โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดัชนี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

174 ความสัมพันธ์: ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์บัณฑิต เอื้ออาภรณ์บุญคลี ปลั่งศิริบ้านปูพ.ศ. 2425พ.ศ. 2442พ.ศ. 2445พ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2456พ.ศ. 2458พ.ศ. 2459พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2476พ.ศ. 2478พ.ศ. 2481พ.ศ. 2483พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคประชาราชพรรคประชาธิปัตย์พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพฤกษา เรียลเอสเตทพีทีที โกลบอล เคมิคอลพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาลกรมชลประทาน (ประเทศไทย)กรมบัญชีกลางกรมศุลกากรกรมธนารักษ์กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกวี ตันจรารักษ์กองทัพบกการบริหารรัฐกิจการรถไฟแห่งประเทศไทยการจัดการวิศวกรรมการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค...การไฟฟ้านครหลวงกำธน สินธวานนท์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครยุกต์ ส่งไพศาลยุทธ์ ชัยประวิตรรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทยรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยรางวัลศรีบูรพาฤทธิ์ ธีระโกเมนวชิราวุธวิทยาลัยวัชระ พรรณเชษฐ์วิชิต สุรพงษ์ชัยวิบูลย์ คูหิรัญวิศวกรรมชลศาสตร์วิศวกรรมชีวเวชวิศวกรรมการบินและอวกาศวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสารวิศวกรรมสำรวจวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์วิศวกรรมอุตสาหการวิศวกรรมทรัพยากรธรณีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์วิศวกรรมซอฟต์แวร์วิศวกรรมปิโตรเลียมวิศวกรรมนาโนวิศวกรรมโยธาวิศวกรรมโลหการวิศวกรรมไฟฟ้าวิศวกรรมเคมีวิศวกรรมเครื่องกลวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณวิทยาการคอมพิวเตอร์วิเศษ จูภิบาลวีระ สุสังกรกาญจน์ศาลาสหทัยสมาคมสภาวิศวกรสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทยสะพานผ่านพิภพลีลาสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สิทธิ เศวตศิลาสิทธิชัย โภไคยอุดมสุธาวัลย์ เสถียรไทยสีแดงหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์อรุณ สรเทศน์อัมรินทร์ สิมะโรจน์อาชว์ เตาลานนท์อารักษ์ ชลธาร์นนท์อาคารสวนกุหลาบอินทาเนียอดิศัย โพธารามิกอนันต์ อัศวโภคินผู้แทนการค้าไทยจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธัชชัย สุมิตรธีรพล นพรัมภาธีรยุทธ บุญมีธนาคารกรุงเทพธนาคารกสิกรไทยธนาคารแห่งประเทศไทยธนาคารไทยพาณิชย์ถนนพญาไททหารเรือทองภูมิ สิริพิพัฒน์ท่าอากาศยานไทยณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ประยุทธ์ จันทร์โอชาประสาร ไตรรัตน์วรกุลประเสริฐ บุญสัมพันธ์ประเสริฐ ภัทรมัยปูนซิเมนต์ไทยปตท.ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่นปตท. เคมิคอลปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียมนิเวศน์ เหมวชิรวรากรแพทยศาสตร์แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์โรงพยาบาลศิริราชโรงเรียนหอวังโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโฮมโปรไพรินทร์ ชูโชติถาวรไออาร์พีซีไทยคม (บริษัท)เชาวน์ ณศีลวันต์เกษม จาติกวณิชเกษตรศาสตร์เหตุการณ์ 14 ตุลาเอกพงศ์ จงเกษกรณ์เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เขตปทุมวันเนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป1 มิถุนายน13 กรกฎาคม26 มีนาคม3 มกราคม ขยายดัชนี (124 มากกว่า) »

ชัชชาติ สิทธิพันธุ์

รองศาสตราจารย์ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ (ชื่อเล่น: ทริป; เกิด: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ควอลิตีเฮาส์ จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตผู้ช่วยอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัชชาติ สิทธิพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์(ภาคเหนือ) และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก หลายสมั.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต เอื้ออาภรณ์

ตราจารย์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคนปัจจุบัน อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนผู้บริหารและอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัณฑิตเป็นอธิการบดีคนที่ 2 ในวาระการดำรงตำแหน่งนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิต เอื้ออาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญคลี ปลั่งศิริ

ญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บูญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารระดับสูง ที่ถูกยกย่องให้เป็นผู้บริหารที่อยู่แถวหน้าของไทย การวิเคราะห์แต่ละอย่างได้ลงในหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยครั้ง เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ให้กลายมาเป็น Conglomerate รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในช่วงการดูแลกิจการของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายงานออกไปสายธุรกิจอื่น เช่น สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, แอร์เอเชีย, Capital OK, Shinee.com และอื่น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญคลี ปลั่งศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านปู

ริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) (BANPU PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BANPU) เป็นผู้บุกเบิกด้านพลังงานชั้นแนวหน้าของเอเชีย ดำเนินธุรกิจถ่านหิน ธุรกิจไฟฟ้า และพลังงานที่เกี่ยวเนื่องอย่างครบวงจร ทั้งในและต่างประเทศมากว่า 30 ปี ในด้านการลงทุน สำรวจ พัฒนา และดำเนินการผลิตถ่านหินประเภทให้ความร้อน (Thermal Coal) ตลอดจนถ่านหินคุณภาพสูงสำหรับอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก (Coking Coal) มีความเชี่ยวชาญทางด้านเหมืองถ่านหินแบบเปิดและเหมืองใต้ดิน อีกทั้งบริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจพลังงานในการสร้างการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างยั่งยืน ซึ่งรวมถึงการพัฒนา Smart Energy Solution เพื่อเสริมความมั่นคงทางด้านพลังงานในอนาคต ปัจจุบันบริษัทฯ มีฐานธุรกิจใน 9 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย ลาว มองโกเลีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบ้านปู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2425 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2442 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2459 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมัชฌิมาธิปไตย

รรคมัชฌิมาธิปไตย (Neutral Democratic Party; ชื่อเดิม: พรรคมัชฌิมา) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยกลุ่มมัชฌิมา ซึ่งนำโดยนางอนงค์วรรณ เทพสุทิน (ภรรยานายสมศักดิ์ เทพสุทิน) และกลุ่มนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช มีนโยบายรวม 42 ข้อ โดยนโยบายหลัก ๆ ได้แก่ ขุดบ่อน้ำทั้งประเทศ 9 ล้านบ่อ, ลดค่าโดยสารรถไฟฟ้าตลอดสาย เหลือเพียง 15 บาทเป็นระยะเวลา 10 ปี, ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรในราคาที่สูง, เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี เพื่อสำหรับการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 ในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้มีมติให้นายประชัยพ้นจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค เนื่องจากวินิจฉัยว่า การยื่นใบลาออกของนายประชัยตั้งแต่วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ที่ประชุมของพรรคได้มีมติให้ นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน เป็นหัวหน้าคนใหม่สืบไป รวมทั้งได้เปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารพรรค โดยมีทั้งหมด 14 คน แต่ยังคงนโยบายเดิม รวมทั้งเปลี่ยนที่ทำการพรรคใหม่จาก ชั้น 10 อาคารทีพีไอทาวเวอร์ ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นเลขที่ 131 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร อันเป็นที่ตั้งเดิมของกลุ่มมัชฌิม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคมัชฌิมาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาราช

รรคประชาราช (Royal People Party, ย่อว่า: ปชร.) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยนายเสนาะ เทียนทอง เพื่อที่จะดำเนินงานทางการเมืองหลังลาออกมาจากพรรคไทยรักไทย ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการเลือกตั้งให้ตั้งเป็นพรรคเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคประชาราช · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษา เรียลเอสเตท

ริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) (PRUKSA REAL ESTATE PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:PS) เป็นบริษัทผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นโดย ทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพฤกษา เรียลเอสเตท · ดูเพิ่มเติม »

พีทีที โกลบอล เคมิคอล

ริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTT Global Chemical Public Company Limited ชื่อย่อ:GC) เป็นบริษัทด้านปิโตรเคมี และเคมีภัณฑ์ เกิดจากการควบบริษัท ระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) โดยได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 เพื่อก้าวขึ้นเป็นแกนนำของธุรกิจเคมีภัณฑ์ (Chemical Flagship) ของกลุ่ม ปตท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพีทีที โกลบอล เคมิคอล · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล

งษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล (เกิด: 16 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

กรมชลประทาน (ประเทศไทย)

กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมชลประทาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรมบัญชีกลาง

กรมบัญชีกลาง (The Comptroller General's Department) เป็นกรมในสังกัดกระทรวงการคลัง รัฐบาลไทย มีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมดูแลการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน และของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นไปโดยถูกต้อง มีวินัย คุ้มค่า โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยการวางกรอบหลักเกณฑ์กลางให้หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบัติ การให้บริการคำแนะนำปรึกษาด้านการเงินการคลัง การบัญชี การตรวจสอบภายใน การบริหารเงินนอกงบประมาณ และการพัสดุภาครัฐ การดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารเงินคงคลังให้มีใช้จ่ายอย่างเพียงพอ และการเสนอข้อมูลในเชิงนโยบายการคลังแก่ฝ่ายบริหาร โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดเสถียรภาพทางการคลัง รวมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการคลังภาครัฐ การกำกับดูแลนโยบายและมาตรฐานค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ของบุคลากรภาครัฐ กรมบัญชีกลาง มีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ ดังนี้ 1) ควบคุมการเบิกจ่ายเงินแผ่นดิน 2) ควบคุมการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการ 3) ควบคุมงบบุคลากรภาครัฐ และ 4) สนับสนุนนโยบายของกระทรวงการคลังและรัฐบาล.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมบัญชีกลาง · ดูเพิ่มเติม »

กรมศุลกากร

"หอรัษฎากรพิพัฒน์" ในพระบรมมหาราชวัง ปัจจุบัันปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรมศุลกากร (The Customs Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีชื่อว่า "หอรัษฎากรพิพัฒน์" มีหน้าที่เก็บภาษีอากรขาเข้าและขาออกเป็นรายได้ของรั.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมศุลกากร · ดูเพิ่มเติม »

กรมธนารักษ์

กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมธนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและกำกับดูแลให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานแก่ประเท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Ministry of Digital Economy and Society) เป็นกระทรวงในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กวี ตันจรารักษ์

กวี ตันจรารักษ์ มีชื่อเล่นว่า บีม เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย อดีตสมาชิกนักร้องกลุ่มวงดีทูบี ปัจจุบัน เป็นศิลปินอิสร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกวี ตันจรารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบก

กองทัพบก คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

การบริหารรัฐกิจ

การบริหารรัฐกิจ รัฐประศาสนศาตร์ หรือ การบริหารราชการแผ่นดิน (public administration) คือ การดำเนินการทั้งปวงของฝ่ายบริหาร ยกเว้นอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นโยบายของรัฐที่วางไว้บรรลุผล อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการและการเป็นสาขาวิชาหนึ่งในการบริหารและการจัดการภาครัฐ ที่จะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นกำไรสูงสุด (profit maximize) แต่เป็นการเน้นการให้บริการที่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือ ประชาชนที่มาใช้บริการ และต้องเป็นการให้บริการต่อทุกคนอย่างเป็นธรรม รัฐประศาสนศาสตร์ (public administration science) คือ การเรียนการสอนวิชาในด้านการบริหารรัฐกิจ การบริหารและการจัดการภาครัฐ ในประเทศไทยมีหลายสถาบันอุดมศึกษาเปิดสอน ทั้งนี้การสังกัดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่ในหลากหลายลักษณะ อาทิ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะโดยตรง เช่น สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะรัฐศาสตร์ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สังกัดภายใต้ภาควิชา เช่น ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาการจัดการ รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนี้แล้วยังมีการสังกัดในลักษณะของภาควิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือวิทยาลัยเฉพาะ เช่น มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่เปิดสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ สังกัดภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ หรือ U-MDC มีหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งในสาขาการบริหารงานตำรวจและกระบวนการยุติธรรม สาขาการจัดการ ฯลฯ ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาดังกล่าวมีการจัดหลักสูตรเพื่อเปิดสอนตั้งแต่ระดับบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ทั้งในลักษณะภาคปกติ ภาคสมทบ ภาคพิเศษ หรือโครงการความร่วมมือกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ฯลฯ นอกจากมหาวิทยาลัยทั่วไปแล้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏต่าง ๆ อาทิ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้เปิดสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์เช่นกัน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการบริหารรัฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การจัดการวิศวกรรม

การจัดการวิศวกรรม เป็นสาขาวิชาที่เชื่อมช่องว่างระหว่างวิศวกรรมศาสตร์และการจัดการ การจัดการวิศวกรรมคือการศึกษาการจัดการทั้งหมดขององค์กร โดยเน้นที่กระบวนการผลิต วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี หรือผลิตผล ซึ่งต้องใช้ความรู้ต่างๆดังนี้.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการจัดการวิศวกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (Industrial Estate Authority of Thailand ชื่อย่อ IEAT; กนอ.) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๙ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่พัฒนาและจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม จัดพื้นที่สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้ารวมกันอย่างมีระบบและมีระเบียบ และเป็นกลไกของภาครัฐในการกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมออกไปสู่ภูมิภาค ในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2522 ได้มีประกาศใช้ พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟ. (Provincial Electricity Authority ตัวย่อ PEA) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ 200 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีรายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้า 465,044.54 ล้านบาท (พ.ศ. 2557) และเป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้นำส่งเป็นรายได้ของรัฐสูงเป็นลำดับที่ 4 ของรัฐวิสาหกิจไทย มูลค่ากว่า 13,534.00 ล้านบาท (พ.ศ. 2557).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

การไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้านครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ โดยแบ่งออกเป็น 18 เขต และ 14 สาขาย่อย ในอดีตเคยให้บริการจำหน่ายไฟฟ้าครอบคลุมถึงจังหวัดปทุมธานี ทว่าต่อมาโอนกิจการดังกล่าวให้กับการไฟฟ้าส่วนภูม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้านครหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กำธน สินธวานนท์

ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกำธน สินธวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (Mahanakorn University of Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ยุกต์ ส่งไพศาล

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยุกต์ ส่งไพศาล · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธ์ ชัยประวิตร

ร.ยุทธ์ ชัยประวิตร (ชื่อเดิม: อายุทธ์ จิรชัยประวิตร) เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 จบการศึกษาระดับประถมกับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีเกียรตินิยมจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ดร.ยุทธ์ เป็นอาจารย์พิเศษในระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีประสบการณ์ทำงานเป็น ประธานอนุกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นผู้ช่วยเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีผลงานทางด้านการตรวจสอบ วิจัยและเสนอแนะเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมหลายเรื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 ดร.ยุทธ์ ในขณะนั้นซึ่งยังใช้ชื่อว่า อายุทธ์ ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตย และลงเลือกตั้งในเขต 2 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตสาทร บางคอแหลม ยานนาวา คลองเตย และวัฒนา คู่กับนายพิเชียร อำนาจวรประเสริฐ และนางสาวสุภาภรณ์ แสงทอง อดีตนักแสดง แต่ไม่ได้รับเลือก โดยในช่วงการหาเสียงเลือกตั้ง นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ หัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย ได้กล่าวถึง ดร.ยุทธ์ว่า มีความเก่งกาจ ความรู้สูง เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่ อีกทั้งยังหน้าตาดี จนสามารถนำไปเปรียบกับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ได้ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยุทธ์ ชัยประวิตร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่ว.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย ที่เปิดทำการสอนในสถาบันการศึกษา แบ่งได้ 2 ช่วง ดังนี้ ช่วงแรก ก่อน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ (ยกเว้นวิชาด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดูเพิ่มเติมที่: รายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) นักประชาธิปไตย นักเขียน นักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทยและของโลก มีงานเขียนหลากหลายทั้งในรูปแบบนวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ กวี นิพนธ์และเรื่องแปล ที่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO) ยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก พิธีมอบรางวัลศรีบูรพา จะมีขึ้นในวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปี ในงานวันนักเขียนซึ่งจัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลศรีบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

ฤทธิ์ ธีระโกเมน

ทธิ์ ธีระโกเมน เป็นนักธุรกิจ เจ้าของกิจการ และวิศวกรชาวไทย ฤทธิ์เป็นประธานกรรมการบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจร้านสุกี้เอ็มเคและร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ เป็นอันดับมหาเศรษฐีไทยที่ได้รับการจัดอันดับว่าร่ำรวยอยู่ใน 50 อันดับแรกของประเทศไทย ฤทธิ์ ธีระโกเมน ฤทธิ์สำเร็จการศึกษาาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เมื่อปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฤทธิ์ ธีระโกเมน · ดูเพิ่มเติม »

วชิราวุธวิทยาลัย

วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวชิราวุธวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ พรรณเชษฐ์ ​อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน และเป็นทายาทกลุ่มสิทธิผล ผู้จำหน่ายรถยนต์รายใหญ่ของไท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชระ พรรณเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต สุรพงษ์ชัย

วิชิต สุรพงษ์ชัย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารรัตนสิน ธนาคารกรุงเทพ ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารธนาคารไทยพาณ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิชิต สุรพงษ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์ คูหิรัญ

นายวิบูลย์ คูหิรัญ ที่ปรึกษามูลนิธิโครงการหลวง ประธานกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลโพธาราม เป็นอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิบูลย์ คูหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมชลศาสตร์

วิศวกรรมชลศาสตร์ (hydraulic engineering) เป็นวิชาย่อยของวิศวกรรมโยธาที่ศึกษาการไหลและการเคลื่อนที่ของน้ำเป็นหลัก โดยอาศัยความรู้ด้านกลศาสตร์และแรงโน้มถ่วงในการคำนวณเพื่อหาการเคลื่อนที่และพฤติกรรมต่าง ๆ ของน้ำ ซึ่งสามารถนำไปเป็นเนื้อหาในการออกแบบสะพาน เขื่อน ทางน้ำเปิด หรือวิศวกรรมด้านสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมชลศาสตร์เป็นวิชาที่สามารถนำหลักการกลศาสตร์ของไหลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูล การควบคุม การขนส่ง การควบคุม การวัด หรืออื่น ๆ ซึ่งนับว่ามีประโยชน์อย่างมากในโลกปัจจุบันที่มีการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างสิ้นเปลือง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมชลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมชีวเวช

วิศวกรรมชีวการแพทย์ หรือ วิศวกรรมชีวเวช (Biomedical Engineering) หรือ วิศวกรรมการแพทย์ (Medical Engineering) เป็นสาขาวิชที่นำเอาความรู้ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายของงานด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ ได้แก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมชีวเวช · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมการบินและอวกาศ

วิศวกรรมการบินและอวกาศ (Aerospace engineering) เป็นสาขาวิศวกรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการวิจัย, การออกแบบ, การพัฒนา, การสร้าง, การทดสอบ, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ อากาศยาน และ อวกาศยาน แบ่งออกเป็นสองสาขาใหญ่ที่ทับซ้อนกัน ได้แก่ วิศวกรรมอากาศยาน (aeronautical engineering) และวิศวกรรมอวกาศ (astronautical engineering).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมการบินและอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร

วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Engineering (ICE)) เป็นสหวิทยาการทางวิศวกรรมเชิงประยุกต์โดยเป็นสาขาทางวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ทางวิศวกรรมว่าด้วยการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในการผลิตระบบสารสนเทศและระบบการสื่อสาร สำหรับอุตสาหกรรมหรือองค์กรวิสาหกิจที่มีสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและสารสนเทศขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์สำหรับองค์กรวิสาหกิจขนาดใหญ่ ธุรกิจสารสนเทศเพื่อการสื่อสารระดับประเทศ ระบบข้อมูลสารสนเทศดาวเทียม อุตสาหกรรมเกมและศึกษาบันเทิง ระบบเครือข่ายองค์กรวิสาหกิจ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ของวิสาหกิจขนาดใหญ่ เป็นต้น วิศวกรสารสนเทศและการสื่อสารจะมีความรู้ทางด้านวิศวกรรมทั่วไป โดยเน้นความรู้พื้นฐานในการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ การสื่อสารสารสนเทศ ระบบเครือข่าย ศาสตร์การบริหารจัดการ การประมวลและการจัดการวิสาหกิจ ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกล่าวได้ว่าเป็นการผนวกรวมองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และวิศวกรรมโทรคมนาคม เข้าด้วยกัน ปัจจุบัน วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร ได้ดำเนินการเปิดการเรียนการสอนในประเทศไทยเป็นแห่งแรก ณ ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (ICE)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสำรวจ

วิศวกรรมสำรวจ Survey Engineering เป็นศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจ บันทึก ประมวลผล วิเคราะห์ เผยแพร่ และ การใช้งานสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่ง ไม่ว่าจะเป็นเชิงภูมิศาสตร์ (ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก) อวกาศ และใต้ดิน วิศวกรรมสำรวจประกอบด้วยสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันเพื่อให้เข้าใจลักษณะแบบจำลองของปรากฏการณ์ทางกายภาพต่าง ๆ และสามารถถ่ายทอดสิ่งเหล่านั้นลงมาเป็นข้อมูลรูปแผนที่ที่มีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือทางตำแหน่งและข้อมูลอธิบายปรากฏการณ์นั้น ๆ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจประกอบด้ว.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering) เป็นการบูรณาการของหลักการทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ, เพื่อให้มีน้ำ, อากาศ, และที่ดินที่มีสุขภาพดีสำหรับการอยู่อาศัยของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ, และเพื่อทำความสะอาดสถานที่มลพิษ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีชื่อย่อว่า วสท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมอุตสาหการ

วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เป็นวิศวกรรมศาสตร์สาขาที่เกี่ยวกับการออกแบบ พัฒนา วางแผน ควบคุม การวิจัยดำเนินงาน จัดการและประเมินผล ระบบ โดยรวม ซึ่งครอบคลุมปัจจัยทุก ๆ ด้านทั้ง บุคคล สารสนเทศ อุปกรณ์ พลังงาน วัสดุ สถานที่ เวลา รวมไปถึง การเงิน วิศวกรรมอุตสาหการเป็นงานทางด้านการประยุกต์ที่เกี่ยวกับการวิจัยดำเนินงาน ทรัพยากรต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินงานและทรัพยากร เพื่อบรรลุจุดประสงค์การดำเนินงาน ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้หลักการและวิธีการทางด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางวิศวกรรม รวมถึงคณิตศาสตร์ สถิติ ฟิสิกส์ การตลาด การบริหารการจัดการ สารสนเทศ เศรษฐศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา งานของวิศวกรอุตสาหการ จะเกี่ยวกับ การควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ การลดเวลาการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่าย วัสดุ พลังงาน และทรัพยากรอื่น ๆ รวมไปถึงงานแก้ไขและป้องกันปัญหา ของ กระบวนการผลิต หรือ การดำเนินงาน เพื่อให้ผลลัพธ์อยู่ในระดับที่ต้องการ โดยหากลวิธีต่าง ๆ ในการควบคุม พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้คุ้มค่าที่สุด ขณะที่วิศวกรรมสาขาอื่นจะเกี่ยวกับทักษะเฉพาะทาง วิศวกรรมอุตสาหการจะถูกใช้อย่างกว้างขวางทั้งในงานการผลิตและงานอื่นหลาย ๆ ด้าน ทั้งทางอุตสาหกรรมตลอดจนงานบริหารการดำเนินการต่าง ๆ เช่น การจัดการรายได้ เช่น การจองที่นั่งของสายการบิน การจัดการคิวหรือลำดับการบริการของสวนสนุก การวางระเบียบการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการที่มีขั้นตอนซับซ้อน การบริหารห่วงโซ่อุปทาน การจัดการคลังพัสดุ การบริหารการขนส่งและการกระจายสินค้า ดำเนินการและตรวจสอบการควบคุมคุณภาพการผลิต การปรับปรุงประสิทธิภาพหรือวิธีการปฏิบัติงานในโรงงานเพื่อให้ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นและคุณภาพที่สม่ำเสมอของสินค้าโดยการลด ของเสียทั้ง 7 เช่น การรอคอย การผลิตที่เกินความจำเป็น รวมไปถึงการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการใหม่ ๆ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน อัตราการคืนทุน ถึงแม้คำว่า “วิศวกรรมอุตสาหการ” จะถูกใช้เพื่อสื่อถึงงานทางด้านการผลิตในโรงงาน แต่ในปัจจุบันขอบข่ายของงานได้ครอบคลุมไปถึงงานด้านอื่นรวมถึง ธุรกิจการให้บริการ สาขาอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกับวิศวกรรมอุตสาหการได้แก่ การวิจัยดำเนินงาน การบริการการจัดการ วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมคุณภาพ การยศาสตร์ วิศวกรรมการบำรุงรักษา วิทยาการบริหารจัดการ วิศวกรรมความปลอดภัย การจัดการวิศวกรรม วิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หมวดหมู่:การวิจัยดำเนินการ อุตสาหการ หมวดหมู่:การผลิต.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมอุตสาหการ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมทรัพยากรธรณี

วิศวกรรมทรัพยากรธรณี เป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ โดยจะผลิตวิศวกรที่สอดคล้องกับสภาพแว้ดล้อมของอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ในด้านการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณี ที่ใช้เชื่อเพลิงในการผลิตพลังงานให้แก่อุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ ถ่านหิน และเป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ซื่งครอบคลุมถึงทรัพยากรแร่โลหะ แร่อุตสาหกรรม หิน รวมไปถึงทรัพยากรน้ำบาดาล.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมทรัพยากรธรณี · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (computer engineering) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างเครื่องหรือระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสาร และความเกี่ยวเนื่องระหว่างเรื่องทั้งสาม หลักสูตรการเรียนมุ่งเน้นทางด้าน ทฤษฎี กฎ และ การฝึกฝนปฏิบัติของทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์รวมถึงการประยุกต์เข้ากับปัญหาทางด้านการออกแบบคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ศึกษาการออกแบบระบบฮาร์ดแวร์ดิจิทัล ซึ่งรวมถึงระบบการสื่อสาร องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเรียนการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์ดิจิทัล และ การสร้างส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ และ ระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งความรู้ทางด้านวิศวกรรมที่ดีด้วย ปัจจุบันสาขาวิชาที่สำคัญในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือ ระบบฝังตัว การพัฒนาอุปกรณ์ที่มีซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ฝังตัวภายใน เช่น อุปกรณ์สื่อสารอย่าง โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่นวิทยุระบบดิจิทัล เครื่องบันทึกวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล ระบบเตือนภัย เครื่องถ่ายรังสีเอกซ์ และ เครื่องมือผ่าตัดด้วยแสงเลเซอร์เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องการการผนวกรวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ฝังตัวหรือของอื่น ๆ ที่เป็นผลจากการวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมซอฟต์แวร์

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (software engineering) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับวิศวกรรมด้านซอฟต์แวร์ มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมในการดูแลการผลิต ตั้งแต่การเริ่มเก็บความต้องการ การตั้งเป้าหมายของระบบ การออกแบบ กระบวนการพัฒนา การตรวจสอบ การประเมินผล การติดตามโครงการ การประเมินต้นทุน การรักษาความปลอดภัย ไปจนถึงการคิดราคาซอฟต์แวร์เป็นต้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ประยุกต์ความรู้และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สามารถปฏิบัติงานตามเป้าหมาย ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด วิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นศาสตร์ที่ทวีความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากในปัจจุบัน ซอฟต์แวร์มีความซับซ้อนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องมีการวิศวกรรมที่จะควบคุมและดำเนินการผลิต ที่มีประสิทธิภาพ สามารถวัดผลได้ และ สามารถตรวจหาข้อผิดพลาดพร้อมสาเหตุได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ตั้งแต่อยู่ในระหว่างการผลิตได้อีกทั้งยังมีการทบทวนและตรวจสอบ ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมซอฟต์แวร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมปิโตรเลียม

fault line) เส้นรอยแยกนี้อยู่ระหว่างเส้นคอนทัวฟ้า/สีเขียวและเส้นคอนทัวม่วง/แดง/สีเหลือง เส้นคอนทัววงกลมสีแดงอ่อนที่อยู่ตรงกลางของแผนที่แสดงให้เห็นด้านบนของอ่างเก็บน้ำมัน เนื่องจากก๊าซจะลอยอยู่เหนือน้ำมัน, เส้นคอนทัวสีแดงอ่อนแสดงเครื่องหมายที่เป็นรอยต่อระหว่างก๊าซกับน้ำมัน วิศวกรรมปิโตรเลียม (Petroleum engineering) เป็นสาขาของวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฮโดรคาร์บอน, ซึ่งอาจเป็นน้ำมันดิบหรือเป็นก๊าซธรรมชาติ การสำรวจและการผลิตจะถือว่าอยู่ในภาค "ต้นน้ำ" ของอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมนาโน

วิศวกรรมนาโน (Nanoengineering) หรือวิศวกรรมวัสดุนาโน ศึกษาเกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยีในการนำความรู้ไปประยุกต์เพื่อพัฒนาและปรับปรุงคุณสมบัติวัสดุเดิมให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน เช่น โละหะ พลาสติก เซรามิก นาโนเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมระดับอะตอม ศึกษาและสังเคราะห์สสารในระดับนาโน (10-9) โดยพื้นฐานศาสตร์ที่สำคัญมาก คือ เคมี และฟิสิกส์ โดยเฉพาะเคมีเชิงฟิสิกส์ กลศาสตร์ควอนตัม แบ่งย่อยเป็น 3 สาขา -สาขานาโนอิเล็กทรอนิกส์ -สาขานาโนเทคโนโลยีชีวภาพ -สาขาวัสดุนาโน หมวดหมู่:นาโนเทคโนโลยี.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมนาโน · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมโยธา

Falkirk Wheel สิ่งก่อสร้างในสก็อตแลนด์สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำรังวัดในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์ และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า นายช่าง ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.) โดยมีการจัดสอบระบบใหม่เริ่มต้นเมื่อต้นปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมโยธา · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมโลหการ

วิศวกรรมโลหการ (metallurgical engineering) เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางโลหวิทยา (metallurgy หรือ metallurgical science) โดยเชื่อมโยงความหมายพื้นฐานจากใจความของโลหวิทยา ซึ่งหมายถึง การศึกษาความรู้ที่เกิดขึ้นแล้วเกี่ยวข้องกับโลหะ ตั้งแต่กระบวนการศึกษาโลหะในสภาวะสินแร่ กระบวนการคัดแยกโลหะออกจากสินแร่ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพโลหะโดยการทำให้บริสุทธิ์หรือการปรุงแต่งเพื่อความเหมาะสมตามคุณสมบัติที่ต้องการ การนำโลหะมาขึ้นรูปในลักษณะของโลหะรูปพรรณ (metal forming) ทรงยาว ทรงแบบ แท่ง ทรงยาวหน้าตัด เป็นต้น รวมทั้งการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์หรือวัตถุ เช่น การหล่อขึ้นรูป การทุบขึ้นรูป การรีดขึ้นรูป เป็นต้น ตลอดจนการปรับปรุงคุณภาพอื่น ๆ ต่อเนื่องจากการขึ้นรูป ได้แก่ การตัดแต่งรูปทรง (machining) การปรับปรุงด้วยกระบวนการทางความร้อน (heat treatment) การปรับปรุงพื้นผิว (surface treatment) และกระบวนการวิศวกรรมพื้นผิว (surface engineering) โลหการ หรือวิศวกรรมการโลหวิทยา จึงหมายถึง การนำโลหวิทยามาใช้ในกระบวนการทางวิศวกรรม เพื่อให้สามารถดำเนินการ ติดตาม และควบคุมให้เกิดผลได้ในเชิงวิศวกรรม โดยมุ่งเน้นความหมายทางวิศวกรรม ซึ่งก่อให้เกิดการประยุกต์และใช้ประโยชน์ได้ งานวิศวกรรมโลหการจึงเน้นไปในสายงานหรือกระบวนการเพื่อการผลิตชิ้นส่วนโลหะในอุตสาหกรรม ได้แก่ ชิ้นส่วนยานยนต์ ส่วนประกอบในงานก่อสร้าง เหล็ก โครงสร้างอาคาร และเครื่องจักร เป็นต้น ผลิตภัณฑ์จากแร่และโลหะอยู่ล้อมรอบตัวเราในทุกที่และทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน ที่สนามกีฬา ในรถและพาหนะ ตลอดจนที่โรงเรียนและที่ทำงาน โดยจะเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นของ สิ่งก่อสร้าง เครื่องบิน รถไฟ เรือ จักรยาน เฟอร์นิเจอร์ เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ เสื้อผ้าและเครื่องประดับ หรือแม้กระทั่ง อาหาร เครื่องดื่ม และยารักษาโรค เนื่องจากโลหะเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างมากต่อสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์ จึงทำให้อาชีพนี้คงความสำคัญไว้ได้ในปัจจุบัน ความก้าวหน้าทางเศรษฐศาสตร์และทางเทคนิคในยุคก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 จะขึ้นอยู่กับความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีแร่และโลหะเป็นหลัก ทั้งนี้เพื่อพัฒนาให้เกิดวัสดุคุณภาพเยี่ยมและมีราคาถูกในช่วงทศวรรษที่เหลือหลังจากปี 2004 วิศวกรรมโลหการ (Metallurgical engineering) เป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการแปรรูปวัสดุเพื่อที่จะแยกสกัด ทำให้บริสุทธิ์ และนำโลหะกลับมาใช้ใหม่ กระบวนการดังกล่าวครอบคลุมถึงการพัฒนาและการใช้โลหะและโลหะผสมที่มีคุณสมบัติทางกายภาพที่เฉพาะเจาะจง วิศวกรรมโลหการแบ่งย่อยออกเป็นสามสาขาหลัก คือ การแต่งแร่ (Mineral processing) โลหวิทยาแยกสกัด (Extractive metallurgy) และโลหวิทยากายภาพ (Physical metallurgy) การแต่งแร่ เกี่ยวข้องกับการแยกผลิตภัณฑ์ที่มีค่าหรือหัวแร่ ซึ่งในหลายกรณีจะประกอบด้วยโลหะ ออกจากแร่ที่ได้จากการทำเหมืองแร่ (Mining) โลหวิทยาแยกสกัด เป็นการใช้กระบวนการทางเคมีที่อุณหภูมิสูงหรือในรูปสารละลายเพื่อเปลี่ยนสภาพสินแร่และวัตถุดิบอื่น อาทิ เศษโลหะ ให้กลายสภาพจากสารประกอบอนินทรีย์ (Inorganic compounds) เป็นโลหะที่มีประโยชน์และวัสดุพลอยได้อื่นฯ โดยกระบวนการทางเคมีที่อุณหภูมิสูงเรียกว่าโลหวิทยาความร้อนสูง (Pyrometallurgy) และกระบวนการทางเคมีในรูปสารละลายเรียกว่าโลหวิทยาสารละลาย (Hydrometallurgy) โลหวิทยากายภาพ เป็นการนำวิทยาการที่เกี่ยวกับโลหะมาพัฒนาและใช้ประโยชน์ผลิตภัณฑ์โลหะและโลหะผสมในกิจกรรมการผลิตให้ได้สินค้าและเครื่องจักรที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับสังคมบริโภคยุคปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสูง โดยมีสาขาย่อยที่เน้นเฉพาะคุณสมบัติทางกลซึ่งเรียกว่าโลหวิทยาทางกล (Mechanical metallurgy).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมโลหการ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมไฟฟ้า

วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) เป็นสาขาที่ศึกษาทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ ไฟฟ้า, คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่กว้างประกอบไปด้วยหลายสาขาย่อ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเคมี

วิศวกรเคมีออกแบบและควบคุมกระบวนการผลิตทางเคมี วิศวกรรมเคมี (chemical engineering) เป็นการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, ของไหล, การแลกเปลี่ยนความร้อน และเศรษฐศาสตร์ กับกระบวนการเปลี่ยนวัตถุดิบ หรือเคมีภัณฑ์ ให้อยู่ในรูปที่มีประโยชน์ วิศวกรรมเคมีเป็นวิชาที่ว่าด้วยการออกแบบและควบคุมการทำงานของกระบวนการทางเคมีในระดับมหภาพ วิศวกรเคมีที่ทำงานในด้านการควบคุมกระบวนการมักจะถูกเรียกว่าวิศวกรกระบวนการ (Process Engineer).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมเคมี · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมเครื่องกล · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ

นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 5 และเป็นอดีตรักษาราชการแทนปลัดกระทรวงการคลังและอดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาการคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเศษ จูภิบาล

นายวิเศษ จูภิบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้ว่าการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิเศษ จูภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

วีระ สุสังกรกาญจน์

นายวีระ สุสังกรกาญจน์ เป็นอดีตข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ตำแหน่งที่ปรึกษาสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (ครม.47, 49) และเป็นอดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตประธานกรรมการ บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) อดีตประธานกรรมการบริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวีระ สุสังกรกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาสหทัยสมาคม

ระโกศพระศพสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ประดิษฐานพระศพ ณ ศาลาสหทัยสมาคมในพระบรมมหาราชวัง ศาลาสหทัยสมาคม เป็นสถานที่พระราชอาคันตุกะซึ่งเสด็จฯ หรือเดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ จัดงานเลี้ยงถวายเป็นการตอบแทน และโปรดเกล้าฯ ให้ผู้ได้รับพระมหากรุณาเป็นนาคหลวงทำพิธีปลงผม ก่อนเข้าพระราชพิธีอุปสมบท ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นสถาปัตยกรรมแบบอาร์กโค้งของฝรั่ง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาลาสหทัยสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

สภาวิศวกร

วิศวกร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาวิศวกร · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

มาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย หรือ The Consulting Engineers Association of Thailand มีชื่อย่อว่า ว.ป.ท. หรือ C.E.A.T. ได้จดทะเบียนเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2521 เพื่อเป็นศูนย์กลาง และตัวแทนของวิศวกรที่ปรึกษาในประเทศไทย ในอันที่จะประสานความร่วมมือกันในวิชาชีพระหว่างสมาชิก เสริมสร้างและพัฒนาวิชาชีพวิศวกรที่ปรึกษาของไทยให้ทัดเทียมอารยประเทศ ในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สะพานผ่านพิภพลีลา

นผ่านพิภพลีลา เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมระหว่างถนนราชดำเนินในและถนนราชดำเนินกลาง บริเวณใกล้สนามหลวง ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานผ่านพิภพลีลาในอดีต สะพานผ่านพิภพลีลาเดิมเป็นสะพานโค้งมีโครงเหล็ก ใน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสะพานผ่านพิภพลีลา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ. (Office of the National Economics and Social Development Board) หรือชื่อเดิมว่า สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ หรือ สภาพัฒน์ เป็นหน่วยงานราชการ ภายในส่วนสังกัดของสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. เป็นองค์กรของรัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาตลาดทุนไทยให้เป็นแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพของทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิชัย โภไคยอุดม

ตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งโดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดมก่อนหน้าที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีฯ ได้รับตำแหน่งอธิการบดีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิชัย โภไคยอุดม · ดูเพิ่มเติม »

สุธาวัลย์ เสถียรไทย

ท่านผู้หญิง สุธาวัลย์ เสถียรไทย (สกุลเดิม: ลดาวัลย์ ณ อยุธยา; 24 กันยายน พ.ศ. 2501 -) เป็นธิดาของหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ อดีตองคมนตรี และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ เป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นภรรยาของศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุธาวัลย์ เสถียรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐรองประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการธนาคารไทยพาณิชย์กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยพะเยาประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา4 ตรี พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3)..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณ สรเทศน์

ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรุณ สรเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ สิมะโรจน์

อัมรินทร์ สิมะโรจน์ นักแสดง, นักธุรกิจและนักการเมืองในระดับท้องถิ่นชาวไทย มีชื่อเล่นว่า "หลุยส์" เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัมรินทร์ สิมะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อาชว์ เตาลานนท์

ร.อาชว์ เตาลานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นักธุรกิจชาวไทย รองประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ และ ทรูคอร์ปอเรชั่น อดีตประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นนักนิยมธรรมชาติ และนักดูนก ระดับแถวหน้าของเมืองไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต และปริญญาเอกจากสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ นอกจากนั้นยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และนายกสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรรมการสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อดีตอุปนายกคนที่ 2 สภาวิศวกร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาชว์ เตาลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อารักษ์ ชลธาร์นนท์

นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ครม.ยิ่งลักษณ์ 2) และอดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอารักษ์ ชลธาร์นนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคารสวนกุหลาบ

....

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาคารสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

อินทาเนีย

อินทาเนีย (Intania) เป็นชื่อเรียกของนิสิต นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้ ในสถาบันการศึกษาอื่นมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันเล็กน้อย เช่น อินทาเนียร์ (INTANEER) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา เอนทาเนียร์ (ENTANEER, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) และ เอนทาเนีย (Entania, ธรรมศาสตร์) หมวดหมู่:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอินทาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

อดิศัย โพธารามิก

อดิศัย โพธารามิก เกิดเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2483 มีพี่ชายคนเดียว ชื่อ นายแพทย์ยุทธ โพธารามิก สมรสกับ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชนี โพธารามิก กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน ชื่อ พิชญ์ โพธารามิก เป็นเจ้าของบริษัทเครือ โมโน กรุ๊ป.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอดิศัย โพธารามิก · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ อัศวโภคิน

อนันต์ อัศวโภคิน (21 มีนาคม พ.ศ. 2493 -) เป็นนักธุรกิจชาวไทย เป็นเจ้าของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังของไทย เป็นอดีตประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) เคยได้รับรางวัล Best CEO Of The Year และเคยได้ตำแหน่งเศรษฐีหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในไทยหลายปีซ้อน อนันต์มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 840 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 26,000 ล้านบาท) และได้รับการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บให้เป็น มหาเศรษฐีของไทยลำดับที่ 18 (ประจำปี พ.ศ. 2555).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนันต์ อัศวโภคิน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย (Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยมุ่งขยายตลาดการค้า การลงทุนของไทยในต่างประเทศ และแสวงหาความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในเวทีโลก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้แทนการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธัชชัย สุมิตร

รองศาสตราจารย์ ธัชชัย สุมิตร อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธัชชัย สุมิตร · ดูเพิ่มเติม »

ธีรพล นพรัมภา

นายธีรพล นพรัมภา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และอดีตปลัดเมืองพัทยา เป็น 1 ใน 4 ของแก๊งออฟโฟร์ในพรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรพล นพรัมภา · ดูเพิ่มเติม »

ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรยุทธ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงเทพ

นาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน" รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกสิกรไทย

นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารกสิกรไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,070.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารไทยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

ทหารเรือ

ทหารเรือชาวจีน ทหารเรือ (Navy) เป็นทหารที่ทำการรบโดยใช้เรือ การเรียงลำดับอาวุโสของทหาร 3 เหล่าทัพ ถ้าเป็นแบบสหราชอาณาจักร จะเรียงจาก ทหารเรือ ทหารอากาศ ทหารบก เพราะเป็นมหาอำนาจทางทะเลมาก่อน ทหารเรือจึงเป็นพี่ใหญ่ ทหารเรือ จะมีเรือหลากหลายชนิด ในกองทัพ เช่น เรือดำน้ำ เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือประจัญบาน เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทหารเรือ · ดูเพิ่มเติม »

ทองภูมิ สิริพิพัฒน์

ทองภูมิ สิริพิพัฒน์ นักแสดง, พิธีกร และนายแบบไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร มีพี่สาว 1 คน จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ, ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าสู่วงการบันเทิงโดยเริ่มแสดงมิวสิควีดีโอ กับเป็นพิธีกรหลายรายการ และเล่นภาพยนตร์เรื่องแรก ชื่อ อยากได้ยินว่ารักกัน โดยรับบท สอง ชายหนุ่มธรรมดาที่ถูกเปรียบเทียบกับ ก้าว เพื่อนสนิทที่มีหน้าตาหล่อเหลากว่า ต่อมาจึงแสดงภาพยนตร์เรื่อง สามย่าน กับเรื่องอื่นๆ ตามมา เช่น แฟนใหม่ โดยพลิกบทบาทจากคนดีไปเป็นหนุ่มเจ้าชู้ ภาพยนตร์เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเหรียญของพ่ออีกทั้งเขายังได้รับโอกาสแสดงภาพยนตร์เรื่อง Together วันที่รัก ซึ่งทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงแสดงนำ นอกจากนี้เขายังร้องเพลงประกอบละครเรื่อง ชิงนาง ชื่อเพลง ถามหัวใจกี่ครั้งยังตอบเหมือนเดิม และเพลง รักเป็นเช่นไร เพื่อประกอบภาพยนตร์ เรื่อง คิดถึงคนแปลกหน้า แรกเริ่มได้เซ็นสังกัดค่ายอาร์เอส ต่อมาได้ย้ายไปสังกัดค่ายโพลีพลัสของอรพรรณ พานทอง และมีผลงานทางโทรทัศน์ต่อมาถึงปัจจุบัน เช่น ตะวันทอแสง ทางช่อง 7 ต่อด้วย บ่วงบาป กับ เสน่หาสัญญาแค้น ทางช่อง 3.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทองภูมิ สิริพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานไทย

ริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เดิมใช้ชื่อว่า การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย หรือ ทอท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท่าอากาศยานไทย · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์

ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์ (ชื่อเล่น: บ๊อบ; ชื่อเดิม: บดินทร์ โกศลพิศิษฐ์; เกิด: 17 มิถุนายน พ.ศ. 2522) เป็นพิธีกร, ผู้ประกาศข่าวชาวไทย เดิมเคยเป็นอดีตนักแสดงและนายแ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 เมษายน และประกาศเป็นส่วนราชการเมื่อ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2513 โดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ดำเนินการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นการภายในตั้งแต่สมัยที่ศาสตราจารย์ ดร.บัวเรศ คำทอง เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งได้รับความร่วมมือและประสานงานอย่างใกล้ชิดกับ ศาสตราจารย์ ดร.อรุณ สรเทศน์ (คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในขณะนั้นซึ่งต่อมาท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) พร้อมทีมงาน ได้เข้ามาช่วยดำเนินการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่เริ่มต้นในหลายๆด้าน โดยการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท่านมีส่วนเป็นอย่างมากในการวางแผน ก่อสร้างอาคารต่างๆ และช่วยร่างหลักสูตรตลอดจนได้จัดหาอุปกรณ์ละตำราการสอน และที่สำคัญอย่างยิ่งคือการจัดหาอาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิในการเรียนการสอนของนักศึกษา เมื่อเริ่มเปิดดำเนินการ(วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2513) ได้เปิดสอนในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา เป็นสาขาแรก โดยใช้อาคารหอพักชายอาคาร 1 เดิม (ปัจจุบันคือคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์) ชั้นล่างจำนวน 3 ห้อง ทางด้านทิศเหนือติดต่อกับธนาคารไทยพานิชย์ เป็นอาคารธุรการ และอาคารเรียนชั่วคราวโดยมีอาจารย์ผู้สอนเริ่มแรก จำนวน 3 ท่าน ได้แก่ ร.ดร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช เป็นผู้ก่อตั้งและอดีตผู้บริหารบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ(ปัจจุบันคือ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)) และบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) หรือทีพีไอโพลีน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชัย เลี่ยวไพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 นาย ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมภาคเอกชน คณะทำงานคลัสเตอร์ ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ บุญสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ภัทรมัย

ร.ประเสริฐ ภัทรมัย ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประเสริฐ ภัทรมัย (5 มิถุนายน 2490 -) ผู้ก่อตั้งบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารกลุ่มบริษัท ทีม สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เข้าศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ ภัทรมัย · ดูเพิ่มเติม »

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปูนซิเมนต์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปตท.

ริษัท ปตท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท. · ดูเพิ่มเติม »

ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น

ริษัท ปตท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น · ดูเพิ่มเติม »

ปตท. เคมิคอล

ริษัท ปตท.เคมีคอล จำกัด (มหาชน) (PTT Chemical Public Company Limited) ตัวย่อภาษาอังกฤษ PTTCH ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยมีหน้าหลักคือผลิต เอทิลีน โพรพีลีน และพอลิเมอร์ ธุรกิจหลักคือเกี่ยวกับ ปิโตรเคมี ปัจจุบันยุบเลิกและรวมกิจการกับบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) จัดตั้งเป็นบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท. เคมิคอล · ดูเพิ่มเติม »

ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม

ริษัท ปตท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม · ดูเพิ่มเติม »

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร หรือ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นผู้เผยแพร่แนวคิดการลงทุนแบบเน้นคุณค่าคนแรกในประเทศไทย จากการเขียนหนังสือ "ตีแตก" การแปลหนังสือ การเขียนบทความ และการบรรยายในวาระต่าง ๆ เพื่อให้นักลงทุนเลิกเก็งกำไรอย่างไร้หลักการในตลาดหุ้น หันมาลงทุนแบบเน้นคุณค่าและลงทุนอย่างปลอดภัยมากขึ้น ปัจจุบันแต่งงานแล้วคู่สมรสคือนางเพาพิลาส เหมวชิรวราการ ครูประจำโรงเรียนจินตการดนตรี.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิเวศน์ เหมวชิรวรากร · ดูเพิ่มเติม »

แพทยศาสตร์

right แพทยศาสตร์ (Medicine) เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพและเยียวยารักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย การแพทย์เป็นแขนงอาชีพที่ต้องใช้ทั้งความรู้และทักษะอย่างสูง แพทยศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่มีความสำคัญ ผู้ประกอบอาชีพทางการแพทย์มักได้รับความนับถือในสังคม แพทยศาสตร์มีศาสตร์เฉพาะทางต่าง ๆ อีกมากมายเช่น กุมารเวชศาสตร์, อายุรศาสตร์, ศัลยศาสตร์, ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (ศัลยศาสตร์กระดูก), สูติศาสตร์, นรีเวชวิทยา, โสตศอนาสิกวิทยา, นิติเวชศาสตร์, จักษุวิทยา, จิตเวชศาสตร์,รังสีวิทยา,ตจวิทยา, พยาธิวิทยา, เวชศาสตร์ชุมชน, อาชีวเวชศาสตร์, เวชศาสตร์ฟื้นฟู, เวชระเบียน, เวชสถิติ และอื่น ๆ อีกมากมาย และในแต่ละสาขายังแบ่งย่อยเป็นสาขาย่อยลงไปอีกตามอวัยวะหรือกลุ่มของโรค เช่น ศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก อายุรศาสตร์โรคไต เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแพทยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) (Land and Houses Public Company Limited) เป็นบริษัทผู้ประกอบธุรกิจหลักเกี่ยวกับการค้าอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2516 โดยคุณเพียงใจ หาญพานิชย์ ปัจจุบันบริษัทอยู่ภายใต้การบริหารงานของนายอนันต์ อัศวโภคิน โดยมีโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่ครอบคลุมทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้งบ้านเดี่ยว, ทาวน์โฮม และคอนโดมิเนียม รวมถึงโครงการหมู่บ้านจัดสรรตามจังหวัดใหญ่ของประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37-38 เลขที่ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลศิริราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหอวัง

รงเรียนหอวัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีประวัติการก่อกำเนิดโรงเรียนเกี่ยวเนื่องกับ "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย".

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนหอวัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 (ขณะนั้นนับวันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับอย่างสากลถือเป็น พ.ศ. 2481) โดยมติของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 227 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีอาณาบริเวณติดกับหลายคณะ ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ภายในพื้นที่เช่าของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษายังเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารจุฬาวิชช์กับที่ตั้งของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โฮมโปร

มโปร (HomePro) ชื่อเต็ม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโฮมโปร · ดูเพิ่มเติม »

ไพรินทร์ ชูโชติถาวร

รินทร์ ชูโชติถาวร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไพรินทร์ ชูโชติถาวร · ดูเพิ่มเติม »

ไออาร์พีซี

รงกลั่นน้ำมัน บมจ.ไออาร์พีซี บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) เป็นเจ้าของกลุ่มโรงงานปิโตรเลียมและปิโตรเคมี (Petoleum-Petrochemical complex) ตั้งอยู่ที่ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นเขตประกอบอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมด้วยสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิต ได้แก่ ท่าเรือน้ำลึก คลังเก็บน้ำมัน และโรงไฟฟ้า ไออาร์พีซีเดิมชื่อ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ ปัจจุบัน (30 พฤศจิกายน 2556)นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณเป็นกรรมการผู้จัดการ.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไออาร์พีซี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยคม (บริษัท)

ริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) (Thaicom Public Company Limited) เดิมชื่อ บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) (Shin Satellite Public Company Limited) เป็นบริษัทแรกและบริษัทเดียวของประเทศไทยที่เป็นผู้ให้บริการธุรกิจดาวเทียมเชิงพาณิชย์ ได้รับสัมปทานจากกระทรวงคมนาคม (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาถูกโอนไปยัง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ในปี..

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไทยคม (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตรชาย 1 คน คือ นายไชย ณศีลวันต.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเชาวน์ ณศีลวันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรศาสตร์

กษตรศาสตร์ (กะ-เสด-ตฺระ-สาด) (agricultural science) คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม โดยรวมสามารถแบ่งได้หลายสาขาวิชา และแบ่งย่อยไปในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องได้แก.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเหตุการณ์ 14 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เอกพงศ์ จงเกษกรณ์

อกพงศ์ จงเกษกรณ์ หรือ เฟิสท์ เกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2526 เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัดสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จาก โรงเรียนนครสวรรค์ ระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ระดับปริญญาโท จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ปีการศึกษา 2553 ด้วยเกรดเฉลี่ยสะสม 3.81 ปัจจุบันสมรสกับ กานต์สินีต์ สุกใส ซึ่งเป็นสาวนอกวงการบันเทิง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอกพงศ์ จงเกษกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป

ริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Nation Multimedia Group Public Company Limited) เป็นบริษัทสื่อสารมวลชนครบวงจรขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยเริ่มออกหนังสือพิมพ์เดอะวอยซ์ออฟเดอะเนชั่นเป็นฉบับแรก และมีบุคคลสำคัญประกอบด้วยหม่อมราชวงศ์สุนิดา กิติยากร, สุทธิชัย หยุ่น, ธรรมนูญ มหาเปารยะ, เชวง จริยะพิสุทธิ์, ธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์, และ ธนะชัย สันติชัยกูล.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ26 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »