โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์

ดัชนี ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ (Kingdom of Hejaz and Nejd; مملكة الحجاز ونجد) เป็นสหภาพทางการเมืองที่สถาปนาขึ้นหลังการพิชิตราชอาณาจักรฮิญาซ โดยรัฐสุลต่านนัจญด์ที่ปกครองโดยอิบน์ ซะอูด ในปี ค.ศ. 1927 มีการยกฐานะของรัฐสุลต่านนัจญด์ขึ้นมาเป็นราชอาณาจักร และ ค.ศ. 1932 อิบน์ ซะอูดทรงรวมสองอาณาจักรเข้าด้วยกันในชื่อ "ซาอุดีอาระเบีย" และพระองค์ทรงขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรก.

9 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2470พ.ศ. 2475พระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบียภาษาอาหรับภาษาตุรกีออตโตมันรัฐสุลต่านนัจญด์ราชอาณาจักรฮิญาซสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูดประเทศซาอุดีอาระเบีย

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบีย

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และพระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านนัจญด์

รัฐสุลต่านนัจญด์ (Sultanate of Nejd; سلطنة نجد) เป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของเอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ ที่ปกครองโดยสุลต่านอิบน์ ซะอูด กับเอมิเรตญะบัลชัมมัร ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และรัฐสุลต่านนัจญด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮิญาซ

ราชอาณาจักรฮิญาซ (Kingdom of Hejaz; مملكة الحجاز, Mamlakat al-Ḥijāz) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคฮิญาซบนคาบสมุทรอาหรับ ได้รับเอกราชหลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และปกครองโดยกษัตริย์แห่งราชวงศ์ฮัชไมต์ จนถึงปี..

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และราชอาณาจักรฮิญาซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ อับดุรเราะห์มาน อาล ซะอูด (عبد العزيز بن عبد الرحمن آل سعود‎, Abd al-'Azīz ibn 'Abd ar-Raḥman Āl Sa'ūd)ทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลแรกแห่งซาอุดีอาระเบีย เป็นพระราชบิดาในพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ของประเทศ รวมทั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด รัชกาลปัจจุบันของประเทศ พระองค์ทรงครองราชย์เป็นเวลา 19 ปี และสวรรคตด้วยพระชนมายุ 78 พรรษา เจ้าชายซะอูด บิน อับดุลอะซีซ จึงขึ้นครองราชย์แทน.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์และประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »