โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาเอิร์สยา

ดัชนี ภาษาเอิร์สยา

ภาษาเอิร์สยา มีผู้พูด 360,000 คนทางเหนือและทางตะวนออกของสาธารณรัฐมอร์โดเวียในประเทศรัสเซียและบริเวณใกล้เคียง เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อยู่ในตระกูลฟินโน-ยูริก เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา เอิร์สยา.

15 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกกลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิกกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกกลุ่มภาษามอร์ดวินิกสาธารณรัฐตาตาร์สถานอักษรซีริลลิกประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศอาร์มีเนียประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอุซเบกิสถานประเทศคาซัคสถานประเทศคีร์กีซสถานประเทศเอสโตเนียประเทศเติร์กเมนิสถาน

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก

กลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก (Finno-Ugric languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาเอสโทเนีย ภาษาฟินน์ ภาษาฮังการีและภาษาที่เกี่ยวข้อง แบ่งเป็นกลุ่มย่อยคือกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกและกลุ่มภาษายูกริก.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิก

กลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิก (Finno-Volgaic) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษายูราลิกซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วย กลุ่มภาษาบัลติก-ฟินนิก กลุ่มภาษามอร์ดวินิก ภาษามารี กลุ่มภาษาซามี คาดว่าแตกแขนงออกมาจากกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกเมื่อราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช แต่เดิมจัดให้กลุ่มภาษามอร์ดวินิกและภาษามารีรวมกันเป็นกลุ่มภาษาโวลกา-ฟินนิก ส่วนกลุ่มภาษาบัลติก-ฟินนิกรวมกับกลุ่มภาษาซามีเป็นกลุ่มภาษาฟินโน-แลปปิก ในปัจจุบันนักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ปฏิเสธการจัดกลุ่มภาษาโวลกา-ฟินนิก แต่สำหรับการจัดกลุ่มเป็นกลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิก กลุ่มภาษาฟินโน-แลปปิก และกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและกลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิก

กลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิก (Finno-Permic languages) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษายูราลิก ที่ประกอบด้วยกลุ่มภาษาบัลติก-ฟินนิก กลุ่มภาษามอร์ดวินิก ภาษามารี กลุ่มภาษาซามี กลุ่มภาษาเปอร์มิก และภาษาที่ตายแล้วอีกจำนวนหนึ่ง คาดว่าภาษานี้แยกออกจากกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริก เมื่อราว 2,457 – 1,957 ปีก่อนพุทธศักราช จากนั้นจึงแยกออกเป็นกลุ่มภาษาเปอร์มิกและกลุ่มภาษาฟินโน-โวลกาอิกในราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ในปัจจุบันรายละเอียดของการจัดจำแนกภาษากลุ่มนี้ยังเป็นปัญหาอยู่ คำว่ากลุ่มภาษาฟินนิกมักจะใช้เรียกกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิกนี้ ด้วยความเชื่อที่ว่ากลุ่มภาษาเปอร์มิกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาบัลติก-ฟินนิกมากกว่ากลุ่มภาษายูกริก ในขณะที่นักภาษาศาสตร์ชาวฟินแลนด์จะใช้คำว่ากลุ่มภาษาฟินนิกเมื่อกล่าวถึงกลุ่มภาษาบัลติก-ฟินนิก.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและกลุ่มภาษาฟินโน-เปอร์มิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามอร์ดวินิก

กลุ่มภาษามอร์ดวินิก (Mordvinic languages) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกันคือภาษาเอิร์สยาและภาษามอคชา ทั้งสองภาษานี้เคยถูกจัดเป็นภาษาเดียวกันในชื่อภาษามอร์ดวิน", แต่ปัจจุบันยกระดับขึ้นเป็นกลุ่มของภาษา เพราะทั้งสองภาษานั้นมีความแตกต่างทางด้านสัทวิทยา รากศัพท์และไวยากรณ์ ผู้พูดภาษามอคชาและภาษาเอิร์สยาไม่สามารถเข้าใจกันได้ทั้งหมด และนิยมใช้ภาษารัสเซียในการสื่อสารระหว่างกลุ่ม ทั้งสองภาษานี้ต่างมีระบบการเขียนเป็นของตนเอง โดยระบบการเขียนของภาษาเอิร์สยาเริ่มเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและกลุ่มภาษามอร์ดวินิก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐตาตาร์สถาน

รณรัฐตาตาร์สถาน (Респу́блика Татарста́н; Tatarstan Respublikası) เป็นสาธารณรัฐของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ในเขตสหพันธ์วอลก.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและสาธารณรัฐตาตาร์สถาน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนีย

อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาเอิร์สยาและประเทศเติร์กเมนิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »