โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระดับขั้นในสถาบันศาสนา

ดัชนี ระดับขั้นในสถาบันศาสนา

ระดับขั้นทางศาสนาที่ใช้เรียกกันในสถาบันศาสนานั้นสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่ ระดับขั้นที่เป็นทางการ (ระดับชั้นที่หนึ่ง ระดับชั้นที่สอง ระดับชั้นที่สาม และระดับชั้นที่สี่) และระดับขั้นที่ไม่เป็นทางการ ซึ่งระดับดับขั้นที่เป็นทางการนั้นแบ่งตามพื้นฐานทางด้านนิติศาสตร์ (ฟิกฮ์) และศาสตร์ด้านอุซูล ส่วนระดับขั้นที่ไม่เป็นทางการนั้นไม่มีการระบุไว้เป็นที่ชัดเจน แต่สามารถแบ่งได้ว่า (ษิเกาะตุลอิสลาม, ฮุจญะตุลอิสลาม, อายาตุลลอฮ์ และอายาตุลลอฮ์อัลอุซมา).

10 ความสัมพันธ์: มัรเญี้ยะอ์ตักลีดมนุษยศาสตร์จริยธรรมตัจญ์วีดประวัติศาสนาอิสลามปริญญาโทแพทยศาสตร์ไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซียเทววิทยาเซมินารี

มัรเญี้ยะอ์ตักลีด

มัรเญี้ยะอ์ตักลีด ในฟิกฮ์ของอิมามียะฮ์หมายถึงนักวินิจฉัยหลักปฏิบัติศาสนกิจผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีตำราภาคปฏิบัติ (เตาฎีฮุลมะซาอิล) หรือตำราวินิจฉัย มีผู้ยึดปฏิบัติตามคำวินิจฉัยเขาในหลักปฏิบัติศาสนกิจ นักนิติศาสตร์อิสลาม (ฟุกอฮา)ส่วนใหญ่ของชีอะฮ์เชื่อว่ามุฟตีและมัรเญี้ยะอ์ตักลีดต้องมีชีวิตอยู่ (เชคอันซอรี อ้างการเป็นมติเอกฉันท์ไว้).

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและมัรเญี้ยะอ์ตักลีด · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรม

ริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและจริยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ตัจญ์วีด

ตัจญ์วีด ตามความหมายในพจนานุกรม หมายถึง ความสมบูรณ์ การชื่นชม การทำดี แต่ความหมายตามวิชาการ หมายถึง หลักการและกฎเกณฑ์ที่ช่วยในการอ่านอัลกุรอานให้ดียิ่งขึ้น  ตัจญ์วีด จะนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงอักขระอย่างถูกต้องจากตำแหน่งฐานของการเปล่งเสียง คุณสมบัติของเสียงแต่ละอักขระหรือเมื่อมันผสมกับพญชยัญชนะอื่น อีกกฎเกณฑ์หนึ่งที่สำคัญ คือ การหยุดอ่านและการอ่านเชื่อมต่อประโยคของอัลกุรอานตามสัญลักษณ์และความหมายของโองการ อัลกุรอานจะถูกอ่านตามหลักการอ่านทั้งเจ็ดอันเป็นที่รู้จักกัน แต่การอ่านของท่าน ฮัฟศ์ ที่รายงานจากท่านอาซิม เป็นการอ่านที่น่าเชื่อถือและถูกรู้จักกันในโลกอิสลาม  สามารถแบ่งตัจญ์ออกเป็นสองภาค คือ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตัจญ์วีดภาคทฤษฎี หมายรวมถึงประมวลหลักการอ่านและกฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งบรรดานักวิชาการมุสลิมได้วางกฎเกณฑ์ไว้เพื่อจะได้อ่านออกเสียงตัวพยัญชนะและคำของอัลกุรอานได้อย่างถูกต้อง เช่น เรื่องตำแหน่งฐานของการเปล่งแต่ละอักขระ คุณสมบัติของพยัญชนะต่างๆ  พยัญชนะที่ออกเสียงบาง พยัญชนะที่ออกเสียงหนา การควบพยัญชนะ (อิดฆอม)  พยัญชนะที่ออกเสียงลากยาว พยัญชนะที่ออกเสียงสั้น และเนื้อหาอื่นๆในลักษณะนี้ ส่วนตัจญ์วีดภาคปฏิบัติ หมายถึง เทคนิคและศิลปะในการอ่านอัลกุรอานบนพื้นฐานการออกเสียงพยัญชนะที่ถูกต้อง ด้วยสำเนียงอาหรับที่ชัดเจน ในภาคนี้ขึ้นอยู่กับการฝึกซ้อม ตัจญ์วีด เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่นักอ่าน (กอรี) ต้องฝึกฝนจนชำนาญ  หลายศตวรรษที่ผ่านมา อิหร่าน และ อินเดีย จะมีการร้องบทสวดมนต์และบทสรรเสริญ จริงแล้วคำว่า جاد (เป็นรากศัพท์ของคำว่า تجویدي)  เป็นคำที่ถูกทำให้เป็นภาษาอาหรับจากคำว่า گات  และ گاث  ก็หมายถึงการอ่านด้วยเปล่งเสียงอันไพเราะนั่นเอง, รวดมนต์และเคร่งศาสนา hymns กับกระพือแรงมากเลย\n หรือเพลงใช้แล้ว ความจริงนั่นคือคำ Judd(root Tajweed)อีกคนประตูคือ گاث หมายถึงอ่านเพลง Tajweed มันเป็นส่วนหนึ่งขอน่ะหนังเหนียวจะส่วนใหญ่วิทยาศาสตร์คือคิดอะไรใช้ได้เหมือนกันแต่ใครก็ตามที่พยายามและการกระทำได้มันต้องใช้;อ่านหนังสือดีหาก ในความสำคัญของวิทยาศาสตร์ของ Tajweed ในตีความแบบนั้นของท่องคาถาไล่ปิศาจ"นอกนะ ورتل القرءان ลังกินทอร์เทียล่าอ"(Surah muzammil/۷۳ ที่ ۴)Imam อัลลี่บอกว่า:"الترتیل Tajweed จดหมายและ معرفة الوقوف"หรือ"ทำให้ الوقوف และแสดงจดหมาย"สิ เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆของตัจญ์ในกุรอาน เครื่องหมายและรูปแบบต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้: 1.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและตัจญ์วีด · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาอิสลาม

การขยายอาณาเขตในสมัยราชวงศ์อุมัยยะห์ ปี 661–750 มัสยิดแห่งอุคบา ในประเทศตูนิเซีย สร้างในปี 670 โดยนายพลชาวอาหรับ แสดงถึงการแพร่ของศาสนาอิสลามในบริเวณแอฟริกาเหนือ ประวัติศาสนาอิสลาม เริ่มขึ้นปี..

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและประวัติศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาโท

ปริญญาโท (master's degree) เป็นปริญญาที่ให้แก่บุคคลซึ่งผ่านการศึกษาซึ่งแสดงความชำนาญหรือภาพรวมระดับสูง (high-order overview) ของสาขาการศึกษาหรือแขนงการประกอบวิชาชีพเฉพาะ ในขอบเขตที่ศึกษา ผู้ได้รับปริญญาโทถือว่ามีความรู้สูงในหัวข้อทฤษฎีและประยุกต์กลุ่มชำนัญพิเศษ ทักษะการวิเคราะห์ การประเมินเชิงวิจารณ์หรือการประยุกต์ทางวิชาชีพระดับสูง และความสามารถแก้ไขปัญหาซับซ้อนและคิดอย่างเคร่งครัดและเป็นอิสระ หมวดหมู่:ระดับปริญญา หมวดหมู่:ปริญญาโท.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและปริญญาโท · ดูเพิ่มเติม »

แพทยศาสตร์

right แพทยศาสตร์ (Medicine) เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพและเยียวยารักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย การแพทย์เป็นแขนงอาชีพที่ต้องใช้ทั้งความรู้และทักษะอย่างสูง แพทยศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่มีความสำคัญ ผู้ประกอบอาชีพทางการแพทย์มักได้รับความนับถือในสังคม แพทยศาสตร์มีศาสตร์เฉพาะทางต่าง ๆ อีกมากมายเช่น กุมารเวชศาสตร์, อายุรศาสตร์, ศัลยศาสตร์, ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (ศัลยศาสตร์กระดูก), สูติศาสตร์, นรีเวชวิทยา, โสตศอนาสิกวิทยา, นิติเวชศาสตร์, จักษุวิทยา, จิตเวชศาสตร์,รังสีวิทยา,ตจวิทยา, พยาธิวิทยา, เวชศาสตร์ชุมชน, อาชีวเวชศาสตร์, เวชศาสตร์ฟื้นฟู, เวชระเบียน, เวชสถิติ และอื่น ๆ อีกมากมาย และในแต่ละสาขายังแบ่งย่อยเป็นสาขาย่อยลงไปอีกตามอวัยวะหรือกลุ่มของโรค เช่น ศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก อายุรศาสตร์โรคไต เป็นต้น.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและแพทยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซีย

วยากรณ์ภาษาเปอร์เซียมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนอื่นๆ คือเป็นภาษาที่มีการผันคำ.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและเทววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เซมินารี

ซมินารี.

ใหม่!!: ระดับขั้นในสถาบันศาสนาและเซมินารี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »