โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยิ่งยง โอภากุล

ดัชนี ยิ่งยง โอภากุล

ปยาลใหญ่ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ยิ่งยง โอภากุล เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน มีชื่อเล่นว่า "อี๊ด" เป็นพี่ชายฝาแฝดกับ ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว.

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2497พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พฤษภาทมิฬกรกฎาคมกีตาร์ยืนยง โอภากุลร็อกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3อำเภอเมืองสุพรรณบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีทะเลใจดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์คาราบาวคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรป็อปเพลงเพื่อชีวิตเอสพี ศุภมิตร9 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและอำเภอเมืองสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลใจ

หน้าปกอัลบั้ม พฤษภา ทะเลใจ เป็นเพลงที่แต่งและร้องโดย ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว อยู่ในอัลบั้ม พฤษภา ซึ่งเป็นอัลบั้มพิเศษที่ออกร่วมกับ อี๊ด ยิ่งยง โอภากุล พี่ชายฝาแฝด หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ในปี พ.ศ. 2535 โดยแอ๊ดเปิดเผยว่า เพลงนี้ใช้เวลาแต่งเพียงครึ่งชั่วโมงเท่านั้น โดยตั้งใจจะเขียนถึง บิ๊กตุ๋ย พล.อ.อิสระพงศ์ หนุนภักดี หนึ่งในผู้นำคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ โดยมีคนบอกว่า พล.อ.อิสระพงษ์ นั้น แท้ที่จริงแล้วเป็นคนดี แต่เพราะสถานการณ์พาไป ดนตรีของเพลงทะเลใจเป็นแบบง่าย ๆ ฟังสบาย ๆ แต่โดดเด่นที่เนื้อหาที่เป็นปรัชญาชีวิต ถามถึงตัวตนและหัวใจของคน โดยเฉพาะคนที่ผ่านเหตุการณ์ต่าง ๆ มาในชีวิต เมื่อเพลงนี้ถูกเผยแพร่ออกไป ก็ได้รับความนิยมในเวลาไม่นาน และได้รับรางวัลสีสันอะวอร์ดส์ สาขาเพลงยอดเยี่ยมประจำปี พ.ศ. 2535 ด้วย ในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2536 โคโค่แจ๊ซ ได้ออกอัลบั้มพิเศษ ชื่อชุด คิดถึงคาราบาว โดยนำเพลงเก่าของคาราบาวมาเรียบเรียงใหม่ในสไตล์แจ๊ส ซึ่งเพลงนี้ก็เป็นเพลงหนึ่งในจำนวน 10 เพลงของคาราบาวที่ทำออกมาใหม่ด้วยเช่นกัน ต่อมาในปลายปี พ.ศ. 2546 คาราบาวได้ออกอัลบั้มพิเศษ คือ เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา โดยนำเพลงทั้งหมดในอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ ซึ่งเป็นอัลบั้มประวัติศาสตร์แห่งวงการดนตรีไทย เพราะสามารถทำยอดขายได้ถึง 5,000,000 ตลับทั้ง 10 เพลง มาเรียบเรียงดนตรีและร้องใหม่ และได้สังคายนาเพลงในอัลบั้มเดี่ยวของแอ๊ดไปเพิ่มอีก 2 เพลง คือ เดือนเพ็ญ ที่อยู่ในอัลบั้มเดี่ยวชุดแรก กัมพูชา และเพลงนี้ด้วย ปัจจุบัน ทะเลใจ ก็ยังเป็นอีกหนึ่งเพลงของคาราบาว ที่แฟน ๆ ยังชื่นชอบ และถูกเปิดฟังตลอด และยังได้รับความนิยมแม้แต่กระทั่งผู้ที่ไม่ใช่แฟนของคาราบาวหรือคอเพลงเพื่อชีวิตด้วย รวมถึงได้มีการทำดนตรีรวมถึงบันทึกเสียงใหม่โดยศิลปินคนอื่น.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและทะเลใจ · ดูเพิ่มเติม »

ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์

ี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ เป็นชื่อค่ายเพลงไทยในอดีต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2533 โดยคุณ วาสนา ศิลปิกุล แห่ง แว่วหวาน, เศก ศักดิ์สิทธิ์ และมี ชนินทร์ โปสาภิวัฒน์ ครีเอทีฟมือฉมังเข้าร่วมงานด้วย ศิลปินรายแรกของบริษัท คือ แอ๊ด - ยืนยง โอภากุล ซึ่งเป็นหัวหน้าวงคาราบาว กับอัลบั้มเดี่ยวชุดที่ 4 ชื่อชุด โนพลอมแพลม จากนั้นจึงรับผลิตผลงานเพลงอีกหลายศิลปิน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิต จนเรียกได้ว่าเป็นค่ายเพลงหนึ่งในจำนวนไม่มากนักที่เน้นแต่เพลงเพื่อชีวิต อีกทั้งยังเป็นบริษัทเทปที่บริหารงานอย่างครบวงจร ทั้งการผลิต โปรโมท จัดจำหน่าย (ในนาม ซาวด์ - ซาวด์ ก่อนจะเปลี่ยนเป็น มิวสิก้า) แต่ก็ยังได้ผลิตผลงานเพลงในแนวสตริง และโพรเกรสซิฟร็อกด้วย โดยเริ่มจากผลงานเพลงชุดแรกและชุดเดียวของอั๋น - สิรคุปต์ เมทะนี กับอัลบั้ม ฟิตเปรี๊ยะ ก่อนจะมีค่ายเพลง มูเซอร์ เรคคอร์ดส ซึ่งนำทีมโดย ประภาส ชลศรานนท์ ร่วมด้วยสมาชิกวงดนตรีเฉลียงอย่างเกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ และนก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต เข้ามาประกบกับ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ดำเนินงานอยู่ได้เพียง 3 ปี ก็ถูกบริษัท วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป ซึ่งเป็น 1 ใน 4 บริษัทค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือที่เรียกว่า บิ๊กโฟร์ (Big Four) จากต่างประเทศเข้ามาเทคโอเวอร์กิจการ โดยรวมดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส เข้ารวมกันและเปลี่ยนชื่อเป็น วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ ทำให้ศิลปินในสังกัด ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส จำนวนหนึ่งยังคงเดินหน้าทำเพลงต่อไปในบริษัทใหม่ และ วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ ยังได้นำอัลบั้มเพลงจากสมัย ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ มาวางจำหน่ายซ้ำอีกด้วย ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จึงเหลือเพียงตำนานค่ายเพลงเพื่อชีวิตครบวงจร.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เอสพี ศุภมิตร

นักร้องคนแรกของค่าย เอสพี ศุภมิตร บ้างก็เขียนชื่อเป็น เอ.พี.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและเอสพี ศุภมิตร · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ยิ่งยง โอภากุลและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »