โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ดัชนี พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

173 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษชาวฝรั่งเศสชาวยิวชาวสกอตแลนด์ชาวอังกฤษชาวโปแลนด์ชาวเยอรมันช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็องพ.ศ. 1822พ.ศ. 1957พ.ศ. 2143พ.ศ. 2146พ.ศ. 2156พ.ศ. 2159พ.ศ. 2163พ.ศ. 2166พ.ศ. 2168พ.ศ. 2169พ.ศ. 2171พ.ศ. 2172พ.ศ. 2176พ.ศ. 2177พ.ศ. 2178พ.ศ. 2179พ.ศ. 2182พ.ศ. 2183พ.ศ. 2184พ.ศ. 2185พ.ศ. 2186พ.ศ. 2187พ.ศ. 2188พ.ศ. 2189พ.ศ. 2190พ.ศ. 2191พ.ศ. 2192พ.ศ. 2196พ.ศ. 2201พ.ศ. 2202พ.ศ. 2203พ.ศ. 2204พ.ศ. 2345พ.ศ. 2356พระมหากษัตริย์พระราชกฤษฎีการะดมไพร่พลพระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตพระราชวังไวต์ฮอลพระราชวังเซนต์เจมส์...พระราชอำนาจพระเจ้าพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์พิวริตันกบฏกบฏต่อแผ่นดินกองทัพตัวแบบใหม่การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษการแต่งงานโดยฉันทะภาษีภาษีตันภาษีปอนด์ยุทธการที่เอดจ์ฮิลล์ยุทธการที่เนสบียุโรปภาคพื้นทวีปรัฐสภายาวรัฐสภารัมป์รัฐสภาสั้นรัฐสภาอังกฤษรัฐของสหรัฐรัฐนอร์ทแคโรไลนารัฐเวอร์จิเนียรัฐเซาท์แคโรไลนาราชวงศ์สจวตราชอาณาจักรสกอตแลนด์ราชอาณาจักรอังกฤษราชอาณาจักรไอร์แลนด์ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราชาธิปไตยของไอร์แลนด์รายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษริชาร์ด ครอมเวลล์ลอนดอนลัทธิบูชาลัทธิคาลวินวิลเลียม ลอดสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยการปกครองส่วนพระองค์สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสหรัฐสาธารณรัฐสงครามกลางเมืองอังกฤษสงครามสามสิบปีอัยการอันโตน ฟัน ไดก์อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรีฌ็อง กาลแว็งจอห์น มิลตันจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทวีปอเมริกาเหนือทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงดยุกแห่งยอร์กดยุกแห่งรอธเซย์ดยุกแห่งออลบานีดยุกแห่งคอร์นวอลล์คริสตจักรแห่งอังกฤษคำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐซามูเอล พีพส์ประเทศสกอตแลนด์ประเทศไอร์แลนด์ประเทศเวลส์ปารีสแมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแองกลิคันแอนน์ ไฮด์แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษโบฮีเมียโรมันคาทอลิกโรคกระดูกอ่อนในเด็กโอลิเวอร์ ครอมเวลล์โดยพฤตินัยโดยนิตินัยโปรเตสแตนต์ไข้รากสาดน้อยเพรสไบทีเรียนเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมียเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์กเฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวตเจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์เจ้าผู้อารักขาเทวสิทธิราชย์เครือจักรภพแห่งอังกฤษเคนต์เปาโลอัครทูต11 พฤศจิกายน11 พฤษภาคม12 พฤศจิกายน13 มิถุนายน18 พฤศจิกายน19 พฤศจิกายน2 กุมภาพันธ์20 มกราคม22 สิงหาคม23 สิงหาคม26 ตุลาคม27 มีนาคม29 มกราคม30 มกราคม4 มกราคม ขยายดัชนี (123 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฝรั่งเศส

วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสกอตแลนด์

--> |region5.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโปแลนด์

วโปแลนด์ หรือ ชาวโปล(Polacy เอกพจน์ Polak, Polish people หรือ Poles) ชาวโปลเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มชนสลาฟตะวันตกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในปัจจุบันคือโปแลนด์ ชาวโปแลนด์บางครั้งก็จะได้รับการบรรยายว่าเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรมโปแลนด์ร่วมกัน และสืบเชื้อสายโปแลนด์ ศาสนาส่วนใหญ่เป็นโรมันคาทอลิก ชาวโปแลนด์อาจจะมหาหมายถึงทั้งผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในโปแลนด์เองที่มีเชื้อสายโปแลนด์หรือชาติพันธุ์อื่น นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนชาวโปแลนด์พลัดถิ่น (Polonia) ที่ไปตั้งหลักแหล่งทั่วไปในยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันออก ทวีปอเมริกา และออสเตรลี.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเยอรมัน

วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและชาวเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ)

วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ (English Interregnum.) เป็นสมัยการปกครองแผ่นดินที่ในปัจจุบัน คือ ประเทศอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์ โดยรัฐสภาและทหารหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ ช่วงว่างระหว่างรัชกาลเริ่มด้วยการปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ. 1649 และสิ้นสุดลงโดยการอัญเชิญ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 กลับมาทรงบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1660 ในสมัยที่เรียกว่าสมัยฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ ช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษแบ่งย่อยได้เป็น 4 สมัย.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและช่วงว่างระหว่างรัชกาล (อังกฤษ) · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต

ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต หรือพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 แห่งโบฮีเมีย (Friedrich V, Frederick V, Elector Palatine; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1596 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632) เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต และเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ในพระนามว่า "พระเจ้าฟรีดริชที่ 1" (Fridrich Falcký) ระหว่างปี ค.ศ. 1619 ถึงปี ค.ศ. 1620 อันเป็นระยะเวลาอันสั้นที่ทำให้เรียกกันว่า "พระราชาแห่งเหมันต์" (Zimní král) พระเจ้าฟรีดริชเสด็จพระราชสมภพที่ตำหนักล่าสัตว์ใกล้อัมแบร์กที่โอเบอร์พฟาลซ์ พระองค์เป็นพระโอรสและทายาทของฟรีดริชที่ 4 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนตและหลุยส์ ยูเลียนาแห่งนัสเซาพระราชธิดาของวิลเลียมที่ 1 แห่งออเรนจ์ และ ชาร์ลอตต์เดอบูร์บอง พระองค์ทรงเป็นผู้คงแก่เรียน รหัสยิก และผู้ถือลัทธิคาลวิน ต่อมาฟรีดริชสืบครองรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกในปี ค.ศ. 1610 ฟรีดริชทรงเป็นผู้สร้าง สวนพฤกษชาติพาเลไทน์ อันมีชื่อเสียงที่ไฮเดลแบร์ก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Philippe I, fils de France, Duke of Orléans) ฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็องเป็นพระราชโอรสองค์ที่สองที่รอดชีวิตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสและอานน์แห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส และทรงเป็นพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส การเป็นพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ทำให้ฟิลิปจึงมีบรรดาศักดิ์เป็น “ฟิลส์เดอฟรองซ์” ใช้ “เดอฟรองซ์” เป็นนามสกุล ฟิลิปสมรสสองครั้ง ครั้งแรกกับเจ้าหญิงเฮนเรียตตา แอนน์ สจวตแห่งอังกฤษผู้เป็นพระราชธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และ เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ ครั้งที่สองกับเอลิซาเบ็ธ ชาร์ลอตต์ แห่งพาลาทิเนทผู้ที่ฟิลิปร่วมก่อตั้งราชวงศ์ออร์เลอ็องซึ่งเป็นสาขาของราชวงศ์บูร์บองและสร้างฐานะร่ำรวยขึ้นมาแต่มาวอดวายไปหมดระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและฟิลิปที่ 1 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1822

ทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 1822 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1957

ทธศักราช 1957 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2143

ทธศักราช 2143 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2143 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2156

ทธศักราช 2156 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1613.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2156 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2159

ทธศักราช 2159 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2159 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2163

ทธศักราช 2163 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2163 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2166

ทธศักราช 2166 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2166 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2168

ทธศักราช 2168 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2168 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2169

ทธศักราช 2169 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2169 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2171

ทธศักราช 2171 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2171 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2172

ทธศักราช 2172 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2172 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2176

ทธศักราช 2176 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2176 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2177

ทธศักราช 2177 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2177 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2178

ทธศักราช 2178 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2178 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2179

ทธศักราช 2179 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2179 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2182

ทธศักราช 2182 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2182 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2183

ทธศักราช 2183 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2183 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2184

ทธศักราช 2184 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2184 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2185

ทธศักราช 2185 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2185 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2186

ทธศักราช 2186 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2186 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2187

ทธศักราช 2187 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2187 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2188

ทธศักราช 2188 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2188 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2189

ทธศักราช 2189 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2189 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2190

ทธศักราช 2190 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2190 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2191

ทธศักราช 2191 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2191 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2192

ทธศักราช 2192 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2192 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2196

ทธศักราช 2196 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2196 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2201

ทธศักราช 2201 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2201 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2202

ทธศักราช 2202 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2202 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2203

ทธศักราช 2203 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2203 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2204

ทธศักราช 2204 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2204 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2356 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล

ระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล (ภาษาอังกฤษ: Commission of Array หรือ Arrayer) เป็นพระราชเอกสารสิทธิ (Letters patent) ที่พระมหากษัตริย์อังกฤษมอบให้แก่เจ้าหน้าที่หรือผู้นำท้องถิ่นในเขตปกครองในการระดมพลจากผู้พำนักอาศัยในท้องถิ่นที่ว่า การะดมไพร่พลมีที่มาจากพันธะโบราณของผู้มีเสรีภาพในการป้องกันบ้านเมือง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการระดม (Commissioner) มักจะเป็นนายทหารที่มีประสบการณ์ที่ได้รับแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ในการระดมพลจากท้องถิ่นต่างๆ แม้ว่ากฎหมายนี้จะเลิกใช้กันภายในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงรื้อฟื้นขึ้นใช้อีกในปี ค.ศ. 1642 (เป็นการโต้ตอบ กฤษฎีการะดมทหารอาสาสมัคร (Militia Ordinance) ที่ออกในปีเดียวกันที่มอบอำนาจให้รัฐสภาแห่งอังกฤษอำนาจในการระดมกองทหาร) ในการระดมกองทัพฝ่ายกษัตริย์นิยมเมื่อเริ่มสงครามกลางเมืองอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชกฤษฎีการะดมไพร่พล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต

ระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต (Hampton Court Palace) เป็นพระราชวังหลวงที่ตั้งอยู่ที่ลอนดอนบะระห์แห่งริชมอนด์อัพพอนเทมส์ 18.8 กิโลเมตร ทางตะวันตกเฉียงใต้ของชาริงครอสในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร และเหนือใจกลางลอนดอนบนฝั่งแม่น้ำเทมส์ เป็นพระราชวังที่ไม่ได้ใช้ประทับโดยพระราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 พระราชวังเดิมสร้างสำหรับพระคาร์ดินัลทอมัส โวลซีย์ ข้าราชสำนักคนโปรดในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ราวปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชวังแฮมป์ตันคอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังไวต์ฮอล

ระราชวังไวต์ฮอล (Palace of Whitehall) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในลอนดอนในสหราชอาณาจักร ที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์อังกฤษในลอนดอนระหว่าง ค.ศ. 1530 - ค.ศ. 1698 ยกเว้นเมื่อตึกเลี้ยงรับรอง (Banqueting House) ที่สร้างโดยอินิโก โจนส์ (Inigo Jones) ในปี ค.ศ. 1622 เกิดเพลิงไหม้ ก่อนที่ไฟจะไหม่พระราชวังไวต์ฮอลเป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปที่ประกอบด้วยห้องทั้งหมดกว่า 1,500 ห้อง ชื่อของวังใช้เป็นชื่อถนนที่เป็นที่ตั้งของพระราชวังที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานบริหารต่างๆ ของรัฐบาลอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชวังไวต์ฮอล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังเซนต์เจมส์

ระราชวังเซนต์เจมส์ (ภาษาอังกฤษ: St. James’s Palace) เป็นพระราชวังที่เก่าแก่ที่สุดพระราชวังหนึ่งในกรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8บนที่เดิมเป็นโรงพยาบาลคนโรคเรื้อนที่อุทิศให้แก่นักบุญเจมส์ ลูกของอัลเฟียส ซึ่งเป็นชื่อที่พระราชวังและอุทยานตั้งตาม โรงพยาบาลถูกยุบเลิกเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชวังเซนต์เจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชอำนาจ

ระราชอภิสิทธิ์ (Royal prerogative) คือประมวลอำนาจ, สิทธิพิเศษ และข้อยกเว้นที่ยอมรับโดยกฎหมายจารีตประเพณี และบางครั้งในกฎหมายแพ่งที่เป็นของสถาบันพระมหากษัตริย์เท่านั้น ซึ่งเป็นวิธีในการใช้อำนาจการปกครองของพระมหากษัตริย์ในการปกครองราชอาณาจักร พระราชอภิสิทธิ์บางข้ออาจจะได้รับการยุบเลิกโดยรัฐสภาแต่ในสหราชอาณาจักรการจะยุบเลิกต้องเป็นไปตามกระบวนการที่ระบุไว้เท่านั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระราชอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส (Louis XIII de France; หลุยส์เตร์ซเดอฟร็องส์) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองผู้ปกครองแผ่นดินฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก (Christian III of Denmark) กษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ครองสิริราชสมบัติช่วง พ.ศ. 2077 - พ.ศ. 2102 พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2047 เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก ที่ประสูติแต่พระนางแอนนาแห่งบรันเดนบูร์กเมื่อพระราชบิดาสวรรคตใน พ.ศ. 2077 เจ้าชายคริสเตียนจึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยในรัชสมัยของพระองค์ได้สถาปนาให้นิกาย ลูเทอแรน นิกายย่อยใน นิกายโปรแตสแตนท์ เป็นศาสนาประจำชาติ พระเจ้าคริสเตียนที่ 3 สวรรคตเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2102 หลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 25 ปีรวมพระชนมายุ 56 พรรษาเจ้าชายเฟรเดอริคพระราชโอรสองค์ใหญ่จึงขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Frederick II of Denmark; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 - 4 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1699 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1588 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 และ โดโรเทียแห่งแซ็กซ-เลาเอินบวร์ก พระองค์ทรงเสกสมรสกับโซฟีแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ พระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 และ แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1588 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน

ระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน (14 เมษายน ค.ศ. 1578 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1621) หากเมื่อเรียกพระนามตามแบบสเปน ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปน และ พระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส ประสูติเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1578 ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน ที่ประสูติแต่สมเด็จพระราชินีแอนนาแห่งสเปน และยังทรงเป็นเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ต่อมาเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 1598 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาในวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1598 ขณะที่พระชนม์ได้ 20 พรรษาพอดี ทรงครองราชย์ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งสเปนเป็นระยะเวลา 23 ปี ทรงอภิเสกสมรสกับเจ้าหญิงมากาเร็ตแห่งออสเตรีย พระเชษฐภคินีของสมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสวรรคตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1621 ขณะพระชนม์ได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน

ระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งสเปน เมื่อเรียกพระนามตามแบบอังกฤษ (สเปน: Felipe IV; อังกฤษ: Philip IV) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์สเปนและโปรตุเกส ทรงดำรงพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสถึง ค.ศ. 1640 พระมหากษัตริย์พระองค์ต่อไปคือ พระเจ้าโจอาวที่ 4 แห่งโปรตุเกส ตั้งแต่ ค.ศ. 1621 - ค.ศ. 1665 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน และ เจ้าหญิงมากาเร็ตแห่งออสเตรีย เป็นพระอนุชาของสมเด็จพระราชินีอานน์แห่งฝรั่งเศส http://www.britannica.com/EBchecked/topic/26258/Anne-of-Austriaและทรงเป็นน้าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส อีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1327 ถึงปี ค.ศ. 1377 พระองค์นับเป็นกษัตริย์อังกฤษผู้ประสบความสำเร็จที่สุดพระองค์หนึ่งในยุคกลาง โดยทรงฟื้นฟูความมั่นคงของราชบัลลังก์ หลังจากที่เสื่อมโทรมลงไปมากในรัชสมัยของพระราชบิดา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และทรงเป็นผู้ที่ทำให้ราชอาณาจักรอังกฤษเป็นรัฐที่มีอำนาจทางทหารมากที่สุดในยุโรป และเป็นรัชสมัยที่มีการวิวัฒนาการทางการปกครองทางนิติบัญญัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิวัฒนาการของระบบรัฐสภา แต่ในสมัยเดียวกันนี้พระองค์ก็ทรงต้องเผชิญกับความหายนะจากกาฬโรคระบาดในยุโรป พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงครองราชย์เป็นเวลานานถึง 50 ปีซึ่งไม่มีพระเจ้าแผ่นดินองค์ใดที่ครองราชย์นานเช่นนั้นตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 และต่อจากนั้นก็ไม่มีพระองค์ใดจนมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในฐานะกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุได้เพียง 14 พรรษา หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 พระราชบิดา ทรงถูกถอดจากการเป็นกษัตริย์ เมื่อพระชนมายุได้ 17 พรรษา พระองค์ก็ทรงเป็นผู้นำในรัฐประหารโค่นล้มโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 1 ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และทรงเริ่มครองราชย์ด้วยพระองค์เอง หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ก็ทรงประกาศอ้างสิทธิ์ของพระองค์ว่าเป็นผู้สืบทอดอันชอบธรรมต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์ (James IV of Scotland) ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์สกอตแลนด์ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 4 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์

ระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์ (James V of Scotland) เป็นกษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พิวริตัน

อห์น เฮาว์ (John Howe) และ ริชาร์ด แบ็กซ์เตอร์ (Richard Baxter) พิวริตัน (Puritan) จาก คริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มคริสต์ศาสนิกชนที่สนับสนุนความเชื่อทางปรัชญาและการกระทำพิธีทางศาสนาที่ “บริสุทธิ์” (“Purity”) กว่า และความเคร่งครัดส่วนบุคคล กลุ่มพิวริตันเชื่อว่าการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ (English Reformation) ยังไม่เพียงพอและคริสตจักรแห่งอังกฤษยังทำพิธีศาสนาที่ไม่ต่างไปจากพิธีศาสนาของศาสนจักรโรมันคาทอลิกเท่าใดนัก คำว่า “พิวริตัน” เป็นคำที่ใช้เรียกแทนคำว่า “คาร์ธาร์” ที่ใช้เรียกผู้ที่มีหัวรุนแรงที่เป็นผู้นับถือลัทธิคาร์ธาริสม์ (Catharism) ในฝรั่งเศส บางครั้งกลุ่มเพียวริตันก็ร่วมมือกับคณะเพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ในการตั้งข้อเสนอเพื่อที่จะทำให้นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ใกล้กับคริสตจักรปฏิรูป (Reformed Churches) บนแผ่นดินใหญ่ยุโรปมากขึ้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพิวริตัน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏต่อแผ่นดิน

การลงโทษโดยการ “แขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่” (Hanged, drawn and quartered) ซึ่งเป็นบทกำหนดการลงโทษของผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฏต่อแผ่นดินในอังกฤษ กบฏต่อแผ่นดิน (High treason) เป็นความผิดทางอาญาในการทรยศต่อประเทศของตนเองซึ่งครอบคลุมการกระทำต่างๆ ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศของตนเอง ที่รวมทั้งการเข้าร่วมสงคราม, การพยายามโค่นล้มรัฐบาล, การสืบความลับทางการทหารหรือทางการทูต, หรือการพยายามสังหารผู้นำของประเทศ การ “กบฏต่อแผ่นดิน” อยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฏต้องมีความสวามิภักดิ์ต่อประเทศที่ตนจงใจที่จะทำร้ายเช่นการเป็นประชาชนของประเทศนั้น แต่การมีที่อยู่อาศัยในประเทศหรือรัฐก็พอเพียง ชาวต่างประเทศที่เป็นสายลับ, ผู้ล่าสังหาร, และผู้ก่อการร้ายแม้ว่าจะไม่เข้าข่ายการเป็นกบฏต่อแผ่นดินอาจจะถูกฟ้องร้องและลงโทษในข้อหาเป็นสายลับ, เป็นผู้ล่าสังหาร, และเป็นผู้ก่อการร้าย แต่ในปัจจุบันผู้ต้องสงสัยในกรณีเหล่านี้มักจะถูกเนรเทศหลังจากถูกจับ ในประวัติศาสตร์ในประเทศที่ใช้ระบบคอมมอนลอว์ (common law) ข้อหาการกบฏต่อแผ่นดินแตกต่างจากกบฏย่อย (petty treason) ซึ่งเป็นการฆ่าผู้มีอำนาจเหนือกว่าตามกฎหมายเช่นผู้รับใช้ฆ่านายซึ่งถือว่าเป็นกรณีการฆาตกรรมที่หนักกว่าปกติ แต่กฎหมายครอบคลุมการกบฏย่อยถูกยุบเลิกกันไปจากประเทศต่างๆ เกือบทั้งสิ้น แนวคิดเกี่ยวกับกบฏย่อยจึงหายไป ในปัจจุบันคำว่า “กบฏ” จึงมักจะหมายถึงการ “กบฏต่อแผ่นดิน” ข้อสังเกตในกฎหมายของแคนาดาแยก “กบฏ” และ “กบฏต่อแผ่นดิน” เป็นสองกรณีแต่อันที่จริงแล้วในทั้งสองกรณีเป็นการกล่าวถึงการกบฏต่อแผ่นดินในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและกบฏต่อแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพตัวแบบใหม่

หน้าปก "กฎ, กฎหมาย และระเบียบการฝึก" ของกองทัพตัวแบบใหม่ กองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและกองทัพตัวแบบใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ฟื้นฟูราชวงศ์ขึ้นใหม่หลังจากสงครามกลางเมือง การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ หรือ ยุคฟื้นฟู (English Restoration หรือ The Restoration) เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1660 เมื่อราชวงศ์อังกฤษ สก็อตแลนด์ และไอร์แลนด์ ได้ก่อตั้งขึ้นใหม่ภายใต้การปกครองของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 หลังจากช่วงสงครามกลางเมืองในปี ค.ศ. 1642 - ค.ศ. 1651.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและการฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

การแต่งงานโดยฉันทะ

้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศสทรงเสกสมรสโดยฉันทะเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1625 และด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ในปีเดียวกัน (ภาพเขียนของทั้งสองพระองค์โดยแอนโทนี แวน ไดค์ (เมษายน ค.ศ. 1634)) การแต่งงานโดยฉันทะ (ภาษาอังกฤษ: Proxy marriage หรือ Proxy wedding) เป็นการแต่งงานโดยที่เจ้าบ่าวหรือเจ้าสาวมิได้ปรากฏตัวในพิธีการแต่งงาน แต่ในพิธีจะให้ผู้มีอำนาจแทนทางกฎหมาย, ผู้แทน, ผู้รับฉันทะแสดงตัวเป็นตัวแทนผู้ที่ไม่สามารถปรากฏตัวได้ ถ้าทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวไม่สามารถปรากฏตัวได้ก็จะเรียกการแต่งงานว่าเป็นแบบ “การแต่งงานโดยฉันทะซ้อน” (Double-proxy Marriage).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและการแต่งงานโดยฉันทะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษี

ษี (tax, มาจากภาษาละติน taxo, "ข้าประเมิน") เป็นเงินหรือสิ่งของอื่นที่รัฐหรือสถาบันปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐเรียกเก็บจากผู้เสียภาษี ซึ่งอาจเป็นปัจเจกบุคคลหรือนิติบุคคลก็ได้ กฎหมายมีบทลงโทษผู้ที่ไม่เสียภาษี ระบอบต่ำกว่ารัฐ (subnational entity) จำนวนมากยังมีการเรียกเก็บภาษีเช่นกัน ภาษีประกอบด้วยภาษีทางตรงและภาษีทางอ้อม และอาจจ่ายเป็นรูปตัวเงินหรือการใช้แรงงานที่เทียบเท่า (มักเป็นการใช้แรงงานที่ไม่มีค่าตอบแทน แต่ไม่เสมอไป) ภาษีอาจนิยามได้ว่า "ภาระที่เป็นตัวเงินซึ่งตกแก่ปัจเจกบุคคลหรือเจ้าของทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนรัฐบาล เป็นการชำระซึ่งเรียกเอาจากองค์การใช้อำนาจนิติบัญญัติ"Black's Law Dictionary, p. 1307 (5th ed. 1979).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและภาษี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษีตันภาษีปอนด์

ษีตันภาษีปอนด์ (ภาษาอังกฤษ: Tonnage and Poundage) เป็นภาษีอากรที่เริ่มใช้ครั้งแรกในรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 ซึ่งระบุเรียกเก็บสำหรับไวน์ทุกถัง (“tun”) ที่นำเข้าซึ่งส่วนใหญ่มาจากสเปนและ โปรตุเกส และสินค้าทุกปอนด์ที่นำออกและนำเข้า ตามธรรมเนียมแล้วภาษีตันภาษีปอนด์เป็นสิทธิที่รัฐสภาแห่งอังกฤษมอบให้พระมหากษัตริย์ชั่วพระชนม์ชีพจนกระทั่งมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ภาษีตันภาษีปอนด์ก็ถูกเปลี่ยนแปลงโดยรัฐสภาตามพระราชบัญญัติการยุบอากร(Customs Consolidation Act of 1787) ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและภาษีตันภาษีปอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอดจ์ฮิลล์

ทธการที่เอดจ์ฮิลล์ (Battle of Edgehill) เป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 1642 ที่เมืองเอดจ์ฮิลล์ในเทศมณฑลวอริกเชอร์ในอังกฤษ เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพของฝ่ายนิยมกษัตริย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ที่นำโดยเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ กับฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยรอเบิร์ต เดเวอรู เอิร์ลที่ 3 แห่งเอสเซกซ์ ผลของสงครามครั้งนี้ไม่มีฝ่ายใดแพ้ไม่มีฝ่ายใดชนะ ฝ่ายนิยมกษัตริย์เสียชีวิต 500 คนและบาดเจ็บ 1,500 คนส่วนฝ่ายรัฐสภาเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนเท่ากัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและยุทธการที่เอดจ์ฮิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เนสบี

ทธการที่เนสบี (Battle of Naseby) ยุทธการที่เนสบีเป็นยุทธการในสงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1645 ที่หมู่บ้านเนสบีในเทศมณฑลนอร์แทมป์ตันเชอร์ในอังกฤษ โดยกองทัพของฝ่ายนิยมกษัตริย์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ที่นำโดยเจ้าชายรูเพิร์ตแห่งไรน์ พ่ายแพ้ต่อฝ่ายรัฐสภาที่นำโดยทอมัส แฟร์แฟกซ์ ลอร์ดแฟร์แฟกซ์ที่ 3 แห่งแคเมอรอน และโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ฝ่ายนิยมกษัตริย์เสียชีวิตด้วยกันทั้งสิ้น 1,000 คนและถูกจับเป็นเชลยอีก 5,000 คน ส่วนฝ่ายฝ่ายรัฐสภาเสียชีวิตและบาดเจ็บ 400 คน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและยุทธการที่เนสบี · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปภาคพื้นทวีป

รปภาคพื้นทวีป ยุโรปภาคพื้นทวีป (Continental Europe) หรือยุโรปแผ่นดินใหญ่ (Mainland Europe) หรือทวีป (the Continent) คือแผ่นดินทวีปยุโรปที่ยกเว้นเกาะต่างๆ และบางครั้งก็ยกเว้นคาบสมุทร ในการใช้ในอังกฤษคำนี้นี้หมายถึงทวีปยุโรปที่ยกเว้นสหราชอาณาจักร, เกาะแมน, ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์ ความหมายโดยทั่วไปของ “ยุโรปภาคพื้นทวีป” หมายถึง “ยุโรปแผ่นดินใหญ่ที่ไม่รวมสหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์” ประเทศเกาะอื่นที่ไม่รวมคือไซปรัสและมอลตา แต่ในบริเวณอื่นของยุโรปความหมายของคำนี้อาจจะแตกต่างออกไป เช่นในบางคำจำกัดความก็ขยายไปถึงประเทศภายในเทือกเขายูราลและเทือกเขาคอเคซัสWA.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและยุโรปภาคพื้นทวีป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภายาว

การประชุมของรัฐสภายาว รัฐสภายาว (ภาษาอังกฤษ: Long Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษสมัยหนึ่งที่ถูกเรียกโดยสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1640 หลังจากที่สงครามบาทหลวง (Bishops' Wars) สิ้นสุดลง นามของสภาที่ได้รับเป็นเพราะเป็นสมัยประชุมที่ได้รับอนุมัติจากพระราชบัญญัติพิเศษเพื่อเป็นการป้องกันจากการยุบโดยมิได้รับมติเห็นชอบจากสมาชิกของรัฐสภาเอง สมาชิกของรัฐสภาก็มิได้ยุบสภานี้จนกระทั่งหลังจากสงครามกลางเมืองอังกฤษ และหลังจากสมัยไร้กษัตริย์ ในปี ค.ศ. 1660 16 March 1660 รัฐสภาเริ่มเปิดประชุมครั้งแรกในปี ค.ศ. 1640 แต่มาหยุดชะงักลงชั่วคราวในปี ค.ศ. 1649 เมื่อผู้สนับสนุน “กองทัพตัวอย่าง” ลาออก รัฐสภาหลังจากการหยุดชะงักก็กลายเป็น “รัฐสภารัมพ์” (Rump Parliament) ระหว่างสมัยการปกครองของรัฐบาลผู้พิทักษ์อังกฤษ (The Protectorate) รัฐสภารัมพ์ก็ถูกแทนด้วยการประชุมรัฐสภาอื่นๆ แต่ก็ถูกเรียกกลับมาหลังจากที่โอลิเวอร์ ครอมเวลล์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1658 โดยฝ่ายทหารเพื่อช่วยพยุงฐานะของการทหาร เมื่อไม่สำเร็จ นายพลจอร์จ มองค์ (George Monck, 1st Duke of Albemarle) ก็อนุญาตให้ผู้ที่ถูกกีดกันจากรัฐสภาในปี ค.ศ. 1649 กลับมาเข้าร่วมประชุมได้อีก เพื่อที่จะทำให้สามารถผ่านกฎหมายที่จำเป็นในการฟื้นฟูราชวงศ์และยุบรัฐสภายาวเอง ซึ่งเป็นการปูทางสำหรับรัฐสภาที่จะได้รับเลือกตั้งใหม่ที่เรียกว่า “รัฐสภาคอนเว็นท์ชั่น” (Convention Parliament).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐสภายาว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภารัมป์

รัฐสภารัมป์ (ภาษาอังกฤษ: Rump Parliament) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งที่เกิดจากการยึดรัฐสภายาวโดยนายพันทอมัส ไพรด์ (Thomas Pride) เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1648 ซึ่งเป็นรัฐสภาที่ประกอบด้วยสมาชิกที่มีเสียงข้างมากในการเป็นปฏิปักษ์ต่อการพิจารณาโทษของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษในข้อหากบฏต่อแผ่นดิน “รัมป์” ตามปกติหมายถึงส่วนบั้นท้ายของสัตว์ แต่บันทึกของการใช้ในความหมายนี้หมายถึง “เศษ” ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐสภารัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสั้น

รัฐสภาสั้น (Short Parliament; 13 เมษายน ค.ศ. 1640 – 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1640) เป็นชื่อของรัฐสภาแห่งอังกฤษรัฐสภาหนึ่งของสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ที่มีอายุเพียงสามอาทิตย์ หลังจากที่พระเจ้าชาร์ลส์ทรงปกครองอังกฤษภายใต้สมัยการปกครองส่วนพระองค์ (Personal Rule) อยู่สิบเอ็ดปี พระองค์ก็เรียกประชุมรัฐสภาในปี ค.ศ. 1640 โดยการถวายคำแนะนำโดยทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 พระเจ้าชาร์ลส์ทรงถูกบังคับให้เรียกประชุมรัฐสภาเพื่อที่จะหาทุนในการสนับสนุนสงครามบาทหลวง (Bishops' Wars) ต่อสกอตแลนด์ แต่ก็เช่นเดียวกับรัฐสภาชุดก่อนหน้านั้นที่มีความสนใจในเสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ที่เกี่ยวกับวิธีการปกครองของพระเจ้าชาร์ลส์อันไม่ยุติธรรมแทนที่จะสนใจกับการอนุมัติเงินในการทำสงคราม จอห์น พิม (John Pym) สมาชิกรัฐสภาจากทาวิสสต็อคกลายเป็นผู้นำในการเรียกร้องและกล่าวสุนทรพจน์อย่างยืดยาวเมื่อวันที่ 17 เมษายนที่มีใจความว่านอกจากว่าพระเจ้าชาร์ลส์จะทรงยอมรับฟังข้อเรียกร้องต่างๆ สภาสามัญชนก็จะไม่ยอมออกเสียงสนับสนุนทุนการสงครามของพระองค์ ส่วนจอห์น แฮมพ์เด็น (John Hampden) พยายามชักชวนเป็นการภายในและเป็นสมาชิกของคณะกรรมการต่างๆ เก้าคณะกรรมการ พระเจ้าชาร์ลส์ทรงพยายามต่อรองโดยทรงเสนอว่าจะหยุดเก็บภาษีเรือ แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจของรัฐสภา ขณะเดียวกันคำร้องต่างๆ ของการใช้อำนาจในทางที่ผิดก็หลั่งไหลเข้ามาจากทั่วประเทศ เมื่อทรงหมดความอดทนกับการกลับมาโต้แย้งของรัฐสภาที่ทิ้งไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1629 และการบิดเบือนสถานการณ์ที่เลวลงในสกอตแลนด์ พระเจ้าชาร์ลส์ก็ตัดสินพระทัยยุบรัฐสภาเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1640 หลังจากที่ประชุมกันได้เพียงสามอาทิตย์ “รัฐสภาสั้น” ตามมาด้วย “รัฐสภายาว”.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐสภาสั้น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาอังกฤษ

รัฐสภาอังกฤษและพระมหากษัตริย์ ราว ค.ศ. 1300 รัฐสภาอังกฤษ (Parliament of England) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในราชอาณาจักรอังกฤษ รัฐสภาอังกฤษวิวัฒนาการมาจากสภาของต้นยุคกลางซึ่งมีหน้าที่ให้คำปรึกษาต่อพระมหากษัตริย์อังกฤษ การวิวัฒนาการทำให้อำนาจของรัฐสภาเพิ่มมากขึ้นในขณะที่อำนาจของพระมหากษัตริย์ลดน้อยลง เมื่อรัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ลงนามในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 ซึ่งรวมราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เข้าด้วยกัน รัฐสภาอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ก็ถูกยุบ รัฐสภาใหม่กลายเป็นรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่ และในที่สุดก็เป็นรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นรากฐานของระบบรัฐสภาของอังกฤษในปัจจุบัน ซึ่งทำให้ระบบรัฐสภาของสหราชอาณาจักรเป็นระบบรัฐสภาที่เก่าแก่ที่สุดในโลกจนได้รับสมญานามว่า “แม่แห่งรัฐสภา” ซึ่งเป็นระบบประชาธิปไตยที่เป็นรากฐานของมาตรฐานในการก่อตั้งระบบรัฐสภาทั่วโลก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐสภาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐของสหรัฐ

แผนที่ สหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งชื่อรัฐ (อะแลสกา และ ฮาวาย ไม่ได้จัดตามมาตราส่วน) รัฐ (State, แต่สำหรับ รัฐเคนทักกี รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐเพนซิลเวเนีย และ รัฐเวอร์จิเนีย ใช้คำว่า Commonwealth) ในสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีอธิปไตยในการปกครองตนเองร่วมกับรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรัฐทั้งหมด 50 รัฐ ในแต่ละรัฐแบ่งเป็นหลายเคาน์ตี (county) แต่ละเคาน์ตีแบ่งเป็นหลายเมือง (city) แต่ละรัฐมีผู้ว่าการรัฐหนึ่งคน และมีสภานิติบัญญัติประจำรั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐของสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนอร์ทแคโรไลนา

รัฐนอร์ทแคโรไลนา เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐนอร์ทแคโรไลนา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี. และ มหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐเทนเนสซี ทางทิศใต้ ติดต่อกับรัฐเคนทักกี และ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ทางทิศตะวันตก เวอร์จิเนียประกอบไปด้วย 95 เคาน์ตี และ 39 เมืองอิสระ จุดสูงสุดในรัฐคือ เมาต์โรเจอส์ และจุดต่ำสุดในรัฐคือมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐเวอร์จิเนีย ตั้งตามชื่อของ สมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ หรือราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์ (The Virgin Queen) รัฐเวอร์จิเนียเป็นบ้านเกิดของประธานาธิบดี 8 คน ซึ่งรวมถึง จอร์จ วอชิงตัน และ โทมัส เจฟเฟอร์สัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐเวอร์จิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเซาท์แคโรไลนา

ซาท์แคโรไลนา (South Carolina) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ชื่อของรัฐตั้งตั้งตามชื่อของ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ของอังกฤษ โดยคำว่า กาโรลุส (Carolus) เป็นภาษาละตินของคำว่า ชาลส์ (Charles) ประชากรในรัฐมี 4,198,068 (ข้อมูล พ.ศ. 2547) เมืองหลวงของรัฐ ชื่อ โคลัมเบีย และเมืองสำคัญอื่นคือ ชาร์ลสตัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรัฐเซาท์แคโรไลนา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สจวต

ตราประจำพระองค์สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ กษัตริย์พระองค์แรกของราชวงศ์สจวต ราชวงศ์สจวต อังกฤษ: House of Stuart หรือ Stewart) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ซึ่งภายหลังได้ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษ และได้ปกครองราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ได้ทรงรับเอาการสะกดชื่อพระราชวงศ์ว่า Stuart มาจากภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ในฝรั่งเศสยืนยันว่าในภาษาสกอต Stewart นั้นออกเสียงได้ถูกต้องแล้ว ชื่อราชวงศ์มาจากพระอิสสริยยศโบราณของสกอตแลนด์ สจวตสูงแห่งสกอตแลนด์ (High Steward of Scotland) ราชวงศ์สจวตปกครองราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นเวลานาน 336 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 1914 ถึงปี พ.ศ. 2250 องค์รัชทายาทที่ใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษคือสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษโดยผ่านทางสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ทิวดอร์ เจมส์ สจวตสืบทอดราชบัลลังก์ทั้งราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ พระองค์ทรงครองราชบัลลังก์ของทั้ง 3 ชาติ (Home Nations) (และยังสืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของกษัตริย์อังกฤษด้วย) ในระหว่างปี พ.ศ. 2146 ถึง พ.ศ. 2250 ในระยะหลังราชวงศ์สจวตได้สถาปนาตนเองเป็น กษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่ (Kings/Queens of Great Britain) จนถึงรัชสมัยของราชินีองค์สุดท้ายของราชวงศ์สจวตคือสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ราชวงศ์ฮาโนเวอร์ได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อเนื่องจากพระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ พ.ศ. 2244 (Act of Settlement 1701) ที่กำหนดให้ผู้ที่สามารถขึ้นครองราชย์ต่อไปต้องเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อประโยชน์ในการรวมไอร์แลนด์ให้อยู่ภายใต้รัฐบาลลอนดอน ในปัจจุบันยังคงมีสมาชิกของราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายราชวงศ์สจวตมีชีวิตอยู่ และยังคงมีผู้ที่ยังคงสนับสนุนราชวงศ์สจวตอยู่ เรียกขานกันว่า พวกจาโคไบท์ (Jacobite) โดยขบวนการนี้ถือเอา ฟรานซ์ ดยุคแห่งบาวาเรีย เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ และ ฝรั่งเศสโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชวงศ์สจวต · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์

ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ (Rìoghachd na h-Alba; Kinrick o Scotland; Kingdom of Scotland) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรประหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอังกฤษ

ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชอาณาจักรอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ภาษาเกลลิค: Ríocht na hÉireann; ภาษาอังกฤษ: Kingdom of Ireland) เป็นชื่อที่เรียกรัฐไอร์แลนด์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์

ระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐแห่งราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ตามธรรมเนียม พระมหากษัตริย์แห่งชาวสกอตพระองค์แรกคือ สมเด็จพระเจ้าเคนเนธ แม็คอัลปินที่ 1 (ซีเนียด แม็คอัลปิน) ผู้ทรงสถาปนารัฐเอกราชขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ครอมเวลล์

ริชาร์ด ครอมเวลล์ (Richard Cromwell) เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1626 ที่ เคมบริดจ์เชอร์ เป็นบุตรชายของ โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ เจ้าผู้พิทักษ์ แห่ง รัฐผู้พิทักษ์ ต่อมาเมื่อบิดาถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1658 เขาจึง ขึ้นมาเป็น เจ้าผู้พิทักษ์ แทนบิดาแต่ก็ไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้คนเหมือนสมัยของบิดาเพราะขาดความสามารถและมิได้สานต่อนโยบายของบิดา จนในที่สุดก็ถูกนายทหารกลุ่มหนึ่งปลดจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1659 ริชาร์ด ครอมเวลล์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1712 ขณะอายุได้ 85 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2169 หมวดหมู่:ขุนนางอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและริชาร์ด ครอมเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิบูชา

ในทางสังคมวิทยา ลัทธิบูชา (Cult) หรือลัทธิ หมายถึง กลุ่มคนที่มีความเชื่อและการปฏิบัติตนแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากคนส่วนใหญ่ในสังคม เนื่องจากระบุลงไปได้ยากว่าเบี่ยงเบนถึงระดับไหนจึงเรียกว่าลัทธิ ทำให้ยังมีปัญหาในการนิยามคำดังกล่าวให้ชัดเจน และมักใช้ในความหมายเชิงลบ นักสังคมวิทยาเริ่มให้ความสนใจศึกษาพฤติกรรมทางศาสนาของลัทธิบูชาต่าง ๆ มาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 จนพบว่าหลายกลุ่มถูกตีตราว่าเป็นพวกนอกรีต จนถึงขึ้นมีขบวนการต่อต้านลัทธิเกิดขึ้นภายในศาสนาต่าง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและลัทธิบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคาลวิน

ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและลัทธิคาลวิน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ลอด

วิลเลียม ลอด (William Laud) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1573 - (10 มกราคม ค.ศ. 1645) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีระหว่างปี ค.ศ. 1633 ถึงปี ค.ศ. 1645 ผู้สนับสนุนนิกายแองกลิคันและเป็นปฏิปักษ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มพิวริตัน วิลเลียม ลอดสนับสนุนนโยบายทางศาสนาของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้ถูกประหารชีวิตระหว่างสงครามการเมืองอังกฤษที่หอคอยแห่งลอนดอน วิลเลียม ลอด เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1573ที่เรดดิงในบาร์คเชอร์ ในครอบครัวที่ไม่มีฐานะทางสังคม บิดาของลอดเป็นพ่อค้าผ้า ได้รับการศึกษาที่โรงเรียนเรดดิงและวิทยาลัยเซนต์จอห์น (มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด อ๊อกซฟอร์ด) วิลเลียม ลอดเข้าพิธีบัพติศมาที่โบสถ์เซนต์ลอเรนซ์ที่เรดดิง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและวิลเลียม ลอด · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขุนนาง

นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสภาขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยการปกครองส่วนพระองค์

มเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ สมัยการปกครองส่วนพระองค์ หรือ สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่ (ภาษาอังกฤษ: Personal Rule หรือ Eleven Years' Tyranny) เป็นช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1629 จนถึงปี ค.ศ. 1640 เมื่อสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทรงปกครองอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์โดยไม่มีรัฐสภา การกระทำของพระองค์แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ทรงมีสิทธิที่จะทำได้ตามพระราชอภิสิทธิ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยกฎหมายจารีตประเพณี แต่การกระทำของพระองค์เป็นสิ่งที่ก่อความไม่พึงพอใจแก่ชนชั้นปกครอง ก่อนหน้านั้นพระเจ้าชาร์ลส์ก็ทรงยุบสภาไปแล้วสามครั้งในปี ค.ศ. 1628 หลังจากการฆาตกรรมของจอร์จ วิลเลียรส์ ดยุคแห่งบัคคิงแฮมที่ 1ผู้มีความรับผิดชอบในนโยบายการต่างประเทศแล้ว รัฐสภาก็เริ่มติเตียนพระเจ้าชาร์ลส์หนักยิ่งขึ้น พระองค์ทราบว่าตราบใดที่ทรงเลี่ยงการทำสงครามได้พระองค์ก็สามารถปกครองบ้านเมืองได้โดยไม่ต้องพึ่งรัฐสภา นักประวัติศาสตร์พรรควิกบางทีก็เรียกยุคนี้ว่า “สมัยสิบเอ็ดปีแห่งความกดขี่” ซึ่งเป็นการชี้ให้เห็นถึงประเภทการปกครองที่ใช้ในช่วงระยะเวลานั้น ซึ่งต่อมาเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่เมื่อไม่นานมานี้กลุ่มนักประวัติศาสตร์สังคายะนากล่าวถึงยุคนี้ว่าเป็นช่วงของการ “การปฏิรูปสร้างสรรค์” (Creative Reform) ซึ่งเป็นการกล่าวถึงพระราชกรณียกิจของพระเจ้าชาร์ลส์ในการวางโครงสร้างทางการเมืองของอังกฤษในช่วงระยะเวลานั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมัยการปกครองส่วนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (Mary I) หรือ แมรี สจวต (Mary Stuart) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐ

รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามสิบปี

งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและสงครามสามสิบปี · ดูเพิ่มเติม »

อัยการ

ำสำคัญ "อัยการ" มีความหมายว่า การของเจ้า, โดยสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและอัยการ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและอันโตน ฟัน ไดก์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 43 (Archbishop of Canterbury) เป็นอัครมุขนายกและผู้นำหลักของคริสตจักรแห่งอังกฤษ เป็นประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลกและบิชอปประจำมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี อัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีคนปัจจุบันคือศาสนาจารย์จัสติน เวลบี (Justin Welby) เป็นอัครมุขนายกคนที่ 105 ซึ่งสืบตำแหน่งที่ตกทอดมากว่า 1400 ปีจากนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีผู้ก่อตั้งคริสตจักรโรมันคาทอลิกในอังกฤษในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี

อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี (Canterbury Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองแคนเทอร์เบอรี ในสหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี ซึ่งเป็นผู้นำคริสตจักรแห่งอังกฤษและผู้นำเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียน และเป็นที่ตั้งอาสนะของนักบุญออกัสติน (Chair of St. Augustine) ชื่อที่เรียกกันเป็นทางการของอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรีคือ “อาสนวิหารและคริสตจักรมหานครของพระคริสต์ เมืองแคนเทอร์เบอร์รี” (Cathedral and Metropolitical Church of Christ at Canterbury).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและอาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง กาลแว็ง

็อง กาลแว็ง (Jean Calvin) หรือจอห์น คาลวิน (John Calvin) เป็นนักเทววิทยาศาสนาคริสต์และศิษยาภิบาลชาวฝรั่งเศสสมัยการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ แนวคิดทางเทววิทยาที่กาลแว็งพัฒนาขึ้นเรียกว่าลัทธิคาลวิน ซึ่งแพร่หลายอยู่ในหลายนิกาย เช่น คริสตจักรปฏิรูป คริสตจักรคองกริเกชันแนล เพรสไบทีเรียน เป็นต้น เดิมกาลแว็งเป็นนักกฎหมายที่มีแนวคิดแบบมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และได้ถอนตัวออกจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและฌ็อง กาลแว็ง · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น มิลตัน

กวีนิพนธ์เรื่อง "สวรรค์หาย" ของจอห์น มิลตัน จอห์น มิลตัน (John Milton, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2151 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2217) เป็น กวี เกิดในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และใช้เวลา 6 ปีเต็มในการพักผ่อนไปและศึกษาไปที่ฮอร์ตันซึ่งมิลตันกล่าวว่าเป็นการเตรียมตัวเข้าสู่ชีวิตแห่งการเป็นกวี ที่ฮอร์ตัน มิลตันได้เขียนงานชื่อ L’Allegro และ Il Penseroto (พ.ศ. 2175) Comus (พ.ศ. 2176) และ Lycidas (พ.ศ. 2180) มิลตันจบการศึกษาอย่างเป็นทางการด้วยการไปทัศนศึกษาที่ประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2181-82) กวีนิพนธ์ในภาษาละติน อันเป็นความสามารถที่โดดเด่น ทำให้มิลตันได้รับปริญญาเกียรตินิยม การมีหัวปฏิวัติที่รุนแรงในระหว่างสงครามกลางเมืองทำให้มิลตันมีชิ้นงานออกมาน้อยมากซึ่งเป็นเวลาต่อเนื่องกันถึง 20 ปี มีจะก็เพียงงานโคลง “ซอนเน็ท” (Sonnets-โครงชนิดหนึ่งมี 14 บรรทัด) ออกมาเป็นครั้งคราว เมื่อมิลตันกลับลอนดอนในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและจอห์น มิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand II, Holy Roman Emperor) (9 กรกฎาคม ค.ศ. 1578 - 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1619 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637 พระองค์ครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิแม็ทไธยัสผู้ทรงเป็นลูกพี่ลูกน้องกัน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1

ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Thomas Wentworth, 1st Earl of Strafford) (13 เมษายน ค.ศ. 1593 - 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1641) ทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้มีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ก่อนหน้าที่จะนำไปสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ ทอมัส เวนท์เวิร์ธรับราชการในรัฐสภาและเป็นฝ่ายสนับสนุนพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ระหว่างปี ค.ศ. 1632 ถึงปี ค.ศ. 1639 ทอมัส เวนท์เวิร์ธมีหน้าที่เป็นผู้ปกครองไอร์แลนด์ผู้ปกครองอย่างข่มขี่ ทอมัส เวนท์เวิร์ธถูกเรียกตัวกลับมาอังกฤษเพื่อทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของพระเจ้าชาร์ลส์ในการสร้างความมั่นคงให้แก่พระองค์ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐสภา ในบั้นปลายทอมัส เวนท์เวิร์ธถูกกล่าวโทษโดยรัฐสภาและในที่สุดก็ถูกสำเร็จโทษเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1641 ทอมัส เวนท์เวิร์ธเกิดในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1593 เป็นลูกของวิลเลียม เวนท์ เวิร์ทแห่งเวนท์ เวิร์ทวูดเฮาส์จากยอร์คเชอร์และแอนน์ ลูกสาวของเซอร์โรเบิร์ต แอตคินส์แห่งสโตเวลล์ (Robert Atkins of Stowell) จากกลอสเตอร์เชอร์ ทอมัส เวนท์เวิร์ธได้รับการศึกษาที่วิทยาลัยเซนต์จอห์น, เคมบริดจ์ และศึกษากฎหมายที่อินเนอร์เทมเปิล ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและทอมัส เวนท์เวิร์ธ เอิร์ลแห่งสตราฟฟอร์ดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งยอร์ก

กแห่งยอร์ก (Duke of York) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุก ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ โดยมักจะพระราชทานให้กับพระราชโอรสพระองค์รอง โดยมีศักดิ์เทียบเท่ากับบรรดาศักดิ์ "ดยุกแห่งอัลบานี"ในระบบบรรดาศักดิ์ของสก็อตแลนด์ ดยุกแห่งยอร์กพระองค์แรกคือเจ้าชายเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก และพระองค์ปัจจุบันคือเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก ในประวัติศาสตร์อังกฤษได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งหมด 11 สมัย โดย 5 สมัยในฐานะ "ดยุกแห่งยอร์ก" ก่อนพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800, 3 สมัยในฐานะ "ดยุกแห่งยอร์กและอัลบานี" ในบรรดาศักดิ์ของบริเตนใหญ่ และอีก 3 สมัยในฐานะ "ดยุกแห่งยอร์ก" ในบรรดาศักดิ์ของสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2004 เมื่อทายาทของเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ผู้ถือบรรดาศักดิ์นี้อีกสิบคนต่อมาไม่สามารถสืบทอดบรรดาศักดิ์นี้แก่ทายาทเลย โดยมักจะสิ้นพระชนม์โดยไร้ทายาทชาย หรือไม่ก็กลายเป็นพระมหากษัตริย์เสียเอง.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งรอธเซย์

กแห่งรอธเซย์ (Duke of Rothesay) เป็นยศสำหรับทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงแห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ซึ่งรัชทายาทองค์ปัจจุบันคือเจ้าชายชาลส์ เดิมทียศนี้เป็นยศของรัชยาทแห่งสกอตแลนด์ระหว่างปี 1398 ถึง 1707 หลังจากนั้นก็กลายเป็นยศของรัชทายาทแห่งบริเตนใหญ่จนกระทั่งมีการตราพระราชบัญญัติสหภาพขึ้นในปี 1801 ยศนี้ก็กลายเป็นหนึ่งในบรรดายศของรัชทายาทสหราชอาณาจักร เมื่อมีการออกพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักรในประเทศสกอตแลนด์ (เอกราชราชการ, สื่อต่างๆ) แทนที่จะออกพระนามว่าเจ้าชายแห่งเวลส์ ก็จะออกพระนามเป็นยศนี้แทน ยศนี้ถูกสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งรอธเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งออลบานี

แห่งอัลบานี (Duke of Albany) เป็นบรรดาศักดิ์สืบตระกูลที่พระราชทานให้แก่พระโอรสคนรองในพระราชวงศ์ของสกอตแลนด์ และต่อมาภายหลังในพระราชวงศ์ของสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะภายในราชวงศ์สจวต และราชวงศ์วินด์เซอร.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งออลบานี · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งคอร์นวอลล์

กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ

“คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ” หอเอกสารแห่งชาติ, ลอนดอน คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ (Petition of Right) เป็นเอกสารที่สำคัญที่สุดฉบับหนึ่งในรัฐธรรมนูญของอังกฤษที่ระบุเสรีภาพบางประการของประชาราษฎรที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงมีสิทธิที่จะแตะต้องได้ คำร้องขอนี้เป็นเอกสารที่ร่างโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษก่อนหน้าที่จะเข้าสู่สงครามกลางเมืองอังกฤษ คำร้องขอได้รับการอนุมัติจากรัฐสภาเมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและคำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูเอล พีพส์

ซามูเอล พีพส์ (ภาษาอังกฤษ: Samuel Pepys ออกเสียงเหมือนคำว่า “peeps”) (23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1633 - 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1703) ซามูเอล พีพส์เป็นนักการบริหารของราชนาวีอังกฤษและสมาชิกรัฐสภาชาวอังกฤษผู้มีผลงานอนุทินที่มีชื่อเสียง แม้ว่าพีพส์จะไม่มีประสบการณ์ทางนาวีโดยตรงและก็ได้รับการเลื่อนตำแหน่งขึ้นมาโดยมีผู้สนับสนุนและจากการทำงานหนักและความสามารถทางด้านการบริหารจนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็นเลขาธิการของผู้บังคับบัญชาการกองเรือสูงสุดภายใต้สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 การปฏิรูปทางการนาวีเป็นส่วนสำคัญของประวัติศาสตร์ราชนาวีอังกฤษ รายละเอียดของอนุทินส่วนตัวที่พีพส์เขียนระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและซามูเอล พีพส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

แมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา (ภาษาอังกฤษ: Mary of Modena) (5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 – 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718) สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนามีพระนามเต็มว่า แมรี เบียทริส เอเลเนอร์ แอนนา มาร์เกอริตา อิสซาเบลลา เดสเต (Maria Beatrice Eleanor Anna Margherita Isabella d'Este) ประสูติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1658 ที่วังดยุก โมดีนา ประเทศอิตาลี เป็นพระธิดาของอัลฟองโซที่ 4 ดยุกแห่งโมดีนาและลอรา มาร์ตินอซซิ เป็นพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1688 และสิ้นพระชนม์เมื่อ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1718 ที่วังซองเจอร์เมนอองเลย์ ปารีส ฝรั่งเศส พระศพอยู่ที่ Chaillot สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนาไม่ทรงเป็นที่นิยมของประชาชนอังกฤษเพราะทรงเป็นเป็นโรมันคาทอลิก เป็นพระมารดาของ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต ประสูติเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแมรีแห่งโมดีนา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แองกลิคัน

นิกายแองกลิคัน (Anglicanism) คือคำที่กล่าวถึงความเชื่อหรือการปฏิบัติของนิกายศาสนาคริสต์ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับ หรือ มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคริสตจักรแห่งอังกฤษ คำว่า “อังกลิคัน” มาจากคำว่า “ecclesia anglicana” ในภาษาละตินยุคกลางที่ใช้กันมาตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแองกลิคัน · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์ ไฮด์

ลดี้แอนน์ ไฮด์ (Anne Hyde) เกิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1638 และเสียชีวิตเมื่อ 31 มีนาคม ค.ศ. 1671 เลดี้แอนน์ ไฮด์เป็นธิดาของ เอ็ดเวิร์ด ไฮด์ เอิร์ลแห่งแคลเร็นดอนที่ 1 และ ฟรานซ ไฮด์ เคานทเตสแห่งแคลเร็นดอน แอนน์ ไฮด์เป็นภรรยาคนแรกของดยุคเจมส์แห่งยอร์คผู้ต่อมาขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเป็นสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระมารดาของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแอนน์ ไฮด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1589 และเป็นพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1589 กระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1619 ที่พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตในอังกฤษ พระศพของพระองค์ตั้งอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ แอนน์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1589 เมื่อพระชนมายุได้ 14 พรรษา มีพระโอรสธิดาสามพระองค์ที่รอดมาได้จนโตรวมทั้งพระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระองค์ทรงเป็นผู้มีความเด็ดเดี่ยวพอที่จะทรงใช้ความแตกแยกของการเมืองในสกอตแลนด์เป็นเครื่องมือในการเรียกร้องสิทธิในตัวพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ จากพระเจ้าเจมส์ ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงรักพระเจ้าเจมส์ในตอนแรก แต่ต่อมาทั้งสองพระองค์ก็ทรงห่างเหินจากกัน จนในที่สุดก็ทรงแยกกันอยู่ แต่ก็ยังคงทรงมีความนับถือซึ่งกันและกันอยู่บ้าง เมื่อประทับอยู่ในอังกฤษ พระองค์ทรงหันความสนใจจากทางด้านการเมืองที่เป็นฝักเป็นฝ่ายไปเป็นการอุปถัมภ์ศิลปะ และการสร้างราชสำนักที่หรูหราของพระองค์เอง ทรงจัดให้มีการพบปะในซาลอนที่ทำให้เป็นราชสำนักของพระองค์เป็นราชสำนักที่มีวัฒนธรรมสูงที่สุดสำนักหนึ่งในยุโรป หลังจากปี ค.ศ. 1612 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ก็เริ่มเสื่อมลง จนในที่สุดก็ทรงถอนตัวจากราชสำนัก ตามทางการแล้วพระราชินีแอนน์สวรรคตในฐานะที่เป็นโปรเตสแตนต์ แต่หลักฐานบางอย่างบ่งชี้ให้เห็นว่าอาจจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกขณะใดขณะหนึ่งระหว่างที่ยังมีพระชนม์อยู่ นักประวัติศาสตร์เดิมไม่ได้เห็นว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีที่มีความสำคัญมากเท่าใดนัก และออกจะเป็นผู้มีความหลงพระองค์เอง แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความเห็นเกี่ยวกับพระองค์ก็เริ่มจะเปลี่ยนไปโดยเริ่มมีความเห็นกันว่าพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวเป็นตัวของตัวเองโดยเฉพาะทรงเป็นผู้มีความสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ทางศิลปะระหว่างสมัยจาโคเบียน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Catherine of Braganza) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1638 - 31 ธันวาคม ค.ศ. 1705) ทรงเป็น"เจ้าหญิงแห่งโปรตุเกส"และ"สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ,สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์".

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแคเธอรินแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โบฮีเมีย

ีเมีย (Čechy; Bohemia; Czechy) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง กินเนื้อที่สองในสามทางตะวันตกของดินแดนเช็ก ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย ในความหมายที่กว้างกว่านั้น ในบางครั้งยังใช้เรียกเขตแดนเช็กทั้งหมด รวมถึงมอเรเวียและเช็กไซลิเซีย โดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ เช่น ราชอาณาจักรโบฮีเมี.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรคกระดูกอ่อนในเด็ก

โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (Rickets) คือภาวะที่มีความบกพร่องในการสะสมแร่ธาตุหรือการสะสมแคลเซียมในกระดูกระยะก่อนที่จะมีการปิดของแผ่นสร้างกระดูกเนื่องจากการขาดหรือความผิดปกติของกระบวนการสร้างและสลายวิตามินดี ฟอสฟอรัส หรือแคลเซียม ซึ่งอาจทำให้เกิดกระดูกหักหรือผิดรูปได้ โรคนี้เป็นโรคที่พบบ่อยอันดับต้นๆ ในประเทศที่กำลังพัฒนา สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดวิตามินดี สาเหตุอื่นที่พบได้เช่นการขาดแคลเซียม (อาจเกิดจากอุจจาระร่วงรุนแรงหรืออาเจียนมากได้) หมวดหมู่:การขาดวิตามิน หมวดหมู่:วิตามินดี อ่อนในเด็ก.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโรคกระดูกอ่อนในเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

โอลิเวอร์ ครอมเวลล์

อลิเวอร์ ครอมเวลล์ (Oliver Cromwell) (25 เมษายน ค.ศ. 1599 (ปฏิทินเก่า) - 3 กันยายน ค.ศ. 1658 (ปฏิทินเก่า) เป็นผู้นำทางการทหารและทางการเมืองชาวอังกฤษที่เป็นที่รู้จักกันดีในการเกี่ยวข้องกับเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษเป็นแบบสาธารณรัฐในฐานะ “เจ้าผู้พิทักษ์” (Lord Protector) แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ครอมเวลล์เป็นแม่ทัพคนหนึ่งของกองทัพตัวแบบใหม่ (New Model Army) ผู้ได้รับชัยชนะต่อกองทัพของ ฝ่ายกษัตริย์นิยม (Cavalier) ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ หลังจากปลงพระชนม์สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ในปี ค.ศ. 1649แล้ว ครอมเวลล์ก็มีอิทธิพลต่อเครือจักรภพแห่งอังกฤษ อยู่เพียงชั่วระยะเวลาสั้นในขณะเดียวกับที่ได้รับชัยชนะในการปราบปรามสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ และปกครองในฐานะ “เจ้าผู้พิทักษ์” ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1653 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1658.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โดยพฤตินัย

ตินัย (De facto) หมายความว่า "by fact" หรือตามความเป็นจริง ซึ่งตั้งใจที่จะหมายความว่า "ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้" “โดยพฤตินัย” มักจะใช้คู่กับ “โดยนิตินัย” (de jure) เมื่อกล่าวถึงกฎหมาย, การปกครอง หรือวิธี (เช่นมาตรฐาน) ที่พบในประสบการณ์ที่สร้างหรือวิวัฒนาการขึ้นนอกเหนือไปจากในกรอบของกฎหมาย เมื่อใช้ในกิจการที่เกี่ยวกับกฎหมาย “โดยนิตินัย” จะหมายถึงสิ่งที่กฎหมายกำหนด และ “โดยพฤตินัย” ก็จะหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกับวลี "for all intents and purposes" ("สรุปโดยทั่วไปแล้ว") หรือ "in fact" ("ตามความเป็นจริง") ในทางการปกครอง "de facto government" อาจจะหมายถึงรัฐบาลที่มีอำนาจปกครองที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นที่ยอมรับโดยนานาชาติว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนั้นก็อาจจะเป็นคำที่ใช้สถานการณ์ที่ไม่มีกฎหรือมาตรฐานแต่มีการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโดยพฤตินัย · ดูเพิ่มเติม »

โดยนิตินัย

นิตินัย (De jure) หมายความว่า "เกี่ยวกับกฎหมาย" ซึ่งตรงกันข้ามกับคำว่า “โดยพฤตินัย” (de facto) ("ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้") “โดยนิตินัย” เป็นคำที่ใช้ในทางกฎหมาย หรือ การปกครอง คำว่า de jure และ de facto ใช้แทนคำว่า "in principle" (ในทางมาตรฐาน) และ "in practice" (ในทางปฏิบัติ) ตามลำดับ ในบริบทของกฎหมาย de jure แปลว่า "ตามกฎหมาย" แต่สังคมอาจจะเลือกปฏิบัติ “โดยพฤตินัย” โดยไม่มีกฎหมายกำหนด กระบวนการที่เรียกว่า "กฎหมายล้าสมัย" (desuetude) อาจจะทำให้สิ่งที่ปฏิบัติโดยพฤตินัยมาแทนที่กฎหมายล้าสมัยได้ หรือในทางตรงกันข้ามสังคมอาจจะเลือกปฏิบัติ “โดยพฤตินัย” ตามความนิยมแม้ว่าจะมีกฎหมาย de jure ห้ามไม่ให้ทำ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโดยนิตินัย · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไข้รากสาดน้อย

้รากสาดน้อย หรือ ไข้ไทฟอยด์ (Typhoid fever; Enteric fever) เป็นการเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonella enterica serovar Typhi พบได้ทั่วโลกโดยติดต่อผ่านทางการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ป่วย โดยเชื้อแบคทีเรียก่อโรคนี้จะเจาะทะลุผนังลำไส้แล้วถูกจับกินโดยเซลล์แมโครฟาจ (macrophage) จากนั้นเชื้อ Salmonella typhi จะเปลี่ยนโครงสร้างตัวเองเพื่อดื้อต่อการทำลายและสามารถหลบหนีออกจากแมโครฟาจได้ กลไกดังกล่าวทำให้เชื้อดื้อต่อการทำลายโดยแกรนูโลไซต์ ระบบคอมพลีเมนต์ และระบบภูมิคุ้มกัน จากนั้นเชื้อก่อโรคจะกระจายไปทั่วร่างกายผ่านทางน้ำเหลืองขณะที่อยู่ในเซลล์แมโครฟาจ ทำให้เชื้อเข้าสู่ระบบเรติคูโลเอนโดทีเลียม (reticuloendothelial system) และไปยังอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย จุลชีพก่อโรคนี้เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปแท่งสั้น ซึ่งเคลื่อนที่โดยแฟลกเจลลัมหลายเส้น (peritrichous flagella) แบคทีเรียเจริญได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิกาย 37 °C (99 °F).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและไข้รากสาดน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เพรสไบทีเรียน

็อง กาลแว็ง นิกายเพรสไบทีเรียนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 431 (Presbyterianism) เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีต้นกำเนิดที่สกอตแลนด์ ยึดถือแนวคิดทางเทววิทยาแบบลัทธิคาลวิน และมีการจัดระเบียบองค์การแบบเพรสไบทีเรียน หลักเทววิทยาแบบเพรสไบทีเรียนเน้นเรื่องอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า สิทธิอำนาจของคัมภีร์ไบเบิล และการรับพระคุณจากพระเจ้าได้โดยการศรัทธาในพระเยซูเท่านั้น ในสกอตแลนด์วิธีการปกครองคริสตจักรของเพรสไบทีเรียนได้รับการรับประกันตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 นิกายเพรสไบทีเรียนสมัยใหม่สืบเค้าไปได้ถึงการปฏิรูปศาสนาในสกอตแลนด์ คริสตจักรท้องถิ่นแต่ละแห่งปกครองโดยคณะธรรมกิจซึ่งมาจากตัวแทนของคริสตจักรนั้น ในทางทฤษฎีนิกายนี้ไม่มีการแต่งตั้งบิชอป แต่มีการสถาปนาโดยการเลือกตั้งคณะผู้ปกครองขึ้นเพื่อทำหน้าที่อภิบาลคริสต์ศาสนิกชนหรือสมาชิกคริสตจักร รวมไปถึงการตัดสินใจต่าง ๆ ในคริสตจักร มีมัคนายกทำหน้าที่ดูแลสมาชิกและครอบครัวและส่วนมากดูแลเรื่องการเงินของคริสตจักร ผู้ปกครองและมัคนายกจะมีวาระการประจำการ วาระละ 2-3 ปี แล้วแต่คริสตจักรนั้น ๆ จะกำหนด ตำแหน่งผู้ปกครองเมื่อได้รับการสถาปนาแล้วจะอยู่ในศาสนศักดิ์นั้นตลอดชีพ นิกายเพรสไบทีเรียนมีต้นกำเนิดมาจากการปฏิรูปศาสนาในยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งมีฌ็อง กาลแว็งเป็นหนึ่งในนักปฏิรูปคนสำคัญ คริสตจักรปฏิรูปส่วนมากสืบมีวิธีการปกครองที่สามารถสืบย้อนไปได้ทั้งแบบเพรสไบทีเรียนและคองกรีเกชันแนล ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คริสตจักรเพรสไบทีเรียนหลายแห่งเริ่มมีบทบาทในขบวนการคริสต์ศาสนสัมพันธ์ เช่น การตั้งสภาคริสตจักรสากล บางคริสตจักรในนิกายนี้ยังเริ่มหันมาทำงานร่วมกับคริสตจักรปฏิรูปกลุ่มอื่น ๆ บ้างก็เข้าร่วมกลุ่มกับนิกายอื่นเลย เช่น คริสตจักรคองกรีเกชันแนล ลูเทอแรน แองกลิคัน และเมทอดิสต.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเพรสไบทีเรียน · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย

อลิซาเบธ สจวต (Elizabeth Stuart) เป็นเจ้าหญิงอังกฤษซึ่งเสกสมรสกับฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต ต่อมาพระสวามีได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมีย ทำให้พระนางได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย อย่างไรก็ตาม พระสวามีครองราชบัลลังก์โบฮีเมียได้เพียงปีเท่านั้น ทำให้พระนางได้รับสมญาว่า ราชินีฤดูหนาว จากการที่ได้ขึ้นเป็นราชินีและพ้นจากตำแหน่งในฤดูหนาว พระนางเป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 กษัตริย์แห่งอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ กับแอนน์แห่งเดนมาร์ก พระนางยังเป็นพระอัยกา (ยาย) ของพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ อีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก

อลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก (Elizabeth of Denmark) (14 ตุลาคม ค.ศ. 1524 - 15 ตุลาคม ค.ศ. 1586) เอลิซาเบธแห่งเดนมาร์กเป็นดัชเชสแห่งเม็คเลนบวร์ก-ชเวรินและต่อมาแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึส โทรว์โดยการสมรส เอลิซาเบธเป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 1 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งโพเมอราเนี.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเอลิซาเบธแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์

นรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ (Henry Frederick, Prince of Wales; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1594 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612) เฮนรี เฟรเดอริกเป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและแอนน์แห่งเดนมาร์ก เฮนรี เฟรเดอริกเป็นผู้ที่เห็นกันว่าทรงเป็นชายหนุ่มผู้ทรงมีความเหมาะสมที่จะสืบครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา แต่เมื่อมีพระชนมายุได้ 18 พระองค์ก็ทรงมาด่วนสวรรคตลงด้วยไข้รากสาดน้อย ซึ่งทำให้ตำแหน่งรัชทายาทตกไปเป็นของพระอนุชาผู้ขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส (Henrietta Maria of France) (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 - 10 กันยายน ค.ศ. 1669) เป็นพระราชินีแห่งอังกฤษ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียประสูติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1609 ที่พระราชวังลูฟร์ที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี เดอ เมดีซิส สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ต่อมาเป็นพระราชินีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1625 ถึงวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียสิ้นพระชนม์เมื่อ 10 กันยายน ค.ศ. 1669 ที่วังแห่งโคลอมบ์ ฝรั่งเศส พระศพตั้งอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนี กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรียเป็นพระราชินีแห่ง ราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ โดยการเสกสมรสกับพระเจ้าชาลส์ และเป็นพระราชมารดาในพระมหากษัตริย์สองพระองค์ คือ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ และเป็นพระอัยกีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3และพระราชินีนาถแมรี และพระราชินีนาถแอนน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศส พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต

“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต” มาเรีย คลีเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ ผู้อ้างสิทธิ(ภาษาอังกฤษ: James Francis Edward Stuart หรือ The Old Pretender หรือ The Old Chevalier) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 – 1 มกราคม ค.ศ. 1766) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า The Old Pretender (ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์) เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชอาณาจักรอังกฤษ และราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลน.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์

้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ (Mary, Princess Royal and Princess of Orange; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1631 - (24 ธันวาคม ค.ศ. 1660) เจ้าหญิงแมรีประสูติเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1631ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน และสิ้นพระชนม์ที่พระราชวังไวท์ฮอลล์ในกรุงลอนดอนเช่นกัน เจ้าหญิงแมรีเป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ พระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย เป็นพระมเหสีของเจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์และเคานท์แห่งนาส์ซอ และเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ เจ้าหญิงแมรีทรงเป็นเจ้าหญิงรอยัลองค์แรกของอังกฤษ.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าผู้อารักขา

้าผู้อารักขา (Lord Protector) เป็นตำแหน่งเฉพาะที่ใช้ในอังกฤษในฐานะผู้นำของประเทศซึ่งใช้ได้สองความหมายในช่วงเวลาในประวัติศาสตร์สองสมั.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเจ้าผู้อารักขา · ดูเพิ่มเติม »

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1603–1625) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643–1715) ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” มาเริ่มลดความสำคัญลงในระหว่างสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเทวสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งอังกฤษ

รือจักรภพแห่งอังกฤษ (Commonwealth of England) คือรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองอังกฤษ รวมทั้งเวลส์ ไอร์แลนด์ และสกอตแลนด์ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึง ค.ศ. 1660 หลังจากการสำเร็จโทษของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 เครือจักรภพอังกฤษกำเนิดขึ้นจากพระราชบัญญัติประกาศอังกฤษเป็นเครือจักรภพโดยรัฐสภารัมพ์ (Rump Parliament) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เคนต์

นต์ (Kent) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร และเป็นหนึ่งใน “มณฑลรอบนครลอนดอน” (Home Counties) เคนต์มีเขตแดนติดกับอีสต์ซัสเซ็กซ์, เซอร์รีย์ และนครลอนดอนและปริมณฑล และมีปากแม่น้ำเทมส์ขวางกับเอสเซ็กซ์ มณฑลภูมิศาสตร์เคนต์ประกอบด้วยเทศบาลมณฑลเคนต์ และรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวของเมดเวย์ เคนต์ตั้งอยู่ไม่ไกลจากฝรั่งเศสที่แยกโดยช่องแคบอังกฤษและครึ่งทางระหว่างอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษl เคนต์แบ่งการปกครองเป็นสิบสามแขวง: เซเวนโอกส์, ดาร์ทฟอร์ด, เกรฟแชม, ทันบริดจ์และมอลลิง, เมดเวย์, เมดสตัน, ทันบริดจ์เวลล์ส, สเวล, แอชฟอร์ด, แคนเตอร์บรี, เชปเวย์, เธนเน็ต และ โดเวอร์โดยมีเมืองหลวงของมณฑลอยู่ที่ เมดสตัน เดิมโรเชสเตอร์ และแคนเตอร์บรี เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครแต่ปัจจุบันเมืองหลังเท่านั้นที่ยังเป็นนคร ที่ตั้งของเคนต์ระหว่างลอนดอนและแผ่นดินใหญ่ยุโรปทำให้เป็นมณฑลหน้าด่านและเป็นยุทธภูมิในความขัดแย้งหลายครั้งเช่นในระหว่างยุทธการแห่งบริเตนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เคนต์ตะวันออกได้ชื่อว่าเป็น “Hell Fire Corner” ระหว่างความขัดแย้ง ระหว่าง 800 ปีที่ผ่านมาอังกฤษพึ่งเคนต์ในด้านกองเรือ ท่าเรือซิงก์ (Cinque Ports) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 14 และอู่เรือแช็ทแธมในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 20 มีความสำคัญต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของอังกฤษ ฝั่งทะเลฝรั่งเศสสามารถมองเห็นได้จากไวท์คลิฟฟ์สที่โดเวอร์ ในวันที่อากาศแจ่มใส เคนต์เป็นอาณาบริเวณที่มีการเกษตรกรรมในด้านสวนผลไม้และการปลูกฮอปที่ใช้ในการทำเบียร์ เคนต์ได้ชื่อว่าเป็น “สวนแห่งอังกฤษ” The Guardian 1 June 2006 BBC 1 June 2006 อุตสาหกรรมหลักของเคนต์ก็ได้แก่การทำซีเมนต์ สินค้ากระดาษ และการสร้างเรือบินแต่ความสำคัญของอุตสาหกรรมเหล่านี้ลดถอยลง ทางด้านใต้และตะวันออกขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเกษตรกรรม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปาโลอัครทูต

นักบุญเปาโลอัครทูต (St.) หรือนักบุญเปาโลแห่งทาร์ซัส (St.; San Paolo di Tarso) หรือนักบุญเปาโล มาจาก ภาษากรีก “Šaʾul HaTarsi” หมายถึง “เซาโลแห่งทาร์ซัส” มาจาก “Σαουλ” “Saul” หรือ “Σαῦλος” “Saulos” หรือ “Παῦλος” “Paulos” เป็น “อัครทูตถึงชนต่างชาติ” (Apostle to the Gentiles) พร้อมกับนักบุญเปโตรและนักบุญยากอบผู้ชอบธรรม (James the Just), เป็นมิชชันนารีที่สำคัญที่สุดในศาสนาคริสต์ยุคแรก แต่ไม่เคยพบพระเยซูดังเช่นอัครทูตท่านอื่นๆ ไม่มีหลักฐานใดที่กล่าวว่านักบุญเปาโลเคยพบพระองค์ด้วยตนเองก่อนที่จะถูกตรึงกางเขนตามที่กล่าวใน “กิจการของอัครทูต” นักบุญเปาโลมานับถือศาสนาคริสต์ระหว่างที่เดินทางไป ดามัสกัส จากการที่ได้เห็นพระเยซูผู้ฟื้นคืนพระชนม.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและเปาโลอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ11 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ20 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Charles I of EnglandCharles I of ScotlandKing Charles I of Englandสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »