โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาซอกเดีย

ดัชนี ภาษาซอกเดีย

ษาซอกเดีย เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตอนกลางใช้พูดในบริเวณซอกเดียนา (หุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำซาราฟฮาน) ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน เป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณคดี ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซียกลางและภาษาพาร์เทียน เป็นภาษาทางการค้าในเอเชียกลางและเป็นภาษากลางระหว่างพ่อค้าชาวจีนและชาวอิหร่าน ไม่พบหลักฐานของภาษาที่เก่ากว่าภาษานี้ ไวยากรณ์ของภาษาซอกเดียมีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาเปอร์เซียกลาง ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการค้าทำให้ภาษานี้ยังคงมีการใช้อยู่ในช่วง 100 ปีแรกหลังการแพร่เข้าสู่บริเวณนี้ของศาสนาอิสลามเมื่อ..

14 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านภาษาพาร์เทียนภาษายักโนบีภาษาเปอร์เซียภาษาเปอร์เซียกลางศาสนาอิสลามอักษรมองโกเลียอักษรอุยกูร์อักษรซอกเดียอักษรแอราเมอิกประเทศอุซเบกิสถานประเทศทาจิกิสถานเอเชียกลาง

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพาร์เทียน

ภาษาพาร์เทียน เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือโบราณที่ตายแล้ว จุดกำเนิดของภาษาอยู่ที่พาร์เทีย (ในอิหร่าน) และเป็นภาษาราชการ ในจักรวรรดิ่พาร์เทีย ยุคราชวงศ์อาร์ซาคิด (พ.ศ. 295 –767) โดยทั่วไป มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาอิหร่านตะวันออก ซึ่งอาจเป็นเพราะชนเผ่าพาร์เทีย อพยพจากเอเชียกลางเข้าสู่พาร์เทีย ภาษาดั้งเดิมของชนเผ่านี้ใกล้เคียงกับภาษาไซเทีย ภาษาซอกเดียและภาษาแบคเทรีย พาร์เทียน.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและภาษาพาร์เทียน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายักโนบี

ษายักโนบี (ชื่ออื่นๆคือ Yaghnabi, Yagnobi หรือ Yagnabi. - yaγnobī́ zivók (ในภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกเป็น яғнобӣ зивок), ภาษารัสเซีย ягнобский язык /jagnobskij jazyk/, ภาษาทาจิก забони яғнобӣ /zabon-i yaġnobî/, ภาษาเปอร์เซีย زبان یغنابى /zæbān-e yæġnābī/, ภาษาออสเซติก ягнобаг æвзаг /jagnobag ævzag/, ภาษาเยอรมัน Jaghnobisch, Czech jaghnóbština, ภาษาสโลวัก jagnóbčina, ภาษายูเครน ягнобська мова /jahnobs’ka mova/, ภาษาโปแลนด์ jagnobski język) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดโดยชาวยักโนบีในหุบเขาทางเหนือของแม่น้ำยักนอบในเขตซาราฟซาน ประเทศทาจิกิสถาน จัดว่าเป็นลุกหลานของภาษาซอกเดี.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและภาษายักโนบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซียกลาง

ษาเปอร์เซียกลางหรือภาษาปะห์ลาวี เป็นภาษากลุ่มอิหร่าน ใช้พูดในยุคซัสซาเนียน พัฒนามาจากภาษาเปอร์เซียโบราณ เขียนด้วยอักษรปะห์ลาวี.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและภาษาเปอร์เซียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและอักษรมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอุยกูร์

อักษรอุยกูร์ (Uyghur /Уйғур /ئۇيغۇر) เริ่มแรกภาษาอุยกูร์เขียนด้วยอักษรออร์กอนซึ่งเป็นอักษรรูนส์อักษรอุยกูร์นี้พัฒนามาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง ใช้ในระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและอักษรอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซอกเดีย

อักษรซอกเดีย (Sogdian)พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก เริ่มใช้ครั้งแรกราว..

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและอักษรซอกเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและอักษรแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศทาจิกิสถาน

ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและประเทศทาจิกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษาซอกเดียและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาษาซอกเดียน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »