โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ดัชนี พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าแทโจ (ค.ศ. 1335 - ค.ศ. 1408) เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนของเกาหลี (ค.ศ. 1392 - ค.ศ. 1398) พระนามเดิมว่า อี ซ็อง-กเย ทรงย้ายเมืองหลวงของเกาหลีไปยังเมืองฮันซ็องและตั้งลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo-Confucianism) เป็นศาสนาประจำชาต.

44 ความสัมพันธ์: ช็อง โด-จ็อนพ.ศ. 1879พ.ศ. 1893พ.ศ. 1897พ.ศ. 1911พ.ศ. 1935พ.ศ. 1941พ.ศ. 1951พระราชวังคย็องบกพระนางชินอึยพระนางชินด็อกพระนางอึยฮเยพระเจ้าชังแห่งโครยอพระเจ้าช็องจงพระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าอูแห่งโครยอพระเจ้าคงมินพระเจ้าคงยังพระเจ้าแทจงกบฏโพกผ้าแดงราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์โครยอลัทธิขงจื๊อศาสนาพุทธศาสนาประจำชาติสุสานหลวงราชวงศ์โชซ็อนอาณัติแห่งสวรรค์อี จา-ชุนอีอันแทกุนฮวงจุ้ยจักรพรรดิหงอู่จักรวรรดิมองโกลดงแดมุนนัมแดมุนแม่น้ำยาลู่แทซังวังแคซ็องโซล14 ตุลาคม24 พฤษภาคม5 กันยายน5 สิงหาคม

ช็อง โด-จ็อน

ช็อง โด-จ็อน (정도전; 鄭道傳; Jeong Do-jeon; 1342-1398) เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1342 เป็นอัครมหาเสนาบดีคนแรกแห่งราชวงศ์โชซ็อน และเป็นขุนนางที่พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อนโปรดปรานและไว้วางพระทัยมากที่สุด โดยท่านเป็นผู้นำแห่ง "กลุ่มชินจิน" ซึ่งเป็นกลุ่มขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในช่วงต้นราชวงศ์โชซ็อนท่านถูกลอบสังหารที่พระราชวังคย็องบก โดยลีพังวอน เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1398 ขณะอายุได้ 56 ปี หมวดหมู่:ขุนนางเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและช็อง โด-จ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1879

ทธศักราช 1879 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1879 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1893

ทธศักราช 1893 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1893 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1897

ทธศักราช 1897 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1897 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1941

ทธศักราช 1941 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1941 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1951

ทธศักราช 1951 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพ.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังคย็องบก

ระราชวังคย็องบก (경복궁) ตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยราชวงศ์โชซ็อน สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1937 (ค.ศ. 1394) โดยช็อง โด-จ็อน และได้กลายเป็นพระราชวังหลวงหรือวังหลักสำหรับประทับว่าราชการของกษัตริย์และเหล่าเชื้อพระวงศ์ของเกาหลีมาโดยตลอด และได้รับการต่อเติมโดยพระเจ้าแทจงและพระเจ้าเซจงมหาราช แต่บางส่วนของพระราชวังนั้นถูกเพลิงเผาวอดในช่วงที่ญี่ปุ่นบุกประเทศเกาหลี พระราชวังมีเนื้อที่ 5.4 ล้านตารางฟุต โดยในช่วงต้นราชวงศ์โชซ็อนมีตำหนักอาคารมากถึง 200 อาคาร กระทั่งปี พ.ศ. 2135 ที่กองทัพญี่ปุ่นบุกรุกประเทศเกาหลี ตำหนักต่าง ๆ ได้ถูกทุบทำลาย ถูกเผาทิ้งไปเป็นจำนวนมาก ก่อนที่จะได้รับการบูรณะซ่อมแซมและสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่ในแบบฉบับเดิม โดยในปัจจุบันมีตำหนักทั้งสิ้น 10 ตำหนัก คำว่า "คย็องบกกุง" ในภาษาเกาหลี แปลว่า "พระราชวังแห่งพรที่ส่องสว่าง (The Palace of Shining Blessings)".

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระราชวังคย็องบก · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินอึย

ระมเหสีชินอึย สกุลฮัน (Queen Sinui; กันยายน 1880 – 21 ตุลาคม 1934) 神懿王后 韓氏 พระมเหสีองค์แรกใน พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โชซ็อน เป็นพระมารดาของเจ้าชายทั้งหมด 6 พระองค์ซึ่งได้เป็นพระราชาถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้าจองจง พระราชาลำดับที่ 2 และ พระเจ้าแทจง พระราชาลำดับที่ 3 พระนางประสูติในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระนางชินอึย · ดูเพิ่มเติม »

พระนางชินด็อก

ระมเหสีชินด็อก (신덕왕후; Queen Sindeok) เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ใน พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โชซ็อน แต่พระองค์นับเป็นพระมเหสีองค์แรกแห่งโชซ็อนเนื่องจาก พระมเหสีชินอึย (Queen Sinui) พระมเหสีองค์แรกของพระเจ้าแทโจสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระนางชินด็อก · ดูเพิ่มเติม »

พระนางอึยฮเย

พระพันปีอึยฮเย เป็นธิดาของท่าน ชเวฮันกิ และ ลีฮูหยิน มีโอรสและธิดาสองคนกับลีจาซุนคือ ลีซองกเย และ คุณหนูลี เมื่อลูกชายของนางสถาปนาราชวงศ์พระนางและสามีจึงได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชบิดาและพระราชมารดาโดยมีศักดิ์เท่าอดีตพระราชาและพระราชินี สามีของพระนางได้เป็นพระเจ้าฮวานโจ พระนางได้เป็นราชินีอีฮเย บิดาของพระนางได้เป็น ยองฮึงพูวอนกุน มารดาของพระนางได้เป็นโชซอนกุกแทบูอิน หรือ พระชายาแห่งโชซอน และลูกสาวของพระนางได้เป็นองค์หญิงจองฮวา หมวดหมู่:ชาวเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระนางอึยฮเย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชังแห่งโครยอ

ระเจ้าชังแห่งโครยอ (ค.ศ. 1380 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 33 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1388 - 1389) พระเจ้าชางเดิมพระนามว่าองค์ชายวังชัง (왕창, 王昌) เป็นพระโอรสของพระเจ้าอูแห่งโครยอ (우왕, 禑王) ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าชังแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจง

ระเจ้าช็องจง (Jeongjong) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าช็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าช็องจง (ค.ศ. 1357 - ค.ศ. 1419) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1398 - ค.ศ. 1400) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์ผู้สถาปนาราชวงศ์โชซ็อน พระเจ้าช็องจงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าช็องจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอูแห่งโครยอ

ระเจ้าอูแห่งโครยอ (ค.ศ. 1365 - ค.ศ. 1389) เป็นพระราชาองค์ที่ 32 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1374 - 1388) พระเจ้าอู พระนามว่า วัง อู (왕우, 王禑) เป็นพระโอรสของพระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) และนางทาสพันยา (반야, 般若) อย่างไรก็ตามนางทาสพันยานั้นเดิมเป็นอนุภรรยาของพระภิกษุชินตน (신돈, 辛旽) พระภิกษุซึ่งได้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าคงมินในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าอูแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงมิน

ระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (ค.ศ. 1330 - ค.ศ. 1374) เป็นพระราชาองค์ที่ 31 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1351 - 1374) เป็นผู้ปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของมองโกลราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินเป็นพระโอรสของพระเจ้าชุงซุก (충숙왕, 忠肅王) และพระมเหสีคงวอนตระกูลฮง พระนามว่า วัง คี (왕기, 王祺) องค์ชายวังคีมีพระเชษฐาเป็นองค์ชายรัชทายาทอยู่แล้ว ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าชุงฮเย (충혜왕, 忠惠王) องค์ชายวังคีเสด็จไปเมืองปักกิ่งและอภิเษกกับองค์หญิงมองโกล (ภายหลังคือ องค์หญิงโนกุก (노국대장공주, 魯國大長公主) ในค.ศ. 1344 เมื่อพระเจ้าชุงฮเยสวรรคต พระโอรสทั้งสองของพระเจ้าชุงฮเยก็ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ ได้แก่พระเจ้าชุงมก (충목왕, 忠穆王) และพระเจ้าชุงจอง (충정왕, 忠定王) ในค.ศ. 1344 องค์ชายวังคีได้รับการแต่งตั้งเป็น องค์ชายคังนึง (강릉부원대군, 江陵府院大君) ต่อมากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ก็สวรรคตโดยไร้ซึ่งรัชทายาท องค์ชายคังนึงจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติในค.ศ. 1351 ราชสำนักเกาหลีในขณะนั้นถูกครอบงำโดยคีชอล (기철, 奇轍) พระเชษฐาของพระจักรพรรดินีฉี (奇皇后) พระจักรพรรดินีของพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (元惠宗) โตคุนเตมูร์ข่าน (Toghun Temür Khan) พระจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์หยวน คีชอลนั้นถือตนมีอำนาจเหนือพระเจ้าคงมิน พระเจ้าคงมินจึงสั่งประหารชีวิตคีชอลในค.ศ. 1356 และกวาดล้างขุนนางที่สนับสนุนมองโกลทั้งหลาย พระจักรพรรดินีฉี ซึ่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนในประเทศจีนขณะนั้นจึงพิโรธพระเจ้าคงมินอย่างมากและส่งทัพมาสังหารพระเจ้าคงมินแก้แค้น พระเจ้าคงมินตัดสินพระทัยที่จะต่อต้านมองโกลอย่างเปิดเผลและสามารถขับทัพมองโกลที่พระจักรพรรดิหยวนส่งมาได้ เป็นการปลดแอกอาณาจักรโครยอจากการครอบงำของราชวงศ์หยวนมากว่าแปดสิบปี ในค.ศ. 1359 ทางมองโกลได้นำทัพเข้าปราบกบฏโพกผ้าแดง (紅巾之亂, Red Turban Rebellion) ที่เมืองเหลียวตง พวกกบฏพากันหลบหนีข้ามแม่น้ำยาลูเข้ามาในโครยอและเข้าปล้นสะดมบ้านเมืองจนพระเจ้าคงมินต้องทรงส่งทัพเข้าขับไล่ออกไป ในค.ศ. 1361 กบฏโพกผ้าแดงได้ส่งทัพเข้ามาบุกโครยอยึดได้เมืองแคซองเป็นการแก้แค้น พระเจ้าคงมินและราชสำนักเสด็จหนีไปยังเมืองอันดง แต่เมืองแคซองก็ถูกกู้กลับคืนมาได้ด้วยฝีมือของขุนพลชเวยอง (최영, 崔瑩) และลีซองกเย พระเจาคงมินยังส่งขุนพลไปยึดดินแดนสองมณฑลที่ราชวงศ์หยวนยึดไปกลับคืนมา โดยในค.ศ. 1356 ส่งลีซองกเยไปยึดมณฑลซังซอง (쌍성부, 雙城府) และในค.ศ. 1370 ยึดมณฑลทงยอง (동녕부, 東寧府) นโยบายต่อต้านมองโกลของพระเจ้าคงมินทำให้พระองค์ไม่เป็นที่พอใจของบรรดาขุนนางเก่าซึ่งล้วนได้รับการสนับสนุนจากราชวงศ์หยวน พระเจ้าคงมินต้องต่อสู้เพื่อลดอำนาจของขุนนางเหล่านี้ ในค.ศ. 1365 องค์หญิงโนกุกสิ้นพระชนม์ขณะกำลังพระครรภ์ ทำให้พระเจ้าคงมินหมดอาลัยตายอยากกับพระชนม์ชีพ ทิ้งกิจการบ้านเมืองทั้งหมดไว้แก่พระภิกษุชื่อว่าชินตน (신돈, 辛旽) ซึ่งชินตนก็ได้ต่อสู้กับขุนนางที่เข้าข้างมองโกลแทนพระเจ้าคงมินจนกระทั่งถูกขับออกจากราชสำนักในค.ศ. 1371 ในค.ศ. 1368 จูหยวนจาง (朱元璋) ล้มราชวงศ์หยวนได้และตั้งราชวงศ์หมิง จูหยวนจางหรือพระจักรพรรดิหงหวู่ (洪武帝) ได้ส่งทูตมาเรียกบรรณาการ ซึ่งพระเจ้าคงมินก็ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี จนในที่สุด พระเจ้าคงมินก็ถูกฮงยุน (홍윤, 洪倫) และชเวมันแซง (최만생, 崔萬生) ลองปลงพระชนม์ในห้องบรรทม และยกพระโอรสวัง อู (왕우, 王禑) ซึ่งเกิดจากนางทาสพันยา (반야, 般若 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพระภิกษุชินตนด้วย) ขึ้นเป็นพระราชาองค์ต่อไป เป็นผลให้ราชสำนักโครยอมีนโยบายหันเข้าหามองโกลอีกครั้ง ในเวลาต่อมาพระจักรพรรดิหงหวู่ได้พระราชทานพระนามแก่พระเจ้าคงมินว่า พระเจ้าคงมิน (공민왕, 恭愍王) ไฟล์:Cheonsandaeryeopdo.jpg.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าคงมิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคงยัง

ระเจ้าคงยังแห่งโครยอ (ค.ศ. 1345 - ค.ศ. 1394) เป็นพระราชาองค์ที่ 34 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1389 - 1392) พระเจ้าคงยางพระนามเดิมว่าองค์ชายช็องชัง (정창군; 定昌君) เป็นพระโอรสขององค์ชายช็องว็อน (정원군; 定遠君) ซึ่งสืบสายพระโลหิตมาจากพระเจ้าชินจง ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าคงยัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทจง

ระเจ้าแทจง ((13 มิถุนายน ค.ศ.1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ.1400 - ค.ศ.1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าเซจงมหาร.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้าแทจง · ดูเพิ่มเติม »

กบฏโพกผ้าแดง

กบฏโพกผ้าแดง เป็นการกบฏในประเทศจีนราว..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและกบฏโพกผ้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาประจำชาติ

นาประจำรัฐ หรือ ศาสนาประจำชาติ (state religion) บางทีเรียก ศาสนาซึ่งเป็นที่ยอมรับ (established religion) หรือ ศาสนาทางการ (official religion) เป็นคณะหรือลัทธิทางศาสนาที่รัฐอธิปไตยรัฐหนึ่ง ๆ อนุมัติอย่างเป็นทางการ รัฐที่มีศาสนาอย่างเป็นทางการนั้น แม้ไม่ใช่รัฐฆราวาส ก็ไม่จำต้องเป็นรัฐแบบเทวาธิปไตยเสมอไป เช่น รัฐที่ผู้ปกครองควบตำแหน่งทั้งทางโลกและทางสงฆ์ ส่วนศาสนาประจำรัฐนั้น แม้ได้รับอนุมัติจากรัฐ ก็ไม่จำเป็นที่รัฐจะอยู่ในความควบคุมของศาสนา หรือศาสนาจะอยู่ในความควบคุมของรัฐเสมอไป ศาสนาประจำรัฐนั้นปรากฏโฉมอยู่ทั่วทุกวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างลัทธิศาสนาและรัฐนั้นเป็นที่ถกเถียงกันมาแต่โบราณ เช่น ในงานของแวร์โร (Varro) ที่เรียกศาสนาประจำรัฐว่า ศาสนาของพลเมือง (theologia civilis) สำหรับศาสนาคริสต์นั้น คริสตจักรที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเป็นแห่งแรก คือ คริสตจักรอัครทูตอาร์เมเนีย (Armenian Apostolic Church) ซึ่งตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและศาสนาประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวงราชวงศ์โชซ็อน

นหลวงราชวงศ์โชซ็อน (조선의 왕릉) เป็นสุสานที่ฝังพระศพของกษัตริย์ พระมเหสี และพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์โชซ็อน ประกอบด้วยสุสานทั้งหมด 40 สุสาน ซึ่งกระจายตัวอยู่ในพื้นที่ 18 แห่ง สุสานแห่งนี้ได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลก ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและสุสานหลวงราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

อาณัติแห่งสวรรค์

อาณัติแห่งสวรรค์ (mandate of heaven) คือความชอบธรรมที่สวรรค์มอบให้แก่มนุษย์คนหนึ่ง ให้มีอำนาจในการปกครองประชาชน มีลักษณะใกล้เคียงกับแนวคิดเทวสิทธิราชย์ในปรัชญาการเมืองตะวันตก.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและอาณัติแห่งสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อี จา-ชุน

อี จา-ชุน (1315-1361) เป็นขุนศึกเล็ก ๆ ของราชวงศ์หยวน ซึ่งต่อมาถูกส่งมาประจำที่โครยอ และเป็นพระบิดาของอี ซ็อง-กเย หรือพระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โชซ็อน อี จา-ชุน ได้รับการถวายพระนามเป็น พระเจ้าฮวันโจ ในรัชสมัยพระเจ้าแทจง พระนัดดาของพระองค์ พระเจ้าฮวันโจสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1361 ขณะพระชนม์เพียง 45 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1858 หมวดหมู่:ชาวเกาหลี หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและอี จา-ชุน · ดูเพิ่มเติม »

อีอันแทกุน

อีอันแทกุน (의안대군) เป็นฐานันดรศักดิ์ราชวงศ์เกาหลี แปลว่า "องค์ชายใหญ่อีอัน" (Grand Prince Uian) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและอีอันแทกุน · ดูเพิ่มเติม »

ฮวงจุ้ย

วงจุ้ย มาจากภาษาจีน 风水 (สำเนียงกลางว่า เฟิงสุ่ย) และอาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและฮวงจุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

ดงแดมุน

งแดมุน (ประตูใหญ่ทางทิศตะวันออก) คือประตูโบราณที่ตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ฮยุงอินจีมุน (흥인지문, Heunginjimun ประตูแห่งความเมตตากรุณา) สร้างขึ้นในรัชกาลของพระเจ้าแทโจ ในวโรกาสครองสิริราชย์สมบัติได้ 50 ปี เมื่อปี พ.ศ. 1939 (ค.ศ. 1396) ต่อมาเมื่อถึงปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) จึงได้มีการปฏิสังขรณ์ใหม่ ส่วนประตูที่เห็นกันในปัจจุบันนั้นก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869).

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและดงแดมุน · ดูเพิ่มเติม »

นัมแดมุน

นัมแดมุน (ประตูใหญ่ทางทิศใต้) คือประตูโบราณที่ตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ มีชื่อทางการว่า ซุงเยมุน (숭례문, Sungnyemun ประตูแห่งความเคารพอันเหมาะสม) ประตูแห่งนี้เคยเป็นสิ่งก่อสร้างสร้างด้วยไม้ที่เก่าแก่ที่สุดในโซล การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1938 (ค.ศ. 1395) ในรัชกาลของพระเจ้าแทโจ และแล้วเสร็จในอีก 3 ปีต่อมา ประตูบานนี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมา โดยมีขึ้นในรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชเมื่อปี พ.ศ. 1990 (ค.ศ. 1447) และ รัชกาลพระเจ้าซองจงปี พ.ศ. 2022 (ค.ศ. 1479) การซ่อมแซมใหญ่ครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ซึ่งต่อมาหลังจากการบูรณะแล้วเสร็จ รัฐบาลเกาหลีใต้ได้จัดให้เป็น สมบัติประจำชาติเกาหลีใต้ หมายเลขหนึ่ง เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ปีเดียวกัน เมื่อเช้าตรู่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เกิดเหตุลอบวางเพลิง สร้างความเสียหายอย่างหนักทั้งหลัง สะเทือนใจชาวเกาหลีและชาวต่างประเทศ การบูรณะนัมแดมุนขึ้นใหม่ใช้ระยะเวลา 5 ปีจึงเสร็จสิ้น ใช้งบประมาณกว่า 27 พันล้านวอน (ประมาณ 24 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือ 696 ล้านบาท) เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2556 รัฐบาลเกาหลีใต้จัดพิธีเปิดนัมแดมุนอย่างเป็นทางการและเปิดให้ประชาชนเข้าชมตามปกติอีกครั้ง.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและนัมแดมุน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยาลู่

ูมิศาสตร์แม่น้ำยาลู แม่น้ำยาลู่ (鴨綠江, 鸭绿江 Yālù Jiāng; Yalu River) หรือ แม่น้ำอัมนก (Amnok River) เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างจีน และเกาหลีเหนือ และมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์เกาหลีอย่างมาก.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและแม่น้ำยาลู่ · ดูเพิ่มเติม »

แทซังวัง

แทซังวัง (Taishang Wang) พระอิสริยยศของเกาหลีที่ใช้เรียกกษัตริย์ที่สละราชบัลลังก์หรือถูกปลดออกจากราชบัลลังก์แล้วเช่นเดียวกับ ไท่ช่างหฺวัง ของจีนและ ไดโจเท็นโน ของญี่ปุ่นโดยกษัตริย์พระองค์แรกที่ได้รับพระอิสริยยศนี้คือ พระเจ้าอู กษัตริย์องค์ที่ 31 แห่ง ราชวงศ์โครยอ เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและแทซังวัง · ดูเพิ่มเติม »

แคซ็อง

แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและแคซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

โซล

ซล (ซออุล) ชื่ออย่างเป็นทางการ นครพิเศษโซล เป็นเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้ มีประชากรประมาณ 10 ล้านคน เป็นปริมณฑลที่ใหญ่ มีประชากรประมาณ 25 ล้านคนซึ่งเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยซึ่งประกอบด้วยบริเวณมหานครอินช็อนและจังหวัดคย็องกี เกือบหนึ่งในสี่ของประชากรชาวเกาหลีใต้อาศัยอยู่ในโซลและชาวต่างชาติอีกประมาณ 275, 000 คน นครโซลได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ระดับหลายเหตุการณ์ โดยการใช้ความพยายามอย่างมากที่จะเพิ่มอิทธิพลในฐานะประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติมากเป็นอันดับที่ 5 ในปี 2553 โซลได้รับการโหวตให้เป็นเป้าหมายยอดนิยมในการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวชาวจีน, ญี่ปุ่นและไทย 3 ปีต่อเนื่องกันในปี 2554 สถานีรถไฟโซลเป็นสถานีปลายทางหลักของรถไฟความเร็วสูงเคทีเอ๊กซ์และสถานีรถไฟใต้ดินโซลยังเป็นสถานีที่มีผู้ใช้งานมากเป็นอับดับที่สองของโลกโดยมีลักษณะเป็นสายวงรอบที่ยาวที่สุดและและมีเส้นทางรถไฟไต้ดินจนสุดสายที่ยาวเป็นอับดับที่สองของโลก โซลนั้นได้รวมระบบขนส่งมวลชนเข้ากับเมืองอินช็อนและจังหวัดคย็องกี โดยสามารถให้ผู้โดยสารสามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางหรือรถไฟไต้ดินได้อย่างอิสระโดยใช้บัตรที-มันนี่และเชื่อมต่อโดยทางเอเร็กซ์เพื่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน ซึ่งถูกจัดเป็นสนามบินยอดเยี่ยมตั้งแต่ปี 2548 โดยสภาการท่าอากาศยานนานาชาติ โซลเคยเป็นเจ้าภาพเอเชียนเกมส์ 1986, โอลิมปิกฤดูร้อน 1988, ฟุตบอลโลก 2002 และการประชุมสุดยอด จี-20 2010 โซลได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่งการออกแบบในปี 2553 โดยสมาคมออกแบบอุตสาหกรรมนานาชาต.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและโซล · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เป็นวันที่ 144 ของปี (วันที่ 145 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 221 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและ24 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนและ5 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลีซองกเยพระเจ้าแทโจแห่งโชซอน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »