โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์หมิง

ดัชนี ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

104 ความสัมพันธ์: ชวาชาวฮั่นชาวแมนจูชี จี้กวังพ.ศ. 1911พ.ศ. 1941พ.ศ. 1945พ.ศ. 1964พ.ศ. 1967พ.ศ. 1968พ.ศ. 1978พ.ศ. 1992พ.ศ. 2000พ.ศ. 2007พ.ศ. 2030พ.ศ. 2048พ.ศ. 2064พ.ศ. 2110พ.ศ. 2115พ.ศ. 2163พ.ศ. 2170พ.ศ. 2187พระราชวังต้องห้ามกบฏโพกผ้าแดงกลุ่มภาษาจีนกว่างโจวการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)การพิชิตหมิงของชิงกำแพงเมืองจีนมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)มาเก๊ายุคน้ำแข็งน้อยระบบเจ้าขุนมูลนายราชวงศ์ราชวงศ์ชิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์หยวนเหนือราชวงศ์ถังราชวงศ์โชซ็อนรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิงลัทธิบัวขาวล่อกวนตงวรรณกรรมศาสนาพุทธสามก๊กสามสำนักหกกรมสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนหลี่ จื้อเฉิงหางโจวหนานจิง...อยุธยาอักษรจีนอัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)อู๋ ซานกุ้ยอ๋องฮกเกี้ยนจอหงวนจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิว่านลี่จักรพรรดิหย่งเล่อจักรพรรดิหลงชิ่งจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิหงจื้อจักรพรรดิหงซีจักรพรรดิจิ่งไท่จักรพรรดิฉงเจินจักรพรรดิไท่ชางจักรพรรดิเจิ้งถ่งจักรพรรดิเจิ้งเต๋อจักรพรรดิเจียจิ้งจักรพรรดิเจี้ยนเหวินจักรพรรดิเทียนฉี่จักรพรรดิเฉิงฮว่าจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อจักรวรรดิจีนจาง จวีเจิ้งจิตรกรรมทวีปแอฟริกาขงจื๊อดนตรีด่านชานไห่ความฝันในหอแดงงิ้วตำรวจลับตำนานนางพญางูขาวซ้องกั๋งประเทศพม่าประเทศญี่ปุ่นประเทศศรีลังกาประเทศสเปนประเทศโปรตุเกสประเทศเนเธอร์แลนด์ปักกิ่งแม่น้ำหวงแม่น้ำแยงซีแต้จิ๋วโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิไดเมียวไซอิ๋วเกาะสุมาตราเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจิ้งเหอเต๋าเฉิน โหย่วเลี่ยง ขยายดัชนี (54 มากกว่า) »

ชวา

วา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและชวา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮั่น

วฮั่น (漢族) เป็นประชากรส่วนใหญ่ในประเทศจีน ผลสำรวจจำนวนประชากรในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 พบว่า มีชาวฮั่นราว 1,200 ล้านคนอาศัยในประเทศจีน และนับเป็นกลุ่มชนชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วย มีหลักฐานว่าชาวฮั่นถือกำเนิดมาตั้งแต่สมัยหวงตี้ (黃帝) อาศัยอยู่ในแถบดินแดนจงหยวน และกระจายอยู่ทั่วประเทศจีนมายาวนานกว่า 5,000 ปี นับตั้งแต่สมัยเซี่ย ซาง โจว ชุนชิว-จั้นกั๋ว จนมาเริ่มเป็นปึกแผ่นในสมัยฉินและฮั่น สมัยฮั่นนี่เองที่เริ่มมีคำเรียก 'ฮั่น' ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อตามแบบลัทธิเต๋า ชาวฮั่นมีกิจกรรมด้านการเกษตรและหัตถกรรมที่เจริญก้าวหน้า อีกทั้งมีการประดิษฐ์เครื่องสำริด การถักทอ เครื่องเคลือบดินเผา สถาปัตยกรรม และศิลปะการวาดภาพที่เป็นหน้าตาของชนชาติมาตั้งแต่ยุคโบราณ นอกจากนี้ ยังรวมถึงผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่างๆ ที่เป็นที่ยอมรับไปทั่วด้วย และที่ลืมไม่ได้ก็คือ การเป็นชนกลุ่มแรกของโลกที่ค้นพบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ 4 อย่าง คือ กระดาษ เทคนิคการพิมพ์ เข็มทิศ และดินปืน บุคคลสำคัญเชื้อสายฮั่นในแผ่นดินจีนไม่ว่าจะเป็นนักทฤษฎี นักปฏิวัติ นักการเมือง กวี ศิลปินต่าง ๆ ที่ถูกจารึกนามในหน้าประวัติศาสตร์จีนและของโลกที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ ดร.ซุนยัตเซ็น เหมาเจ๋อตง โจวเอินไหล หลิวเส้าฉี จูเต๋อ เติ้งเสี่ยวผิง หลู่ซวิ่น ฯลฯ ล้วนเป็นชาวฮั่นที่สร้างคุณูปการต่อลูกหลานชนชาวฮั่นในวันนี้ และยังรวมถึง ขงจื๊อ ปรัชญาเมธีผู้เรืองนามของจีน เป็นเวลาเนิ่นนานหลายร้อยปี ที่แนวคิดของขงจื๊อซึ่งเป็นรากฐานคุณธรรมคำสอนของชาวฮั่น ได้แผ่อิทธิพลไปทั่วทวีปเอเชียตะวันออก (East-Asia) ชาวฮั่นมีวันสำคัญทางประเพณีได้แก่ เทศกาลตรุษจีน 春節 เทศกาลหยวนเซียว 元宵節 เทศกาลไหว้บะจ่าง 端午節 เทศกาลไหว้พระจันทร์ 中秋節 (จงชิวเจี๋ย) เป็นต้น ชาวฮั่นมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเองเรียกว่า ภาษาฮั่น 漢語 (ฮั่นอวี่) มีตัวอักษรเรียกว่า อักษรฮั่น 漢字 (ฮั่นจื่อ) ซึ่งยังแบ่งเป็นภาษาถิ่นอีกหลายภาษา อาทิ ภาษาถิ่นทางภาคเหนือ (北方話) ภาษากวางตุ้ง (粵語) ภาษาแคะ (客家話) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยเหมิน (閩南語) ภาษาถิ่นฮกเกี๊ยน (閩北語) ภาษาถิ่นแถบเซี่ยงไฮ้-เจียงซู-เจ้อเจียง (吳語) ภาษาถิ่นแถบหูหนัน (湘語) และภาษาถิ่นแถบเจียงซี (贛語).

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและชาวฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ชี จี้กวัง

ชี จี้กวัง (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1528 – 17 มกราคม ค.ศ. 1588) ชื่อรองว่า ยฺเหวียนจิ้ง (元敬), ชื่อศิลปินว่า หนันถัง (南塘) และ เมิ่งจู (孟諸), ชื่อเมื่อสิ้นชีวิตแล้วว่า อู๋อี้ (武毅) เป็นแม่ทัพจีนสมัยราชวงศ์หมิง เป็นที่รู้จักจากการนำทัพปราบกลุ่มสลัดแคระ (倭寇) และยังฝากผลงานเป็นพิชัยสงคราม จี้เซี่ยวซินชู (紀效新書) กับ เลี่ยนปิงฉือจี้ (練兵實紀) ที่อ้างอิงประสบการณ์ส่วนตัวในการเป็นอาจารย์ทหารแห่งราชสำนัก ทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษในวัฒนธรรมจีนมาจนถึงปัจจุบัน หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและชี จี้กวัง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1941

ทธศักราช 1941 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1941 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1945

ทธศักราช 1945 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1964

ทธศักราช 1964 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1967

ทธศักราช 1967 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1968

ทธศักราช 1968 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1978

ทธศักราช 1978 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1978 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1992

ทธศักราช 1992 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2000

ทธศักราช 2000 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2007

ทธศักราช 2007 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2030 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2048

ทธศักราช 2048 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2048 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2064

ทธศักราช 2064 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2064 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2110

ทธศักราช 2110 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2110 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2115

ทธศักราช 2115 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2115 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2163

ทธศักราช 2163 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2163 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2170

ทธศักราช 2170 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2170 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2187

ทธศักราช 2187 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพ.ศ. 2187 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963 พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจตุรัสเทียนอันเหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาต เป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมีวิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมีขันที 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนางซูสีไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย แม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบันพระมหากษัตริย์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยูเนสโกได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับพระราชวังเสิ่นหยางเป็นหนึ่งในมรดกโลกในนาม พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987).

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและพระราชวังต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโพกผ้าแดง

กบฏโพกผ้าแดง เป็นการกบฏในประเทศจีนราว..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและกบฏโพกผ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กว่างโจว

กว่างโจว กวางโจว หรือ กวางเจา (จีนตัวเต็ม: 廣州, จีนตัวย่อ: 广州 Guǎngzhōu หรือ Gwong2 zau1 ในภาษาจีนกวางตุ้ง) เป็นเมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง กว่างโจวเป็นเมืองใหญ่สุดทางภาคใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเป็นมณฑลซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 แห่งของจีน คือ เซินเจิ้น จูไห่ และ ซัวเถา นอกจากนั้นเมืองกว่างโจวยังมีสำเนียงเฉพาะถิ่นที่ถือว่าเป็นมาตรฐานของ ฮ่องกง และมาเก๊า เรียกว่า สำเนียงกว่างโจวอีกด้วย เมืองกว่างโจวตั้งอยู่ปากแม่น้ำจูเจียง และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความประวัติศาสตร์ ยาวนานกว่า 2,800 ปี เป็นจุดเริ่มของเส้นทางสายไหมทางทะเลในครั้งอดีต และยังเคยเป็นเมืองท่าเสรีแห่งแรกและแห่งเดียวที่เปิดต้อนรับชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อค้าขาย กว่างโจวแม้จะเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปเศรษฐกิจจีน แต่กว่างโจวยังมีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในรูปสถานที่สำคัญต่าง ๆ ปัจจุบันกว่างโจวมีบทบาทเป็นเมืองในเขตเศรษฐกิจการค้าที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในภาคใต้ของจีน และยังได้รับสถานะเป็นหนึ่งในสามเมืองท่าที่สำคัญที่สุดของจีน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่มีผลผลิตโดยรวมมากที่สุดด้วย นอกจากนั้นยังมีการคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทันสมัย มีระบบรถไฟใต้ดินครอบคลุมเมืองชั้นในทั้งหมด รวมทั้งด้านภูมิอากาศ อาหาร การดำรงชีวิต ตลอดจนความเป็นอยู่ก็มีความคล้ายคลึงกับประเทศไทย กว่างโจวมีภาพลักษณ์ค่อนข้างแตกต่างจากเมืองทางเหนือ ซึ่งบรรยากาศที่เต็มไปด้วย "ราชการและเป็นทางการ" แต่ในกว่างโจวจะรู้สึกและรับรู้ได้ถึง "การค้าและความวุ่นวาย" กว่างโจว เคยใช้เป็นสถานที่หลักที่ใช้จัดการแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2010 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและกว่างโจว · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)

การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น คือ เหตุการณ์สู้รบบนคาบสมุทรเกาหลีและยุทธการที่เกิดขึ้นตามมา ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและการบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตหมิงของชิง

การพิชิตหมิงของชิง หรือ การเปลี่ยนผ่านจากหมิงสู่ชิง เป็นที่รู้จักกันในการพิชิตประเทศจีนของชาวแมนจู เป็นยุคสมัยของการสู้รบระหว่างราชวงศ์ชิงที่ก่อตั้งโดยแมนจู ตระกูลอ้ายซินเจว๋หลัวในดินแดนแมนจูเรีย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนในปัจจุบัน)และราชวงศ์หมิงของชาวฮั่นที่อยู่ทางตอนใต้ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและการพิชิตหมิงของชิง · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเมืองจีน

ราชวงศ์ฉิน กำแพงเมืองจีน ("ฉางเฉิง", Great Wall of China) เป็นกำแพงที่มีป้อมคั่นเป็นช่วง ๆ ของจีนสมัยโบราณ กำแพงส่วนใหญ่ที่ปรากฏในปัจจุบันสร้างขึ้นในสมัย ราชวงศ์ฉิน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการรุกรานจาก ชาวฮัน หรือ ซฺยงหนู คำว่า ซฺยงหนู บางทีก็สะกดว่า ซุงหนู หรือ ซวงหนู ที่เป็นไม้เบื่อไม้เมากับอารยธรรมจีนในยุคต้นๆ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว (ราว 400 ปีก่อนคริสตกาล) เนื่องจากจะเข้ามารุกรานจีนตามแนวชายแดนทางเหนือ ในสมัยราชวงค์ฉิน ได้สั่งให้สร้างกำแพงหมื่นลี้ตามชายแดน เพื่อป้องกันพวกซยงหนูเข้ามารุกรานและพวกเติร์กจากทางเหนือ หลังจากนั้นยังมีการสร้างกำแพงต่ออีกหลายครั้งด้วยกัน แต่ภายหลังก็มีเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลียและแมนจูเรียสามารถบุกฝ่ากำแพงเมืองจีนได้สำเร็จ กำแพงเมืองจีนยังคงเรียกว่า กำแพงหมื่นลี้ ("ว่านหลี่ฉางเฉิง") สำนักงานมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติจีน ประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ว่านักโบราณคดีได้ตรวจวัดความยาวของสิ่งก่อสร้างจากน้ำมือมนุษย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกหรือ "กำแพงเมืองจีน" อย่างเป็นทางการนานร่วม 5 ปี ตั้งแต่ 2008-2012 และพบว่ายาวกว่าที่บันทึกไว้เดิมกว่า 2 เท่า หรือ 21,196.18 กิโลเมตร จากเดิม 8,850 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 15 มณฑลทั่วประเทศ และนับเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ยุคกลาง ด้วย มีความเชื่อกันว่า หากมองเมืองจีนจากอวกาศจะสามารถเห็นกำแพงเมืองจีนได้ ซึ่งในความเป็นจริงไม่สามารถมองเห็นจากอวกาศได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและกำแพงเมืองจีน · ดูเพิ่มเติม »

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

มาเก๊า

ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ. 2542 เป็นอาณานิคมของยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในจีน ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 อำนาจอธิปไตยเหนือมาเก๊าได้ย้ายไปที่สาธารณรัฐประชาชนจีนในพ.ศ. 2542 กลายเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน มาเก๊าได้มีบทบาทที่มีอิทธิพลต่อจีนและตะวันตกโดยเฉพาะระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่อาศัยอยู่ในมาเก๊าส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งเป็นภาษาแม่ ภาษาแมนดาริน ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษก็มีพูดด้วย โดยกว้าง ๆ ชาวมาเก๊า (Macanese) หมายถึงผู้ที่พำนักอาศัยถาวรอยู่ในมาเก๊า ส่วนในวงแคบ หมายถึง ชนพื้นเมืองในมาเก๊าที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกส มักจะผสมกับชาวจีนและบรรพบุรุษชาติอื่น ๆ นอกจากสิ่งที่เหลือจากประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมแล้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

ยุคน้ำแข็งน้อย

น้ำแข็งน้อย (Little ice age) เกิดขึ้นในราวปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและยุคน้ำแข็งน้อย · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวนเหนือ

ราชวงศ์หยวนเหนือ (Northen Yuan dynasty) ราชวงศ์ที่ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์หยวนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิงปกครองประเทศจีนตั้งแต่ พ.ศ. 1911 จนถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1368 - 1644) ปกครองเป็นระยะเวลา 276 ปี สืบทอดจากจักรพรรดิราชวงศ์หยวนซึ่งเป็นชาวมองโกล.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิบัวขาว

ลัทธิบัวขาว (白蓮教 ไป๋เหลียนเจี้ยว) เป็นขบวนการทางศาสนาและการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์หยวน เป็นลัทธิบูชาพระแม่องค์ธรรมเป็นพระเป็นเจ้าสูงสุด และรอคอยยุคพระศรีอริยเมตไตรย ซึ่งเป็นอุตมรัฐที่เชื่อว่าสังคมจะรุ่งเรืองสงบสุขตลอดไป.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและลัทธิบัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

ล่อกวนตง

หลัว กวั้นจง ตามสำเนียงกลาง หรือ ล่อกวนตง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นปราชญ์และนักประพันธ์ชาวจีน มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่ 14 (ค.ศ. 1330-ค.ศ. 1400) หรือยุคปลายของราชวงศ์หยวน ต่อถึงต้นราชวงศ์หมิง ล่อกวนตงเป็นผู้แต่งนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก และได้ชื่อว่าเป็นผู้ปรับปรุงเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งนับเป็น 2 ใน 4 สุดยอดวรรณกรรมจีน (อีกสองเรื่องคือ ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง) ชีวประวัติของล่อกวนตงไม่ใคร่แน่ชัด แต่มีการยืนยันว่าเขามีชีวิตอยู่ในช่วงปลายราชวงศ์หยวนถึงต้นราชวงศ์หมิงจริง นักปราชญ์ผู้หนึ่งชื่อ เจียจงหมิง (賈仲明) บันทึกไว้ว่าเคยพบกับล่อกวนตงในราวปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและล่อกวนตง · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรม

วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สามสำนักหกกรม

มสำนักหกกรม เป็นระบบบริหารราชการส่วนกลางของจักรวรรดิจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและสามสำนักหกกรม · ดูเพิ่มเติม »

สี่สุดยอดวรรณกรรมจีน

ี่สุดยอดวรรณกรรมจีน คือนวนิยายของจีน 4 เรื่องซึ่งเหล่าบัณฑิตยอมรับว่าเป็นวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่และมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ของประเทศ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ จื้อเฉิง

หลี่ จื้อเฉิง เป็นสมาชิกกบฏเมืองแมนแดนสันติ ในปลายยุคราชวงศ์หมิงต่อกับช่วงต้นราชวงศ์ชิง เป็นผู้เอาชนะใจราษฎรได้ส่วนใหญ่ จนได้รับฉายาว่า "กษัตริย์ผู้กล้า" ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่เป็นกษัตริย์ ทุกวันนี้ มีอนุสาวรีย์ขนาดใหญ่ของหลี่ จื้อเฉิง อยู่ที่บริเวณทางเข้าสุสานจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง กรุงปักกิ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและหลี่ จื้อเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

หางโจว

หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและหางโจว · ดูเพิ่มเติม »

หนานจิง

หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ. 2470 ถึง พ.ศ. 2492 โดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีผู้นำขณะนั้น คือ นายพลเจียงไคเช็ค หลังสถาปนาเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลใหม่จึงได้ย้ายเมืองหลวงกลับมายังปักกิ่งดังเดิม บรรพบุรุษชาวหนานจิง จำนวนมากอพยพมาจากปักกิ่งตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง จึงมีส่วนทำให้ภาษาหนานจิงมีสำเนียงคล้ายภาษาจีนกลางที่ฟังเข้าใจได้ทั่วไป จนทำให้ปัจจุบันหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุดในประเทศจีน แต่เนิ่นๆการพัฒนา ตั้งแต่ 3 ราชอาณาจักรระยะเวลาหนานจิงได้กลายเป็นศูนย์แห่งอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมของหนานจิงราชวงศ์ถูกขยายเพิ่มเติมและเมืองกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่เจริญมากที่สุดในจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและหนานจิง · ดูเพิ่มเติม »

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

อัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน)

อัครมหาเสนาบดี เป็นชื่อตำแหน่งข้าราชการประจำชั้นสูงสุดในประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อาจมีอายุย้อนหลังไปถึงสมัยราชวงศ์ฉินที่เริ่มกำหนดตำแหน่ง "นายกแห่งข้าราชการพลเรือนทั้งปวง" (head of all civil service officials) อำนาจหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่งนี้แตกต่างกันไปในแต่ละสมั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและอัครมหาเสนาบดี (ประเทศจีน) · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ ซานกุ้ย

วาดอู๋ซานกุ้ย อู๋ซานกุ้ย (อังกฤษ: Wu Sangui, จีนตัวเต็ม: 吳三桂, พินอิน: Wú Sānguì) แม่ทัพในปลายราชวงศ์หมิง ผู้เปิดประตูเมืองให้แมนจูบุกเข้าปักกิ่งในสมัยหลี่ จื้อเฉิง เป็นเหตุให้ชาวแมนจูได้รับชัยชนะและตั้งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและอู๋ ซานกุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

อ๋อง

อ๋อง (หวัง หรือ หวาง) แปลเป็นภาษาไทยคือกษัตริย์ เป็นตำแหน่งสูงสุดของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงราชวงศ์โจว ซึ่งสมัยนั้นจีนยังไม่รวมเป็นจักรวรรดิที่เป็นปึกแผ่น ซึ่งแต่ละแคว้นก็จะมีอ๋องเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น ซึ่งต่อมาฉินอ๋องเจิ้งแห่งแคว้นฉินทรงรวมแผ่นดินจีนเป็นปึกแผ่น พระองค์ถือว่าพระองค์มีคุณงามความดีเหนืออ๋องในอดีตทั้งมวล ทรงเห็นว่าตำแหน่งอ๋องไม่ยิ่งใหญ่เพียงพอสำหรับพระองค์ ฉินอ๋องเจิ้นจึงทรงพระราชดำริคำเรียกขึ้นใหม่คือ ฮ่องเต้ ฉินอ๋องเจิ้นทรงใช้พระนามว่า ฉินสื่อหวงตี้หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญ่ ในยุคชุนชิวและจ้านกว๋อ (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช) มีอ๋องอยู่เพียง 5 พระองค์เท่านั้นที่ได้รับการยกย่องเป็น ปาอ๋อง หรือ ปาจู๋ (霸, Bà) แปลได้ว่า "อ๋องผู้ยิ่งใหญ่" ได้แก.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและอ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

ฮกเกี้ยน

กเกี้ยน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและฮกเกี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

จอหงวน

อหงวน หรือสำเนียงกลางว่า จฺวั้ง-ยฺเหวียน สำเนียงแต้จิ๋วว่า จ๋วงง้วง และสำเนียงกวางตุ้งว่า จ่อง-ยฺวื่น เป็นตำแหน่งราชบัณฑิตซึ่งได้คะแนนอันดับหนึ่งในการสอบขุนนางของประเทศจีนสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในประเทศจีนปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกผู้ได้คะแนนอันดับที่หนึ่งในการสอบใด ๆ หรือในความหมายทั่วไปกว่านั้น ใช้สำหรับเรียกผู้เป็นหัวกะทิในสาขาวิชาหนึ่ง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจอหงวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิว่านลี่

มเด็จพระจักรพรรดิว่านลี่ (4 กันยายน ค.ศ. 1563 - 18 สิงหาคม ค.ศ. 1620) ประสูติเมื่อวันที่4 กันยายน..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิว่านลี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหย่งเล่อ

มเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ ภาพวาดขณะหย่งเล่อฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหล่าขันทีขณะกำลังเล่นคูจู่หรือตะกร้อ โบราณของจีน สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 1903 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 1967) พระนามเดิม จู ตี้ (朱 棣) คือฮ่องเต้พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิหย่งเล่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหลงชิ่ง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหลงชิ่ง (4 มีนาคม ค.ศ. 1537 - 23 มกราคม ค.ศ. 1572) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิหลงชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงจื้อ

ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ สมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1470 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1505) ทรงครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิหงจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงซี

200px สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงเหยินจง จูเกาจื้อ พระราชโอรสในหมิงเฉิงจู่ องค์ชายจูเกาจื้อ (朱 高 熾) ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา มีพระนามว่าหมิงเหยินจง (仁 宗)ใช้ศักราชหงซี (洪 熙)พระองค์เลื่อมใสในลัทธิขงจื้อ จึงยกเลิกกองเรือมหาสมบัติของพระราชบิดาและมีพระราชดำริที่จะย้ายเมืองหลวงลงไปอยู่ที่หนานกิง ตามเดิม แต่เนื่องจากทรงครองราชย์เพียงสิบเดือนก็ประชวรสวรรคตไปก่อน แผนการต่างๆ จึงยุติไปโดยปริยาย พระบรมศพถูกอัญเชิญไปบรรจุที่สุสาน เสียนหลิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1921 หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิหงซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ่งไท่

องเต้จิ่งไท่ หรือ ฮ่องเต้หมิงไต้จง เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์หมิง ในคราวที่บ้านเมืองกำลังวิกฤต ทรงยึดบัลลังก์จากพระเชษฐา ฮ่องเต้เจิ้งถง และขึ้นครองบัลลังก์เป็นฮ่องเต้จิ่งไถ่ แต่ภายหลังก็ทรงถูกฮ่องเต้เจิ้งถงยึดอำนาจคืน จูฉีอี้ (朱祁钰) เกิดเมื่อ พ.ศ. 1971 เป็นพระโอรสของ ฮ่องเต้ซวนเต๋อ กับสนมอู๋แต่ต้องอาศัยอยู่นอกวังเพราะสนมอู๋มีอดีตนางรับใช้เก่าของฮั่นอ๋อง ที่เคยก่อกบฏจะแย่งราชบัลลังก์จากฮ่องเต้ซวนเต๋อ จนฮ่องซวนเต๋อจวนจะสิ้นพระชนม์ มีพระราชโองการเรียกตัวสนมอู๋กับจูฉีอี้ยู่เข้าพระราชวังต้องห้าม และฝากฝังให้พระราชวงศ์ทุกพระองค์ยอมรับแม่ลูกคู่นี้ ว่าเป็นสนมและพระโอรสอย่างถูกต้อง เมื่อพระโอรสของพระเจ้าซวนเต๋อ คือ จูฉีเจิน ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้เจิ้งถงใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิจิ่งไท่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฉงเจิน

ักรพรรดิฉงเจิน (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1610-25 เมษายน ค.ศ. 1644) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไท่ชาง และเป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิเทียนฉี เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิฉงเจิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่ชาง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิไท่ชาง หรือ กวงจงฮ่องเต้ (ประสูติ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2163 - 26 กันยายน พ.ศ. 2163) จักรพรรดิพระองค์ที่ 14 แห่ง ราชวงศ์หมิง ของ จีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิไท่ชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งถ่ง

ู ฉีเจิ้น (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเจิ้งถ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งเต๋อ

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ (26 ตุลาคม ค.ศ. 1491 - 20 เมษายน ค.ศ. 1521) ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียจิ้ง

ักรพรรดิเจียจิ้ง จักรพรรดิหมิงเจียจิ้ง (16 กันยายน ค.ศ. 1507 - 23 มกราคม ค.ศ. 1567) เป็นพระราชภาดา ในจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเพราะพระบิดาของพระองค์กับจักรพรรดิหงจื้อที่ทรงเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเป็นพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชบิดาเดียวกัน เมื่อจักรพรรดิเจิ้งเต๋อสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเจียจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน

มเด็จพระจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หรือ เจี้ยนเหวินฮ่องเต้ (เจี้ยนเหวิน) พระนามเดิม จู หยุ่นเหวิน (朱 允炆) คือจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน รวมระยะเวลาที่อยู่ในราชสมบัติ 4 ปีกว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทียนฉี่

ทียนฉี่ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1605 – 30 กันยายน ค.ศ. 1627) ประสูติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเทียนฉี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉิงฮว่า

มเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮว่า จักรพรรดิเฉิงฮว่า (Chenghua Emperor, 9 ธันวาคม 1447 – 9 กันยายน 1487) พระราชโอรสในจักรพรรดิเจิ้งถง ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเฉิงฮว่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ

วาดจักรพรรดิซวนเต๋อ Ming Dynasty Xuande Archaic Porcelain Vase and Six -Character Mark สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงซวนจง หรือ จูเจียนจี หรือ องค์ชายจู (ค.ศ. 1426-1435) ครองราชย์ทรงพระนามว่าหมิงซวนจง (宣 宗) รัชศกซวนเต๋อ (宣 徳) ทรงเป็นจักรพรรดิที่พระทัยอ่อน ในตอนต้นรัชกาลมีพระญาติก่อกบฏเมื่อปราบปรามได้สำเร็จพระองค์ก็มิได้ลงโทษ ในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน

ักรวรรดิจีนก่อตั้งโดยราชวงศ์ฉินนำโดยฉินซื่อหวงตี้ซึ่งได้รวบรวมรัฐของจีนที่แตกออกเป็น 7 รัฐให้เป็นหนึ่งเดียวได้ ฉินซื่อหวงตี้บริหารประเทศโดยใช้ระบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางซึ่งจักรวรรดิจีนมีอายุยืนยาวมากประมาณ 2113ปี โดยเริ่มตั้งแต่ ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ ราชวงศ์ชิง     เขตแดน'''ราชวงศ์ฉิน''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ฮั่น''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ถัง''' เขตแดน'''ราชวงศ์ซ่ง''' เขตแดน'''ราชวงศ์หยวน''' เขตแดนราชวงศ์หมิง เขตแดนราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจักรวรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จาง จวีเจิ้ง

ง จวีเจิ้ง (ชาตะ: 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1525, เทศมณฑลเจียงหลิง มณฑลหูเป่ย์; มตะ: 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1582, กรุงปักกิ่ง) เป็นมหาอำมาตย์ (Grand Secretary) แห่งราชวงศ์หมิงของประเทศจีน ในรัชศกหลงชิ่งและว่านลี.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจาง จวีเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรี

น้ตเพลง ดนตรี (music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ด่านชานไห่

นชานไห่ในปัจจุบัน ด้านที่ติดกับทะเล (ทะเลโปไห่) ด่านชานไห่ ("ด่านภูเขาทะเล"; Shanhai Pass) เป็นป้อมประตูหนึ่งของกำแพงเมืองจีน เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญที่ป้องกันกรุงปักกิ่งจากทางทิศเหนือ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือราว 15 กิโลเมตรจากเมืองฉินหวางต่าว มณฑลเหอเป่ย์ ห่างจากกรุงปักกิ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ด่านแห่งนี้มีคำกล่าวว่าเป็น "ด่านที่หนึ่งในใต้หล้า" ด่านชานไห่สร้างขึ้นในยุคราชวงศ์หมิง เมื่อเทียบกับกำแพงเมืองจีนส่วนอื่น ๆ ที่สร้างมาตั้งก่อนยุคราชวงศ์ฉิน แต่กลับมีบทบาทอย่างมากในประวัติศาสตร์ราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง มีความสำคัญเป็นจุดพลิกผันสถานการณ์ถึงขั้นเปลี่ยนแผ่นดินเลยทีเดียว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและด่านชานไห่ · ดูเพิ่มเติม »

ความฝันในหอแดง

วามฝันในหอแดง (The Dream of the Red Chamber; 红楼梦 (หงโหล่วเมิ่ง) เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับสามก๊ก, ไซอิ๋ว และซ้องกั๋ง(108 วีรบุรุษเขาเหลียงซาน).

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและความฝันในหอแดง · ดูเพิ่มเติม »

งิ้ว

นักแสดงงิ้ว งิ้ว หรือ อุปรากรจีน (Chinese opera) เป็นการแสดงที่ผสมผสานการขับร้องและการเจรจาประกอบกับลีลาท่าทางของนักแสดงให้ออกเป็นเรื่องราว โดยสมัยนั้นได้นำเอาเหตุการณ์ต่างๆ ในพงศาวดารและประวัติศาสตร์มาดัดแปลงเป็นบทแสดง รวมทั้งยังมีการนำเอาความเชื่อทางประเพณีและศาสนาเข้าไปผสมผสานกับการแสดงงิ้วด้วย เดิมประเทศจีนมีงิ้วราว 300 กว่าประเภท ส่วนใหญ่จะเป็นงิ้วท้องถิ่น ส่วนงิ้วระดับประเทศ เช่น งิ้วปักกิ่ง, งิ้วเส้าซิง, งิ้วเหอหนัน และงิ้วกวางตุ้ง โดยงิ้วปักกิ่งเป็นงิ้วที่มีชื่อเสียงมากที่สุด โดยปัจจุบันถือเป็นตัวแทนงิ้วประจำชาติจีน ในบรรดางิ้วจีนกว่า300ประเภท "งิ้วคุนฉวี่"昆曲 "งิ้วกวางตุ้ง"粤剧/粵劇 และ"งื้วปักกิ่ง"京剧/京劇 ได้รับการยอมรับจากองค์การยูเนสโก และได้ขึ้นทะเบียนเป็น ‘มรดกโลก’ ในปี 2001,2009และ2010 ตามลำดั.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและงิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจลับ

ตำรวจลับ เป็นหน่วยสืบราชการลับหรือตำรวจที่บังคับใช้กฎหมายที่ในการรักษาความลับ ความรับผิดชอบหรือกำกับดูแลความโปร่งใส องค์กรตำรวจลับมักจะใช้เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดโดยรัฐเผด็จการ เป็นตำรวจที่ไม่ใส่เครื่องแบบ หมวดหมู่:ตำรวจ.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและตำรวจลับ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานนางพญางูขาว

นางพญางูขาว เป็นนิทานพื้นบ้านของชาวเมืองหังโจว ดัดแปลงเป็นภาพยนตร์หลายครั้ง อีกทั้งยังเคยสร้างเป็นภาพยนตร์อะนิเมะ ซึ่งถือเป็นภาพยนตร์อะนิเมะเรื่องยาวเรื่องแรกของญี่ปุ่นด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและตำนานนางพญางูขาว · ดูเพิ่มเติม »

ซ้องกั๋ง

ซ้องกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ ซ่งเจียง ตามสำเนียงกลาง (All Men Are Brothers, Men of the Marshes, Outlaws of the Marsh, The Marshes of Mount Liang หรือ Water Margin) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาจีนสำเนียงกลางว่า ฉุยหู่จ้วน (Shuǐhǔ Zhuàn) เป็นนวนิยายจีนซึ่งเชื่อกันว่าเป็นผลงานของ ชือ ไน่อัน (Shī Nài'ān) และนับถือกันว่าเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน แม้เขียนด้วยภาษาธรรมดา มากกว่าจะเป็นภาษาทางวรรณกรรมก็ตาม Yenna Wu, "Full-Length Vernacular Fiction," in Victor Mair, (ed.), The Columbia History of Chinese Literature (NY: Columbia University Press, 2001), pp.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและซ้องกั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำหวง

แม่น้ำหวางเหอที่น้ำตกหูโกว แม่น้ำหวางเหอช่วงที่ไหลผ่านมณฑลกานซู แม่น้ำหวางเหอ, หวง หรือ แม่น้ำฮวง, ฮวงโห (แปลว่า แม่น้ำเหลือง) เป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับสองของประเทศจีน รองจากแม่น้ำแยงซี และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 6 ของโลก มีความยาว 3,395 ไมล์ หรือ 5,464 กิโลเมตร สูงเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 5,400 เมตร (ยาวกว่าแม่น้ำเจ้าพระยาถึง 15 เท่า) ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ผ่านมณฑลชิงไห่, เสฉวน, กานซู, หนิงเซี่ย, มองโกเลียใน, ซานซี, เหอหนาน และออกสู่ทะเลโป๋ (โป๋ไห่) ใน มณฑลซานตง ซึ่งเป็นทะเลในอ่าวทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน น้ำในแม่น้ำหวางเหอ เป็นสีเหลืองเนื่องจากมีตะกอนดินทรายพัดพามาจากทิศตะวันตก ยังความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูกให้เกิดขึ้นสองฟากฝั่งแม่น้ำ ในขณะเดียวกันก็เกิดภาวะน้ำล้นตลิ่ง เกิดอุทกภัยหลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนอย่างมากมายมหาศาล จึงได้รับฉายาว่า "แม่น้ำวิปโยค" (悲劇河) ลุ่มแม่น้ำหวางเหอเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมจีนมาช้านาน ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการขุดค้นพบซากฟอสซิลมนุษย์วานรอายุ 5–600,000 ปี เรียกว่า "มนุษย์หลันเถียน" (蓝田人) ที่เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของชนชาติจีน ที่มีถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่อำเภอหลันเถียน มณฑลชานซี นอกจากนี้ยังพบซากโบราณสถานจำนวนมาก.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและแม่น้ำหวง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

แต้จิ๋ว

แต้จิ๋ว หรือ เฉาโจว (潮州) ในภาษาอังกฤษสะกดหลายแบบ Chaozhou, Teochew, Teochiu, Diojiu, Tiuchiu, Chiuchow อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว

วาดเรื่องไซอิ๋ว จากพระราชวังฤดูร้อน ที ประเทศจีน แสดงภาพตัวละครเอกของเรื่อง (จากซ้าย) ซุนหงอคง, ม้ามังกร, พระถังซัมจั๋ง, ตือโป๊ยก่าย, ซัวเจ๋ง ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; Journey to the West แปลตรงตัวว่า บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิกของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซำจั๋ง (อ้างอิงจากผู้มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ มีนามว่าพระเสวียนจั้ง 玄奘大師) โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทางต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทำให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดในวรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับสามก๊ก(三國演義) ความฝันในหอแดง (紅樓夢) และซ้องกั๋ง (水滸傳) การ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ดราก้อนบอล เป็นหนึ่งในงานที่ได้รับอิทธิพลจากไซอิ๋ว หลักฐานภาพจิตรกรรมฝาฝนังตุนหวง พระเสวียนจั้ง เดินทางมีสัมภาระจูงเสือเดินทางไปด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและไซอิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสุมาตรา

มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้งเหอ

รูปวาดเจิ้งเหอในจินตนาการของศิลปินที่ไม่ทราบชื่อ เจิ้งเหอ (แต้จิ๋ว: แต้ฮั้ว) เป็นผู้บัญชาการทหารเรือจีนในยุคราชวงศ์หมิง (明; Ming) มีบันทึกว่าเจิ้งเหอเริ่มเดินทางรอบโลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1421 และเคยติดต่อกับอาณาจักรอยุธยาด้วย มีผู้เสนอทฤษฎีว่า เจิ้งเหอน่าจะค้นพบทวีปอเมริกาก่อนคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยไม่มีหลักฐานใดๆมายืนยันได้ชัดเจนเลยว่าเจิ้งเหอเคยเดินทางผ่านแอฟริกาใต้ หรือ อเมริกา เจิ้งเหออาจเป็นแค่ทฤษฎีที่ชาวต่างชาติบางคนคิดขึ้นมาเพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองเท่านั้น.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและเจิ้งเหอ · ดูเพิ่มเติม »

เต๋า

ปากว้า เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเต๋าและการก่อกำเนิดสรรพสิ่ง เต๋า (道. เต้า) มีความหมายตามตัวอักษรว่า วิถี หรือ วิธี ต่อมาคัมภีร์เต๋ายุคแรก ได้ใช้คำว่า เต๋า ในความหมายใหม่ว่า เป็นสัจภาวะสูงสุด เป็นอุตรภาพ อัพภันตรภาพ ซึ่งปราศจากรูปร่าง พ้นวิสัยภาษา ความคิด และความเข้าใจของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่ง แม้ความเชื่อนี้จะมีที่มาจากลัทธิเต๋า แต่ก็ได้แพร่หลายไปยังคตินิยมอื่น ๆ ด้วยทั้ง ลัทธิขงจื๊อ ตลอดจนศาสนาและปรัชญาตะวันออกโดยรวม.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและเต๋า · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน โหย่วเลี่ยง

เฉิน โหย่วเลี่ยง ประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1320 ในครอบครัวชาวประมงที่ มณฑลหูเป่ย ต่อมาทรงเข้าร่วมกับกบฏโพกผ้าแดงและได้สังหารผู้เป็นหัวหน้า และทรงตั้งพระองค์ขึ้นเป็นหัวหน้าสืบต่อมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1357 ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น กษัตริย์แห่งฮั่น ที่ เจียงโจว และในปีต่อมาทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น จักรพรรดิ สวรรคตเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1363 ขณะพระชนม์เพียง 43 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1863 หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หยวน.

ใหม่!!: ราชวงศ์หมิงและเฉิน โหย่วเลี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ming Dynastyราชวงศ์ต้าหมิงราชอาณาจักรหมิงหมิงต้าหมิง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »