โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ดัชนี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานชื่อเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 จึงถือว่าวันที่ 22 กันยายนของทุกปี เป็นวันสงขลานครินทร์ ได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ในปี..

94 ความสัมพันธ์: บัวเรศ คำทองพ.ศ. 2446พ.ศ. 2505พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2514พ.ศ. 2520พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2549พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหาพิชัยมงกุฎพิธีสำเร็จการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนกการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.ฐปณีย์ เอียดศรีไชยภาษาอังกฤษภาคใต้ (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีราชวงศ์จักรีรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ตรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาลัยชุมชนสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ศรีตรังศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิสีน้ำเงินสถาบันพระบรมราชชนกสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสตางค์ มงคลสุขอะเดย์อักษรย่ออันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอำเภอกะทู้อำเภอหาดใหญ่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี...อำเภอเมืองตรังอำเภอเมืองปัตตานีอุดมศึกษาอธิการบดีจรัส สุวรรณเวลาจักรจังหวัดภูเก็ตจังหวัดยะลาจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสงขลาจังหวัดตรังจังหวัดปัตตานีจังหวัดนครศรีธรรมราชถนัด คอมันตร์ทีวีบูรพาคอกโครัลลีไซมอนส์คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตรีศูลประเสริฐ ชิตพงศ์ประเทศไทยเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์12 มีนาคม13 มีนาคม21 มิถุนายน22 กันยายน ขยายดัชนี (44 มากกว่า) »

บัวเรศ คำทอง

ตราจารย์กิตติคุณ บัวเรศ คำทอง (21 สิงหาคม พ.ศ. 2453 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และบัวเรศ คำทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาพิชัยมงกุฎ

ระมหาพิชัยมงกุฎ ซุ้มเฉลิมพระเกียรติในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 แสดงภาพจำลองพระมหาพิชัยมงกุฎ พระมหาพิชัยมงกุฎ เป็นหนึ่งในห้าของเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ อันเป็นเครื่องทรงในพระมหากษัตริย์แห่งพระราชอาณาจักรไทยตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพระมหาพิชัยมงกุฎ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เป็นวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2537 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อให้วิทยาลัยพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทั้งที่เปิดดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเปิดใหม่ภายหลังว่า "วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี" โดยมีวิทยาลัยพยาบาลที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ จำนวน 28 แห่ง ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และกลุ่มสถาบันการพยาบาล สถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. · ดูเพิ่มเติม »

ฐปณีย์ เอียดศรีไชย

นางสาวฐปนีย์ เอียดศรีชัย ผู้ประกาศข่าวภาคสนามรายการข่าว 3 มิติ ทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และฐปณีย์ เอียดศรีไชย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ

มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ หรือ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ศูนย์หาดใหญ่ หรือศูนย์อรรถกระวีสุนทร (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ในปัจจุบัน) ศูนย์ทาง วิทยาเขตหาดใหญ่ เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ และสาขาเฉพาะ และปัจจุบันได้สอนทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ในบางสาขาอีกด้วย และเป็นที่ตั้งกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วยหน่วยงานสำคัญ คือ สำนักงานอธิการบดี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลทันตกรรม สำนักงานวิจัยและพัฒนา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โรงเรียนม.อ.วิทยานุสรณ์ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (เดิมชื่อ ศูนย์ปัตตานี หรือ ศูนย์รูสะมิแล) ดำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต

นี่คือ รายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และรายชื่อถนนในจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ยวิทยาลัยชุมชนแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ปัจจุบัน เปิดสอนในระดับปริญญาโท และหลักสูตรอบรมระยะสั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยชุมชนสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาลัยชุมชนสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และวิทยาลัยชุมชนสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ในวิทยาเขตปัตตานี โดยจัดตั้งเมื่อ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2532 จัดการเรียนการสอนในสาขาอิสลามศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งจัดตั้งขึ้นจากการเสนอของสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อจัดให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาศาสนาอิสลามจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนโยบายในการเปิดสาขาวิชาการศึกษาอิสลาม ขึ้นในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเตรียมจัดตั้งภาควิชาการศึกษาอิสลาม และร่างหลักสูตรอิสลามศึกษาในระดับปริญญาตรีแล้ว โดยได้ผ่านการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์

วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ เกิดที่ ธนบุรี กรุงเทพมหานคร จบการศึกษา จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งนิตยสารอะเดย์(A Day)(2543) ร่วมกับนิติพัฒน์ สุขสวยและภาสกร ประมูลวงศ์ เคยเป็นบรรณาธิการอำนวยการนิตยสารอะเดย์ นิตยสารHamburger นิตยสารKnock Knock และบรรณาธิการที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ อะบุ๊ค ก่อนจะลาออกมาเนื่องจากดีลขายหุ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และวงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีตรัง

รีตรัง เป็นชื่อไม้ต้นในสกุลศรีตรัง (Jacaranda) วงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) ต้นอาจสูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นฝอยเล็ก มี 2 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และศรีตรัง · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี (The 60th Anniversary of His Majesty the King’s Accession to the Throne International Convention Center) เป็นศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และเพื่อเป็นรองรับการจัดการประชุมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ, การจัดแสดงนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มีชื่อเดิมว่า ศูนย์ประชุมนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Prince of Songkla University International Convention Center: PSUICC) ซึ่งต่อมาสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือที่ นร 0508/ท 6969 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2552 แจ้งเรื่องการขอพระราชทานชื่ออาคารศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า "ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี" พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้เชิญตราสัญลักษณ์การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มาประดิษฐานที่ป้ายชื่อศูนย์ประชุม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ

ทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ (ชื่อเล่น: เช็ค) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2505 ที่จังหวัดชุมพร เป็นผู้จัดรายการ พิธีกร นักแสดง ปัจจุบัน ดำเนินรายการ คนค้นตน และเป็นผู้บริหารในบริษัท ทีวีบูร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำเงิน

ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันพระบรมราชชนก

ันพระบรมราชชนก เป็นสถาบันที่ผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุข สืบสานพระปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์และสาธารณสุขไทย และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระมารดาแห่งการสาธารณสุข ก่อตั้งขึ้นโดยการรวมองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตบุคลากรด้านการสาธารณสุขเข้าด้วยกัน เพื่อเอกภาพด้านนโยบาย การวางแผนการดำเนินงาน เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้มีพระราชกฤษฏีกาแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้จัดตั้งเป็น "สถาบันพัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุข" ดูแลงานด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สตางค์ มงคลสุข

ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสตางค์ มงคลสุข · ดูเพิ่มเติม »

อะเดย์

อะเดย์ (a day) เป็นนิตยสารเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปในสังคมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นนิตยสารที่เป็นต้นแบบนิตยสารทางเลือกของวัยรุ่น ถึงขั้นวงการนิตยสารไทยยกให้นิตยสารอะเดย์เป็นดั่งนิตยสาร 'ขวัญใจเด็กแนว' นิตยสารอะเดย์ ผลิตโดย บริษัท เดย์ โพเอ็ทส์ จำกัด (Day Poets Co. Ltd.) โดยบริษัทก่อตั้งขึ้นโดยบุคคล 3 คน ได้แก่ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์, นิติพัฒน์ สุขสวย และ ภาสกร ประมูลวงศ์ ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทำหนังสือเหมือนทำชีวิต" จนถึง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอะเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรย่อ

อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอักษรย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะทู้

กะทู้ เป็นอำเภอหนึ่งในสามอำเภอของจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอำเภอกะทู้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี

อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีเรียกว่า อำเภอบ้านดอน) เป็นอำเภอที่ตั้งของตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเมืองศูนย์กลางระบบราชการ ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง และเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองปัตตานี

อำเภอเมืองปัตตานี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอำเภอเมืองปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอธิการบดี · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจรัส สุวรรณเวลา · ดูเพิ่มเติม »

จักร

ักร (อักษรเทวนาครี: चक्र, ภาษาปัญจาบ: chakkar, ภาษามลายู: cakera), เป็นอาวุธที่มีต้นกำเนิดในประเทศอินเดีย รูปร่างเป็นโลหะแบน เป็นรูปวงกลม ‌ จักรในภาษาไทยมาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงล้อ หรือวงกลม ตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ และเป็นอาวุธของพระนารายณ์ชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นรูปคดเคี้ยว 8 แฉก และมีลวดลายอยู่ในเส้นวงกลม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจักร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีวีบูรพา

ทีวี บูรพา (อังกฤษ: TV Burabha) เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ ประเภทสารคดีและสื่อสิ่งพิมพ์ ในประเทศไทย ที่ก้าวย่าง มุ่งสร้างสรรค์งานคุณภาพ เป็นบริษัทย่อยของเจเอสแอล โกลบอล มีเดีย ก่อตั้งโดย สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ รายการ คนค้นฅน เป็นรายการแรกที่ผลิตโดย ทีวีบูรพา ต่อมาผลิตรายการ กบนอกกะลา คิดข้ามเมฆ หลุมดำ จุดเปลี่ยน ฯลฯ ล้วนแต่เป็นงานที่ผลิตขึ้น เพื่อการร่วมสร้างสรรค์สังคมที่ดีงาม ตามเจตนารมณ์ ในการประกอบธุรกิจ เพียงอย่างเดียว แต่สื่อโทรทัศน์ยังมีความสำคัญต่อสังคมโดยภาพรวม ก่อตั้งที่ ซอยรามคำแหง 43/1 ถนนรามคำแหง แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร (ปัจจุบันได้ย้ายสำนักงานไปที่ 246/8 ซอยโยธินพัฒนา ถนนประดิษฐ์มนูธรรม แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และทีวีบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

คอกโครัลลีไซมอนส์

อกโครัลลีไซมอนส์ (Quacquarelli Symonds) (QS) เป็นบริษัทเอกชนทำธุรกิจในด้านการศึกษาก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคอกโครัลลีไซมอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ เริ่มก่อตั้งที่ตำบลรูสมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี เมื่อปี พ.ศ. 2509 ในระยะแรกใช้ชื่อว่า "มหาวิทยาลัยภาคใต้" (UNIVERSITY OF SOUTHERN THAILAND) ต่อมา ในเดือนกันยายน 2510 มหาวิทยาลัยฯได้รับพระราชทานชื่อว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY) ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ สมเด็จพระบรมราชชนก เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวงสงขลานครินทร์ ในวันที่ 12 มีนาคม 2511 ได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศใชัพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใช้ เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้กำหนดเป้าหมาย เพื่อการพัฒนาภาคใต้ ตามแผนพัฒนาการศึกษา อันเป็นพื้นฐาน ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และเสมอภาคของประชาชน และเพื่อเป็นแหล่งบริการวิชาการชุมชน ทั้งในชนบทและในเมือง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เดิมใช้ชื่อ คณะการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว เป็นคณะที่อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539) โดยเปลี่ยนชื่อจาก "คณะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว" (หลักสูตรภาษาไทย) เป็นหลักสูตรบริหารธุรกิจ วิชาเอก การจัดการโรงแรม (หลักสูตรนานาชาติ) (Bachelor of Business Administration: Hotel Management) มุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในหลักสูตรนานาชาติที่สอนเป็นภาษาอังกฤษ มีวิสัยทัศน์ที่จะพัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศในภูมิภาค ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถทำงานในระดับนานาชาติและสามารถได้รับการพัฒนาเป็นผู้บริหารระดับสูงได้ เมื่อได้เปิดหลักสูตรสาขาวิชาวิเทศธุรกิจ(จีน) (International Business: China) ในปีการศึกษา 2544 ชื่อคณะการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว ได้เปลี่ยนมาเป็นคณะอุตสาหกรรมบริการเพื่อให้ครอบคลุมสาขาวิชาใหม่ในสาขาบริการอย่างอื่นนอกจากสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว ในปี การศึกษา 2546 คณะได้เปิดหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ)(Master of Business Administration in Hospitality and Tourism Management) และในปีเดียวกันได้จัดหลักสูตรร่วมกับ College of Human Environment Science, Oklahoma State University, Still water Oklahoma, USA ในระดับปริญญาเอกสาขา วิชา การจัดการโรงแรม ภัตตาคารและการท่องเที่ยว (Ph.D. in Hotel, Restaurant and Tourism Administration) ต่อมาได้เปิดหลักสูตรจีนศึกษา (Chinese Studies) และไทยศึกษา (Thai Studiese) เพิ่มในปี 2547 และ 2548 ตามลำดับ และในปี 2549 ก็ได้แยกสาขาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว ออกเป็นสาขาการจัดการการบริการ และการจัดการการท่องเที่ยว และในปี 2550 ก็ได้หยุดรับสมัครนักศึกษาสาขาการจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว ปัจจุบันคณะจึงประกอบด้วย 5 สาขาวิชาดังกล่าว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดสอนในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเปิดสอนในรายวิชาทางด้านดังกล่าวให้กับนักศึกษาสาขาอื่นๆในมหาวิทยาลัยอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (Faculty of Political Science, Prince of Songkhla University, Pattani Campus).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดในภาคใต้ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 7 ภาควิชา 12 สาขาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะวิชาที่เน้นการบูรณาการศาสตร์แห่งการสื่อสาร คือ "นิเทศศาสตร์" กับ "เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" เพื่อสร้างองค์ความรู้และผลิตบัณฑิตแห่ง "สังคมสารสนเทศ" (information society) และ "สังคมฐานความรู้" (knowledge-based society) ที่จะต้องพร้อมด้วยศักยภาพในการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีอย่างเชี่ยวชาญ สร้างสรรค์ และรู้เท่าทัน อีกทั้งยังสามารถประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนาตนให้เป็นผู้นำทางวิชาชีพ ทางวิชาการ และทางสังคมในอนาคต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกจำนวน 48 คน ในปี พ.ศ. 2519 เดิมนั้นคณะวิทยาการจัดการมีชื่อว่า คณะสังคมศาสตร์ ซึ่งได้รับอนุมัติให้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2517 ต่อมามหาวิทยาลัยเห็นว่าตามหลักการเดิม มหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็น 2 ศูนย์ คือ ศูนย์ทางวิทยาเขตหาดใหญ่ ให้เป็นศูนย์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศูนย์ทางวิทยาเขตปัตตานี ให้เป็นศูนย์ทางด้านศิลปวัฒนธรรมและสังคมศาสตร์ แต่เนื่องจากคณะสังคมศาสตร์นี้จะจัดตั้งในวิทยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาการจัดการ ประกอบด้วย 3 ภาควิชา คือ ภาควิชาบริหารธุรกิจ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชาการบัญชี และในอดีตภาควิชาสารัตถศึกษา เคยสังกัดอยู่ในคณะวิทยาการจัดการ และต่อมาในปี 2541 ภาควิชาสารัตถศึกษาโอนไปเป็นภาควิชาในสังกัดคณะศิลปศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะที่ได้รับการจัดตั้งใหม่ ปัจจุบันคณะวิทยาการจัดการมีนักศึกษาประมาณ 3,000 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะที่ตั้งในวิทยาเขตหาดใหญ่ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับอุดมศึกษา เป็นที่รู้จักแห่งหนึ่งในภาคใต้ ทั้งในด้านการเรียนการสอน งานวิจัยและบริการวิชาการ จัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ในวิทยาเขตปัตตานี โดยโอนภาควิชาวิทยาศาสตร์ และภาควิชาคหกรรมศาสตร์ จากคณะศึกษาศาสตร์ มาสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาควิชาที่โอนมาสังกัดคณะใหม่ ได้เปลี่ยนชื่อภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยเปิดสอนนักศึกษารุ่นแรกของคณะ ในปีการศึกษา 2528 สาขาเทคโนโลยีการยาง จำนวน 11 คน นอกจากนี้คณะฯ ยังรับผิดชอบในการสอนนักศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ คือ ศษ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี (Faculty of Science and Industrial Technology, Prince of Songkla University, Surat Thani Campus) เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศของสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2545 โดยมีภารกิจหลักในการบริหารวิชาการในด้านเทคโนโลยีและการจัดการในเชิงบูรณาการของทรัพยากรชีวภาพ เพื่อสนองตอบต่อความต้องการทางอุตสาหกรรมและสังคม โดยบริหารภายใต้แนวทางของการพัฒนาที่ยั่งยืนครบวงจร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Fine and Applied Art, Prince of Songkla University).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University) เป็นคณะที่จัดการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร๋ ปัจจุบันดำเนินการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะลำดับที่ 2 ต่อจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง (Faculty of Architecture, Prince Of Songkla University, Trang Campus) ชื่อปริญญา: สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรม) อักษรย่อปริญญา (ภาษาไทย):..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยขยายตัวจากภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร สังกัดคณะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียน และบุคลากรในภาคใต้ โดยได้ดำเนินการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โทและเอกทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร ดำเนินการวิจัยและให้บริการวิชาการ และคำปรึกษาทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรแก่โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร หน่วยงานราชการในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ คณะอุตสาหกรรมเกษตรดำเนินการเรียนการสอนเกี่ยวกับการนำผลิตผลเกษตร ประมง ป่าไม้ มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารสัตว์และเครื่องอุปโภคโดยกระบวนการทางอุตสาหกรรมเกษตรและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม ตลอดจนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้นักศึกษาจะต้องเรียนรู้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประกันคุณภาพ การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Dentistry: Prince of Songkla University) เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์ลำดับที่ 5 ของประเทศไทย ผ่านการรับรองหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิตจากทันตแพทยสภาแล้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะลำดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัย โดยมีประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2548 ตามมติว่าด้วยหลักการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โดยเป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 18 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 20 สถาบัน และเป็นลำดับที่ 2 ในภาคใต้และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์จึงริเริ่มจัดตั้งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อเป็นโรงพยาบาลหลักในการทำการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป้าหมายของคณะแพทยศาสตร์ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ เป็นสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มุ่งมั่นจะอุทิศตนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยปฏิบัติงานดูแลสุขภาพของชุมชนได้อย่างมีความสุข เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้ทางการแพทย์สากลให้ผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมอิสลามท้องถิ่น (Islamic Oriental Medical School) ได้เป็นอย่างดีคู่มือนักศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkla University) เป็นสถาบันการศึกษาขั้นสูงในสาขาเภสัชศาสตร์ ที่ดำเนินการเปิดสอนในระดับปริญญาตรีขึ้นไป เป็นแห่งแรกในภาคใต้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตรีศูล

ตรีศูล หรือย่อว่า ตรี (Trishula; त्रिशूल, trishūla) เป็นประเภทของสามง่ามในวัฒนธรรมอินเดีย แต่ก็พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน ตรีศูลมักใช้เป็นสัญลักษณ์ในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา คำนี้มีความหมายว่า "หอกสามเล่ม" ในภาษาสันสกฤตและภาษาบาลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และตรีศูล · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ชิตพงศ์

ร.ประเสริฐ ชิตพงศ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา 2 สมัย และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และประเสริฐ ชิตพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

นาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปีพุทธศักราช 2536 กวีรางวัลซีไรต์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ13 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ม.สงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยภาคใต้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เขตการศึกษาสุราษฎร์ธานี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »