลเซียมไบคาร์บอเนต (ซึ่งมีสูตรเคมีคือ Ca (HCO3) 2) แคลเซียมไบคาร์บอเนตละลายในน้ำได้เล็กน้อย ในธรรมชาติพบในรูปดังนี้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคลเซียมคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมซัลเฟต

แคลเซียมซัลเฟต (calcium sulfate) เป็นสารเคมีที่ใช้ในห้องทดลองและงานอุตสาหกรรม ในรูปแอนไฮดรัสเป็นของแข็งใช้เป็นตัวดูดความชื้น (desiccant) ในห้องทดลอง โดยมีชื่อเรียกว่า ดรายเออไรต์® เฮมิไฮเดรต รู้จักกันดีในชื่อของ ปลาสเตอร์ออฟปารีส, ขณะที่ ไดไฮเดรต เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีชื่อว่ายิปซัม.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคลเซียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมไบคาร์บอเนต

แคลเซียมไบคาร์บอเนต หรือ แคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (calcium bicarbonate; สูตรเคมี: Ca (HCO3)2) เป็นสารประกอบที่อยู่ในสารละลายเท่านั้น ถ้าสารละลายระเหยจะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ แคลเซียมไบคาร์บอเนตจะเกิดก็ต่อเมื่อน้ำมีคาร์บอนไดออกไซด์ในสารละลาย (หรือเรียกว่า กรดคาร์บอนิก) ทำปฏิกิริยากับแคลเซียมคาร์บอเนต ปฏิกิริยานี้มีความสำคัญมากในการเกิดหินงอก หินย้อย คอลัมน์ภายในถ้ำ น้ำที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศผ่านลงไปตามหินปูน (limestone) หรือแคลเซียมคาร์บอเนตอื่น แคลเซียมคาร์บอเนตบางส่วนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นไบคาร์บอเนตซึ่งละลายน้ำได้ดีมาก ต่อมาเมื่อน้ำแห้ง แคลเซียมไบคาร์บอเนตจะเปลี่ยนไปเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งละลายน้ำได้น้อยจะแยกตัวออกมาเกาะเป็นหินงอกหินย้อย อุณหภูมิมีความสำคัญต่อปฏิกิริยามาก เพราะเมื่ออุณหภูมิสูง คาร์บอนไดออกไซด์จะแยกตัวออกจากสารละลายแคลเซียมไบคาร์บอเนตเร็วขึ้น.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคลเซียมไบคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมไฮดรอกไซด์

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (calcium hydroxide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ Ca(OH)2 ลักษณะเป็นผลึกไม่มีสีหรือผงสีขาว ได้จากการเจือจางแคลเซียมออกไซด์กับน้ำ สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ รู้จักในชื่อน้ำปูนใ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

แคดเมียมคลอไรด์

แคดเมียมคลอไรด์ (cadmium chloride) เป็นสารประกอบแคดเมียมและคลอรีน มีสูตรเคมีคือ CdCl2 มีลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีคุณสมบัติเป็นสารดูดความชื้น โครงสร้างของแคดเมียมคลอไรด์เป็นทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแบบสมมาตร คล้ายกับโครงสร้างของแคดเมียมไอโอไดด์ แคดเมียมคลอไรด์เป็นกรดแบบลิวอิสแบบอ่อนN.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และแคดเมียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

โบรอน

รอน (Boron) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ B และเลขอะตอม 5 เป็นธาตุที่มี วาเลนซ์ 3 และเป็นกึ่งโลหะ โบรอนปรากฏมากในแร่บอแรกซ์ โบรอนมี 2 อัญรูปโดยที่ amorphous boron เป็นผงสีน้ำตาล และ metallic boron มีสีดำ รูปแบบที่เป็นโลหะมีความแข็งมาก (9.3 บนมาตราของโมห์ส) แต่นำไฟฟ้าไม่ดีที่อุณหภูมิห้อง "โบรอนนำไฟฟ้าได้น้อยแต่เมื่อทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นจะสามารถนำไฟฟ้าได้ดีขึ้น", รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล และคณ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโบรอน · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียม

แทสเซียม (Potassium) ธาตุเคมีในกลุ่มโลหะ มีเลขอะตอม 19 สัญลักษณ์ K สัญลักษณ์ของโพแทสเซียม มาจากภาษาเยอรมันว่า Kalium ส่วนชื่อโพแทสเซียม มาจากคำว่า โพแทส ซึ่งเป็นชื่อเรียกแร่ชนิดหนึ่งที่สกัดธาตุโพแทสเซียมได้ โพแทสเซียมเป็นโลหะอัลคาไล เป็นผงสีขาว-เงินอ่อนๆ ในธรรมชาติมักเป็นสารประกอบร่วมกับธาตุอื่นเพราะไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก สามารถออกซิไดซ์ได้อย่างรวดเร็วในอากาศ มีสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกับโซเดียม.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโพแทสเซียม · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียมคลอไรด์

แทสเซียมคลอไรด์ (Potassium chloride หรือ KCl) ประกอบด้วยโพแทสเซียมและคลอรีน ใช้เป็นแหล่งของโพแทสเซียมไออนและไอโอไดด์ไอออน สามารถใช้เป็นปุ๋ยและใช้เป็นสารพิษในการฉีดเข้าเส้นเลือดเพื่อประหารชีวิตคนได้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโพแทสเซียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียมคาร์บอเนต

แทสเซียมคาร์บอเนต (Potassium carbonate;K2CO3) เป็นเกลือสีขาวละลายในน้ำได้แต่ไม่ละลายในเอทานอล ละลายในน้ำได้สารละลายเป็นเบสแก่ สารนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ที่ทำปฏิกิริยากับ คาร์บอนไดออกไซด์ สารนี้ใช้ในการผลิตสบู่และแก้ว ในตำรายาเรียกเกลือเยาวกะษา หรือยาวักกะสาน ซึ่งยืมคำมาจากภาษาสันสกฤต ในสมัยก่อนจะได้จากการเผาพืชให้เป็นเถ้า นำไปละลายน้ำ แล้วระเหยให้น้ำแห้ง ตำราอายุรเวทของอินเดียใช้ขับปัสสาวะและลดกรดในกระเพาะอาหาร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโพแทสเซียมคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียมไอโอไดด์

โพแทสเซียมไอโอไดด์ (Potassium iodide หรือ KI) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ ใช้ทดแทนโซเดียมไอโอไดด์เพราะดูดความชื้นน้อยกว่า ทำให้สามารถจัดการได้โดยสะดวก มีการผลิตเชิงการค้านับหมื่นตันในแต่ละปี สารนี้หากเก็บไว้นานแล้วจะเป็นสีเหลืองเนื่องจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของไอโอไดด์กลายเป็นไอโอดีน หมวดหมู่:เฮไลด์โลหะ หมวดหมู่:ไอโอไดด์ หมวดหมู่:สารประกอบโพแทสเซียม หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:วัตถุเจือปนอาหาร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโพแทสเซียมไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์

โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าด่างคลี เป็นสารประกอบไฮดรอกไซด์ของโพแทสเซียม มีสูตรโมเลกุลว่า KOH หมวดหมู่:สารที่ดูดความชื้นจากอากาศได้ หมวดหมู่:เบส หมวดหมู่:สารประกอบโพแทสเซียม หมวดหมู่:ไฮดรอกไซด์.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

โกลด์(III) คลอไรด์

กลด์ (III) คลอไรด์ (Gold (III) chloride) ชื่อการค้าคือ ออริก คลอไรด์ (auric chloride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ของทองคำ สูตรทางเคมีของมันคือ AuCl3 ทองคำที่มีออกซิเดชั่น สเตต (oxidation state) +3 เป็นฟอร์มที่มีเสถียรภาพมากที่สุดของมัน สารประกอบคลอไรด์ของทองในรูปแบบอื่น คือ โกลด์ (I) คลอไรด์ (AuCl) แตมีเสถียรภาพน้อยกว่า AuCl3 เมื่อเอาทองละลายในน้ำประสานทอง (aqua regia) จะได้คลอราออริก แอซิด (chlorauric acid- (HAuCl4)) ซึ่งมีชื่อเรียกหลายชื่อเช่น "โกลด์ คลอไรด์" ("gold chloride") หรือ "แอซิดโกลด์ไตรคลอไรด์" ("acid gold trichloride") หรือ"โกลด์ (III) คลอไรด์ไตรไฮเดรต" ("gold (III) chloride trihydrate") โกลด์ (III) คลอไรด์ มีคุณสมบัติดูดน้ำได้ดีมาก และละลายในน้ำและแอลกอฮอลได้ดีมากด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโกลด์(III) คลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

โมลิบดีนัม

มลิบดีนัม (Molybdenum) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 42 และสัญลักษณ์คือ Mo โมลิบดีนัมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีขาวเงินมีเนื้อแข็งมากอยู่กลุ่มของธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงที.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโมลิบดีนัม · ดูเพิ่มเติม »

โอโซน

อโซน (Ozone หรือ O3) เป็นโมเลกุลที่ประกอบจากออกซิเจน 3 อะตอม ปรากฏอยู่ในชั้นบรรยากาศของโลก และมีการใช้งานในทางอุตสาหกรรมและเครื่องใช้ตามบ้านทั่วไป โอโซนถูกค้นพบครั้งแรกโดย คริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ (Christian Friedrich Schönbein) นักเคมีชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1840 โดยตั้งชื่อตามภาษากรีกคำว่า ozein ซึ่งแปลว่ากลิ่น โอโซนเข้มข้นมีสีฟ้าที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure; STP) เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง -112 °C โอโซนจะเป็นเป็นของเหลวสีน้ำเงิน และเมื่ออุณหภูมิลดต่ำกว่า -193 °C ก็จะกลายเป็นของแข็งสีดำ มนุษย์ได้นำโอโซนไปใช้ประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น นำไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเคมีภัณฑ์ นำไปใช้เป็นสารซักฟอก ใช้ฆ่าแบคทีเรีย เป็นต้น ก๊าซโอโซนจัดเป็นก๊าซพิษ การสูดดมก๊าซโอโซนเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ซึ่งแตกต่างจากคำว่าโอโซนที่บางครั้งถูกใช้ในบริบทของการท่องเที่ยวหรือการพักผ่อนหย่อนใจ เช่นในวลีว่า "สูดโอโซน", "รับโอโซน" หรือ "แหล่งโอโซน" เป็นต้น ถือว่าเป็นการใช้โอโซนผิดความหมาย เพราะความจริงแล้วโอโซนมีความเป็นพิษต่อมนุษย์ บริเวณที่มีโอโซนมากในประเทศไทย ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมแก่งคอย นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และย่านถนนสีลมในกรุงเทพมหานคร คำว่าโอโซนที่ใช้กันผิด ๆ จะหมายถึง ออกซิเจนหรืออากาศบริสุทธิ์ซึ่งดีต่อระบบการหายใจ ไม่ใช่ก๊าซโอโซนที่เป็นพิษ มีอันตรายต่อ.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโอโซน · ดูเพิ่มเติม »

โซดาไฟ

ซดาไฟ หรือคอสติกโซดา (caustic soda) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า คือ "สารประกอบชนิดหนึ่ง ชื่อ โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นของแข็งสีขาว ดูดความชื้นดีมาก ละลายน้ำได้ดี ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสบู่ เส้นใยเรยอน" โซดาไฟถูกใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และยังใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น ในการผลิตเยื่อและกระดาษ สบู่และผลิตภัณฑ์ซักฟอก เคมีภัณฑ์ การทำความสะอาด โรงกลั่นน้ำมัน การใช้งานทางอุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเส้นใยเรยอน สิ่งทอ และอื่น.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซดาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียม

ซเดียม (Sodium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ Na (จากคำว่า Natrium ในภาษาละติน) และหมายเลขอะตอม 11 โซเดียมเป็นโลหะอ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่มโลหะแอลคาไล โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะแฮไลต์) โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง ออกซิไดส์ในอากาศและทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำมากจนเกิดเปลวไฟได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ในน้ำมัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียม · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมคลอไรด์

ซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloride, สูตรเคมี: NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ ฮาไลต์ เป็นสารประกอบเคมี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมคาร์บอเนต

ซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช หรืออีกชื่อคือ โซดาซักผ้า สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิก มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น สามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในน้ำ มีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำ ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ พบในขี้เถ้าของพืชหลายชนิดและสาหร่ายทะเล (จึงได้ชื่อว่า โซดา แอช เนื่องจาก แอช ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ขี้เถ้า) เป็นสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น แก้ว เซรามิคส์ กระดาษ ผงซักฟอก สบู่ การแก้ไขน้ำกระด้าง โซเดียมคาร์บอเนต พบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจากทะเลสาบที่ระเหยแห้งไป ในสมัยอียิปต์โบราณ มีการขุดแร่ที่เรียกว่า เนทรอน (natron) (ซึ่งเป็นเกลือที่ประกอบด้วยโซเดียมคาร์บอเนต (หรือ โซดา แอช) และโซเดียมไบคาร์บอเนต (เบกกิ้ง โซดา) และมีโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) และโซเดียมซัลเฟต ปนอยู่เล็กน้อย) จากก้นทะเลสาบที่แห้ง ใกล้แม่น้ำไนล์ และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ ใน ปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) พบแหล่งแร่โซเดียมคาร์บอเนตขนาดใหญ่ใกล้แม่น้ำกรีนริเวอร์ รัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริกา ทำให้สหรัฐขุดแร่มาใช้แทนการผลิตทางกรรมวิธีทางเคมี ในประเทศอื่น ๆ การผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกรรมวิธีทางเคมีที่เรียกว่า กระบวนการโซลเวย์ (Solvay process) ซึ่งค้นพบโดย เออร์เนส โซลเวย์ นักอุตสาหกรรมเคมีชาวเบลเยี่ยม ในปี พ.ศ. 2404 (ค.ศ. 1861) โดยเปลี่ยน โซเดียมคลอไรด์ (น้ำเกลือ) เป็น โซเดียมคาร์บอเนต โดยใช้ แอมโมเนีย และ แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และสารที่เหลือจากกระบวนการมีเพียง แคลเซียมคลอไรด์ ซึ่งไม่เป็นพิษแม้ว่าอาจก่อให้เกิดความระคายเคืองได้ และ แอมโมเนียนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้อีก ทำให้กระบวนการโซลเวย์มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่ากรรมวิธีแบบเดิมมาก จึงถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตอย่างแพร่หลาย ในคริสต์ศตวรรษ 1900 โซเดียมคาร์บอเนต 90% ที่ผลิต ใช้วิธีการนี้ และยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน เดิมนั้นการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตทำโดยกระบวนเคมีที่เรียกว่า กระบวนการเลอบลังก์ (Leblanc process) ซึ่งค้นพบโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส ชื่อ นิโคลาส เลอบลังก์ ในปี พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1791) โดยใช้ โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดซัลฟูริก (กรดกำมะถัน) แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) และถ่าน แต่กรดไฮโดรคลอริค (กรดเกลือ) ที่เกิดจากกระบวนการนี้ ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ และแคลเซียมซัลไฟด์ ที่เหลือจากกระบวนการทำให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม แต่เนื่องจากโซเดียมคาร์บอเนตเป็นสารเคมีพื้นฐานในอุตสาหกรรมหลายชนิด ทำให้มีการผลิตโซเดียมคาร์บอเนตโดยกรรมวิธีนี้ และเป็นกรรมวิธีหลักมาจนถึงช่วงปี พ.ศ. 2423 - 2433 (ช่วง ค.ศ. 1880 - 1890) หลังการค้นพบกระบวนการโซลเวย์ กว่า 20 ปี โรงงานผลิตแคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้กระบวนการ เลอบรังค์แห่งสุดท้ายปิดลงในช่วงปี พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมซัลไฟด์

โซเดียมซัลไฟด์ (sodium sulfide) เป็นสารประกอบเคมีมีสูตร Na2S หรือที่พบมากกว่าคือ ไฮเดรต (hydrate) Na2S·9H2O ทั้งคู่เป็นเกลือละลายน้ำไร้สีซึ่งให้สารละลายด่างแก่ เมื่อสัมผัสอากาศชื้น Na2S และไฮเดรตของมันจะปลดปล่อยไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า หมวดหมู่:สารประกอบโซเดียม หมวดหมู่:ซัลไฟด์.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมซัลไฟด์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมซัลไฟต์

ซเดียมซัลไฟต์ (Sodium sulfite อาจเขียน sodium sulphite) เป็นเกลือโซเดียมที่ละลายน้ำได้ของกรดซัลฟิวรัส (sulfurous acid) สูตรโมเลกุลเป็น Na2SO3 ใช้ป้องกันไม่ให้ผลไม้แห้งเปลี่ยนสี และกันเนื้อสัตว์เน่าเสีย และใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับ โซเดียมไธโอซัลเฟตเพื่อเปลี่ยนธาตุฮาโลเจน ไปเป็นกรดไฮโดรฮาลิก ในการถ่ายรูปและลดระดับคลอรีนในสระว่ายน้ำ สารกลุ่มซัลไฟต์ เมื่อถูกความร้อนจะสลายให้ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide: SO2) หรือ ซัลฟูรัสแอนไฮดราย (sulfurous anhydride) หรือ ซัลฟูรัสออกไซด์ (sulfurous oxide) SO2 เป็นก๊าซที่มีสภาวะเป็นกรด ไม่ติดไฟ มีกลิ่นฉุนรุนแรง ทำให้หายใจไม่ออก มีน้ำหนักกว่าอากาศ 2.264 เท่า ละลายได้ดีในน้ำ ละลายในน้ำแล้วให้กรดซัลฟิวรัส การใช้สารในกลุ่มซัลไฟต์ในอาหาร 1.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมซัลไฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมซัลเฟต

ซเดียมซัลเฟต (Sodium sulfate) เป็นเกลือโซเดียมของกรดกำมะถัน เมื่อปราศจากน้ำจะเป็นผลึกสีขาว มีสูตร Na2SO4 เรียกว่าเกลือของ Glauber ของแข็งอีกรูปหนึ่งจะมีน้ำ 7 โมเลกุล ใช้ในทางอุตสาหกรรม เช่นในอุตสาหกรรมกระดาษ รูปที่พบในธรรมชาติจะมีน้ำ 10 โมเลกุล เกิดเป็นผลพลอยได้ในการผลิตกรดไฮโดรคลอริก โซเดียมซัลเฟตรูปที่มีโมเลกุลของน้ำ 10 โมเลกุลเรียกว่าดีเกลือไทย ได้มาจากการทำนาเกลือ ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ ใช้ผสมในน้ำแข็งเพื่อเพิ่มความเย็น ใช้ในอุตสาหกรรมย้อมผ้าและพิมพ์ผ้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมซัลเฟต · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมโบรไมด์

โซเดียมโบรไมด์ (Sodium Bromide หรือ NaBr) เป็นสารประกอบ มีผลึกคล้ายเกลือแกงเป็นแหล่งของโบรไมด์ไอออน หมวดหมู่:สารประกอบโซเดียม หมวดหมู่:สารเคมี.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมโบรไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมไบคาร์บอเนต

ซเดียมไบคาร์บอเนต (sodium bicarbonate; ชื่อตาม IUPAC: โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต) หรือ โซดาทำขนม (baking soda) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีคือ NaHCO3 มีเลขอีคือ E500 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีรสเค็มคล้ายโซเดียมคาร์บอเนต มีการใช้โซเดียมไบคาร์บอเนตมีมาสมัยนกฮูกที่ชื่อชวินได้กินสารXอุฟุฟวยเข้าไปจนตัวระเบิด ในรูปของเนตรอน (natron).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมไบคาร์บอเนต · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมไอโอไดด์

โซเดียมไอโอไดด์ (Sodium iodide หรือ NaI) เป็นผลึกเกลือสีขาว ใช้เป็นแหล่งของไอโอไดด์ เพื่อการตรวจวัดทางรังสีวินิจฉัย หรือ เพื่อรักษาอาการขาดไอโอดีน หมวดหมู่:เฮไลด์โลหะ หมวดหมู่:สารประกอบอนินทรีย์ หมวดหมู่:สารประกอบโซเดียม หมวดหมู่:ไอโอไดด์.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

โซเดียมไซยาไนด์

ซเดียมไซยาไนด์ (sodium cyanide) มีสูตรเคมีคือ NaCN มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้ นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทอง โซเดียมไซยาไนด์มีความเป็นพิษสูงมาก มีกลิ่นจาง ๆ คล้ายอัลมอนด์ แต่การได้กลิ่นนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม เมื่อผสมกับกรดจะได้แก๊สพิษ ไฮโดรเจนไซยาไน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และโซเดียมไซยาไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนคลอไรด์

Submit to get this template or go to:Template:Chembox.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไฮโดรเจนคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนโบรไมด์

รเจนโบรไมด์ (hydrogen bromide) มีสูตรเคมีว่า HBr เป็นสารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง ซึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากธาตุสองตัว ได้แก่ ไฮโดรเจน และโบรมีน ไฮโดรเจนโบรไมด์มีสถานะเป็นแก๊สที่ภาวะมาตรฐาน และเมื่อนำไปผสมน้ำจะได้เป็นกรดไฮโดรโบรมิก ในทางกลับกันเราสามารถสกัดเอาไฮโดรเจนโบรไมด์ออกจากสารละลายดังกล่าวได้ โดยการเติมตัวดูดความชื้น (dehydration agent) เพื่อไล่น้ำออก แต่ไม่สามารถแยกได้โดยการกลั่น ถือได้ว่าไฮโดรเจนโบรไมด์และกรดไฮโดรโบมิกมีความสัมพันธ์กัน แต่ไม่ใช่สารชนิดเดียวกัน ซึ่งในบางครั้งนักเคมีอาจใช้สูตร "HBr" แทนกรดไฮโดรโบมิก พร้อมทั้งเป็นที่เข้าใจกันในหมู่นักเคมีส่วนใหญ่ แต่อาจทำให้บุคคลทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดหรือสับสนระหว่างสารสองชนิดนี้ได้.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไฮโดรเจนโบรไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนไอโอไดด์

รเจนไอโอไดด์ (HI) เป็นสารประกอบขนาดสองอะตอม สารละลายของ HI เรียกว่ากรดไอโอไฮโดรอิก (iohydroic acid) หรือ กรดไฮโดรไอโอดิก (hydroiodic acid) มีฤทธิ์เป็นกรดแก่ อย่างไรก็ตามไฮโดรเจนไอโอไดด์นั้นมีสถาะเป็นก๊าซที่สภาวะมาตรฐานแต่กรดไอโอไฮโดรอิกเป็นสารละลาย HI ใช้ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และอนินทรีย์โดยเป็นแหล่งของไอโอดีนและใช้ในการทำปฏิกิริยารีดักชัน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไฮโดรเจนไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์

รเจนเพอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) มีสูตรทางเคมีว่า H2O2 เป็นสารประกอบเพอร์ออกไซด์ (สารที่ประกอบด้วยออกซิเจนสองตัวและเชื่อมกันด้วยพันธะเดี่ยว) รูปแบบที่ง่ายที่สุด มีสภาพเป็นของเหลวใส หนืดกว่าน้ำเล็กน้อย มีรสขม ไม่อยู่ตัว ซึ่งสามารถสลายตัวเป็นออกซิเจนกับน้ำ เมื่อเจือจางจะเป็นสารละลายไม่มีสี เนื่องจากไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์สามารถสลายตัวเป็นน้ำได้เมื่อถูกแสงและความร้อน จึงควรเก็บรักษาสารชนิดนี้ไว้ในภาชนะทึบแสง, ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทเทเนียม

ทเทเนียม (Titanium) เป็นธาตุเคมี มีสัญลักษณ์เป็น Ti มีเลขอะตอมเท่ากับ 22 มีความหนาแน่นต่ำ แข็ง ทนการกัดกร่อน (น้ำทะเล, น้ำประสานทอง (aqua regia) และ คลอรีน) เป็นโลหะทรานซิชันสีเงิน ไทเทเนียมได้รับการค้นพบในคอร์นวอลล์ บริเตนใหญ่ โดย วิลเลียม เกรเกอร์ (William Gregor) ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไทเทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาไนด์

HOMO ลักษณะทางกายภาพ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ถ้าเป็นของเหลว จะเป็นของเหลวใส ระเหยเป็นแก๊สได้ง่าย ที่อุณหภูมิห้อง มีกลิ่นเฉพาะตัวเรียกว่ากลิ่นอัลมอนด์ขม (Bitter almond) เมื่อกลายเป็นแก๊ส จะเป็น แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นอัลมอนด์ขมเช่นกัน สำหรับโซเดียมไซยาไนด์และโพแทสเซียมไซยาไนด์ เป็นของแข็ง มีลักษณะเป็นเกร็ดสีขาว มีกลิ่นอัลมอนด์ขมอ่อนๆ คำอธิบาย ไซยาไนด์ (Cyanides) เป็นกลุ่มของสารเคมีที่มีไซยาไนด์ไอออน (CN-) เป็นองค์ประกอบ สารเคมีกลุ่มนี้มีความเป็นพิษสูงมาก ใช้ในการทำงานบางอย่าง เช่น การชุบโลหะ การสังเคราะห์สารเคมี การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีในห้องปฏิบัติการ สารประกอบกลุ่มที่เป็นเกลือไซยาไนด์ (Cyanide salts) มีหลายชนิด ที่พบบ่อย เช่น โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium cyanide) โพแทสเซียมไซยาไนด์ (Potassium cyanide) หรือพบในรูปเกลือชนิดอื่นๆ เช่น แคลเซียมไซยาไนด์ (Calcium cyanide) ไอโอดีนไซยาไนด์ (Iodine cyanide) เป็นต้น เมื่อเกลือไซยาไนด์สัมผัสกับกรด หรือมีการเผาไหม้ของพลาสติกหรือผ้าสังเคราะห์ จะได้แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) เกิดขึ้น แก๊สชนิดนี้มีพิษอันตรายเช่นเดียวกับเกลือไซยาไนด์ แต่แพร่กระจายได้ง่ายกว่า เป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของการเสียชีวิตในผู้ที่สูดควันไฟกรณีที่มีไฟไหม้ในอาคาร นอกจากนี้ยังพบแหล่งของไซยาไนด์ในธรรมชาติได้จากสารอะมิกดาลิน (Amygdalin) ซึ่งพบได้ในเมล็ดของแอพพริคอท (Apricot) และเชอรรี่ดำ (Black cherry) และสารลินามาริน (Linamarin) ซึ่งพบได้ในหัวและใบของมันสำปะหลัง (Cassava) ในประเทศไทยพบมีรายงานพิษไซยาไนด์เนื่องจากการกินมันสำปะหลังได้บ้างพอสมควร และบางรายถึงกับทำให้เสียชีวิต.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไซยาไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนตรัสออกไซด์

แนวโน้มในการเป็นแก๊สเรือนกระจก ถังแก๊สไนตรัสออกไซด์สำหรับใช้ในทางทันตกรรม ไนตรัสออกไซด์ หรือ แก๊สหัวเราะ (Nitrous oxide หรือ laughing gas) คือสารประกอบทางเคมีที่มีสูตรทางเคมีว่า N2O ที่อุณหภูมิห้อง ไนตรัสออกไซด์จะไม่มีสี และเป็นแก๊สไม่ติดไฟ ไนตรัสออกไซด์มีกลิ่นหอมและมีรสหวานเล็กน้อย มีการนำไนตรัสออกไซด์ไปใช้ในการผ่าตัดและทางทันตกรรมเพื่อให้เกิดอาการชาและเพื่อการระงับความปวด โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อ “แก๊สหัวเราะ” เนื่องจากเมื่อสูดดมแล้วจะให้ความรู้สึกเคลิ้มสุขหรือครึ้มใจ เป็นคุณสมบัติที่ทำให้มีการใช้ในเชิงนันทนาการโดยการใช้เป็นยาดม และยังมีการนำไปใช้ในการแข่งรถยนต์โดยให้เป็นตัวเติมออกซิเจนเพื่อเพิ่มกำลังให้เครื่องยนต์อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไนตรัสออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนตริกออกไซด์

นตริกออกไซด์ (Nitric oxide; NO) หรือไนโตรเจนออกไซด์ หรือไนโตรเจนมอนอกไซด์ เป็น โมเลกุล ที่มีสูตรทางเคมีเป็นNO เป็นอนุมูลอิสระ ที่อยู่ในรูปของก๊าซ สามารถเคลื่อนที่ได้ดีในเซลล์ ทั้งบริเวณที่ชอบน้ำและไม่ชอบน้ำ และมีความสำคัญในทางอุตสาหกรรมไนตริกออกไซด์เป็นผลพลอยได้ของการเผาไหม้สารอินทรีย์ในที่ที่มีอากาศ เช่นเครื่องยนต์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และเกิดขึ้นตามธรรมชาติระหว่างการเกิดฟ้าผ่า พืชสามารถสังเคราะห์ NO ขึ้นได้โดยวิถีกระบวนการสร้างและสลายที่ใช้ Arginine หรือไนไตรต์ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องที่สำคัญในพืช ได้แก่ nitrate reductase (NR) ซึ่งเปลี่ยนไนไตร์ลเป็น NO โดยมีโมลิบดินัมเป็นโคแฟกเตอร์ เอนไซม์อีกตัวหนึ่งที่เกี่ยวข้องคือ xanthine oxidoreductase ซึ่งมีโมลิบดินัมและโคบอลต์เป็นองค์ประกอบด้วย Arasimowicz, M., and Floryszak-Wieczorek, J. 2007.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไนตริกออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรเจนไดออกไซด์

นโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen dioxide) เป็นสารประกอบเคมีที่มีสูตรเคมี เป็นหนึ่งในหลาย ๆ ของไนโตรเจนออกไซด์ เป็นระดับกลางในการสังเคราะห์อุตสาหกรรมของกรดไนตริก นับล้านตันที่ผลิตในแต่ละปี แก๊สพิษสีน้ำตาลแดงนี้มีลักษณะคมกัดกลิ่นและมลพิษทางอากาศที่โดดเด่น ไนโตรเจนใดออกไซด์เป็นโมเลกุลพาราแมกเนติก โค้งด้วย C2v กลุ่มจุดเชื่อมสมมาตร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และไนโตรเจนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์โรซีน

ฟอร์โรซีน (Ferrocene) Fe (C5H5) 2 เป็นต้นแบบของ metallocene (สารประกอบ organometallic ที่ประกอบด้วยวง cyclopentadienyl สองวง ซึ่งประกบอะตอบกลางโลหะไว้ ซึ่งอาจเรียนได้อีกอย่างหนึ่งว่า sandwich compound).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเฟอร์โรซีน · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเรดอน · ดูเพิ่มเติม »

เลขทะเบียน CAS

ลขทะเบียน CAS (อังกฤษ:CAS registry numbers) เป็นตัวเลขเฉพาะที่ใช้จำแนก สารประกอบเคมี, พอลิเมอร์, สารประกอบทางชีวภาพ, ของผสม และ โลหะผสม เลขทะเบียน CAS,CAS numbers,CAS RNs or CAS #s CAS ย่อมาจาก เคมิคัล แอบสแตรคต์ เซอร์วิส (Chemical Abstracts Service) เป็นหน่วนงานของ สมาคมเคมีอเมริกัน(American Chemical Society) กำหนดให้จำแนกสารประกอบเคมีทุกตัวโดยการลงทะเบียนในเอกสารที่จะใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อความสะดวกในงานวิจัยต่างๆ เพราะสารเคมีบางตัวมีหลายชื่อ เกือบทุกโมเลกุลในฐานข้อมูลปัจจุบันสามารถจะสืบค้นได้โดย เลขทะเบียนCAS จนถึง ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2553 นี้ปรากฏว่ามีสารประกอบที่ลงทะเบียนและมีหมาย เลขทะเบียน CAS ทั้งสิ้น 61,968,937 ตัวซึ่งสามารถตรวจสอบได้จาก โดยมีสารประกอบที่ลงทะเบียนเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 50 ตัว เคมิคัล แอบสแตคต์ เซอร์วิส ดูแลและขายฐานข้อมูลของสารประกอบเคมีเหล่านี้ ในนามของ เลขทะเบียน CAS(CAS registry).

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเลขทะเบียน CAS · ดูเพิ่มเติม »

เหล็ก

หล็ก (Iron ออกเสียงว่า ไอเอิร์น /ˈaɪ.ərn/) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ มีสัญลักษณ์ธาตุ Fe และหมายเลขอะตอม 26 เหล็กเป็นธาตุโลหะทรานซิชันหมู่ 8 และคาบ 4 สัญลักษณ์ Fe ย่อมาจาก ferrum ในภาษาละติน.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

เอชทีทีพีคุกกี้

อชทีทีพีคุกกี้ (HTTP cookie) นิยมเรียกว่า เว็บคุกกี้ หรือ คุกกี้ หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกส่งจากเว็บเซิร์ฟเวอร์มายังเว็บเบราว์เซอร์ และถูกส่งกลับมายังเว็บเซิร์ฟเวอร์ทุกๆครั้งที่เว็บเบราว์เซอร์ร้องขอข้อมูล โดยปกติแล้วคุกกี้จะถูกใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลขนาดเล็กๆไว้ที่เว็บเบราว์เซอร์ เพื่อให้เว็บเซิร์ฟเวอร์สามารถจดจำสถานะการใช้งานของเว็บเบราว์เซอร์ที่มีต่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ ตัวอย่างการใช้งานคุกกี้เช่น ใช้เพื่อจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้ เวลาที่ผู้ใช้เข้าเว็บครั้งล่าสุด ข้อมูลสินค้าที่ผู้ใช้เลือกไว้ ข้อมูลในคุกกี้เหล่านี้ ทำให้เว็บไซต์สามารถที่จะจดจำผู้ใช้ได้ แต่ไม่สามารถส่งคำสั่งมาประมวลผล หรือส่งไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านคุกกี้ได้ และมีเพียงเซิร์ฟเวอร์ที่สร้างคุกกี้นั้นๆ เท่านั้นจึงจะสามารถอ่านค่าของคุกกี้ดังกล่าวได้ คุกกี้เป็นมาตรฐาน ออกเมื่อ กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเอชทีทีพีคุกกี้ · ดูเพิ่มเติม »

เงิน (โลหะ)

งิน (silver) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 47 และสัญลักษณ์คือ Ag (άργυρος árguros, Argentum) เงินเป็นโลหะทรานซิชันสีขาวเงิน มีสมบัติการนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดีมาก ในธรรมชาติอาจรวมอยู่ในแร่อื่นๆ หรืออยู่อิสระ เงินใช้ประโยชน์ในการทำเหรียญ เครื่องประดับ ภาชนะบนโต๊ะอาหาร และอุตสาหกรรมการถ่ายรูป มีผู้ค้นพบคือ โรเบิร์ต แบนฟอตร.

ใหม่!!: รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์และเงิน (โลหะ) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Inorganic Compound

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »