โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระอุรุเวลกัสสปะ

ดัชนี พระอุรุเวลกัสสปะ

ระอุรุเวลกัสสปะ เป็นพระภิกษุสงฆ์ผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ได้รับการยกย่องเป็นพระอสีติมหาสาวกผู้เป็นเอตทัคคะในด้านผู้มีบริวารมาก.

11 ความสัมพันธ์: พระอสีติมหาสาวกพระเจ้าพิมพิสารยชุรเวทฤคเวทสามเวทอริยสัจ 4อาทิตตปริยายสูตรท้าวสหัมบดีพรหมคยาเอหิภิกขุอุปสัมปทาเอตทัคคะ

พระอสีติมหาสาวก

ระอสีติมหาสาวก คือ พระสาวกผู้ใหญ่ 80 องค์ของพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและพระอสีติมหาสาวก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าพิมพิสาร

กหลวงเมืองราชคฤห์ สถานที่พระเจ้าพิมพิสารถูกจองจำจนเสด็จสวรรคตในช่วงบั้นปลายของชีวิต พระเจ้าพิมพิสาร (-pi; बिम्बिसार, 14 ปีก่อนพุทธศักราช—พ.ศ. 53) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งแคว้นมคธ พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา 52 ปี มีพระอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิ ซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศล พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระสหายกับพระโคตมพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมาร ด้วยพระเจ้าสุทโธทนะทรงสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์นับถือพระพุทธศาสนา ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง จนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรม พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระโสดาบัน มีพระอัครมเหสีพระนามว่าพระนางเวเทหิ เป็นพระกนิษฐาในพระเจ้าปเสนทิโกศล พระเจ้าปเสนทิโกศลก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกัน พระเจ้าพิมพิสารมีพระราชโอรสนามว่าอชาตศัตรู (ผู้เกิดมาไม่เป็นศัตรู) โหรทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำปิตุฆาต แต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิสนพระทัยต่อคำทำนาย ทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดี เจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดี แต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จักพระเทวทัต ถูกพระเทวทัตหลอกให้เห็นผิดเป็นชอบ จนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหาร และทำการทรมานต่างๆ เช่น กรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสาร เพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้ เป็นต้น จนพระองค์เสด็จสวรรคต ไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อ "ชนวสภะ" ในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา พระเจ้าพิมพิสารเป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์ศาสนาพุทธเป็นอย่างดี ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญแพร่หลายทั่วแคว้นม.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและพระเจ้าพิมพิสาร · ดูเพิ่มเติม »

ยชุรเวท

รเวท (สันสกฤต ยชุรฺเวท, यजुर्वेद) เป็นหนึ่งในสี่แห่งคัมภีร์พระเวทในศาสนาพราหมณ์ฮินดู มาจากศัพท์ ยชุสฺ (บทสวดด้วยพิธีกรรม) และ เวท (ความรู้) ประมาณกันว่าประพันธ์ขึ้นเมื่อราว 1,400 - 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนหลักของคัมภีร์นี้เรียกว่า "ยชุรเวทสัมหิตา" มีคาถา หรือมันตระ ที่จำเป็นแก่การกระทำพิธีสังเวยตามความเชื่อในศาสนาสมัยพระเวท และมีการเพิ่มเติมคำอธิบายว่าด้วยการประกอบพิธีต่าง.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและยชุรเวท · ดูเพิ่มเติม »

ฤคเวท

วท (ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่างๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ เนื้อหาด้านชาติพันธุวิทยาและภูมิศาสตร์ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและฤคเวท · ดูเพิ่มเติม »

สามเวท

มเวท (ภาษาสันสกฤต: सामवेद, sāmaveda, จากคำว่า สามานฺ "บทเพลง" + เวท "ความรู้"), เป็นคัมภีร์พระเวทอันดับที่สอง (ตามลำดับที่ถือโดยทั่วไป) ในบรรดาพระเวททั้งสี่ นับเป็นคัมภีร์ฮินดูที่สำคัญและเก่าแก่มาก เนื้อหาส่วนที่เก่าแก่ที่สุด มีอายุราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีความสำคัญและความเก่าแก่รองจากคัมภีร์ฤคเวท เนื้อหาประกอบด้วยรวมบทสวด (สังหิตา) และร้อยกรองอื่นๆ โดยนำมาจากฤคเวท (ยกเว้น 75 บท) เพื่อใช้เป็นบทร้องสวดเป็นทำนองตามพิธีกรรม เรียกว่า "สามคาน" สวดโดยนักบวชที่เรียกว่า "อุทคาตา" ขณะทำพิธีคั้น กรอง และผสมน้ำโสม เพื่อถวายเทพเจ้.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและสามเวท · ดูเพิ่มเติม »

อริยสัจ 4

อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและอริยสัจ 4 · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตตปริยายสูตร

ีสะ สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรแก่หมู่ภิกษุชฏิล 1,003 รูปจนสำเร็จพระอรหันต์ทั้งหมด อาทิตตปริยายสูตร เป็นธรรมที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงธรรมแก่หมู่ภิกษุชฎิล ทั้ง 1,003 รูป ขณะที่พระบรมศาสดา ทรงแสดงพระธรรมเทศนาอยู่นั้น ภิกษุชฎิล ทั้ง 1,003 รูป ส่งกระแสจิตไปตามวาระแห่งพระธรรมเทศนา จิตของพวกเธอ ก็หลุดพ้นจากกิเลสาสวะทั้งปวง สำเร็จป็นพระอรหันต์ขีณาสพด้วยกันทั้งหมด และพระภิกษุชฏิลทั้งหมดนั้นก็ได้เป็นกำลังสำคัญในการประกาศพระพุทธศาสนาที่เมืองราชคฤห์ เมืองหลวงแห่งแคว้นมคธ ทำให้แคว้นมคธเป็นฐานอำนาจสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเวลาต่อมา อาทิตตปริยายสูตร เป็นพระสูตรที่มีเนื้อหาแสดงถึงความรุ่มร้อนของจิตใจ (อินทรีย์ ๕) ด้วยอำนาจของกิเลส เปรียบได้กับความร้อนของไฟที่ลุกโพลงอยู่ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า อาทิตตปริยายสูตร แสดงให้เห็นว่าความร้อนที่แท้จริงคือความร้อนจากภายใน แต่ทว่าความสุขหรือความทุกข์ร้อนจากกิเลสทั้งปวงล้วนนั้นก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง คือตั้งอยู่ไม่ได้ตลอดไป ไม่มีอะไรที่ควรยึดถือ น่าเบื่อหน่ายในความผันแปร พระสูตรนี้จึงเป็นพระสูตรสำคัญในพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและอาทิตตปริยายสูตร · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสหัมบดีพรหม

วสวรรค์ทูลเข้าเฝ้าขอให้ทรงแสดงธรรม.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและท้าวสหัมบดีพรหม · ดูเพิ่มเติม »

คยา

(Gaya) คือตำบลหนึ่งในอำเภอคยา จังหวัดมคธ รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ 100 กิโลเมตร ทางใต้ของเมืองปัฏนา ตัวเมืองทอดยาวไปตามชายฝั่งของแม่น้ำเนรัญชรา เมืองแห่งนี้เป็นเมืองสำคัญทั้งของศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู เพราะเป็นทั้งที่ตั้งของสถานที่เกิดเหตุการณ์สำคัญ ๆ ของพระพุทธศาสนา และสถานที่ ๆ ถูกกล่าวถึงในตำนานปรัมปราในคัมภีร์รามายณะของศาสนาฮินดู โดยภูมิประเทศของคยาเต็มไปด้วยภูเขาหินขนาดเล็ก คยาเป็นเมืองที่เป็นทั้งที่ตั้งของคยาสีสะ สถานที่พระพุทธองค์ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรเพื่อโปรดแก่เหล่าชฏิล 1,003 รูป และวัดวิษณุบาท วัดฮินดูที่เป็นที่ประดิษฐานของหิน ที่ชาวฮินดูนับถือว่าเป็นรอยบาทของพระวิษณุ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์สำคัญ 1 ใน 7 แห่งของศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและคยา · ดูเพิ่มเติม »

เอหิภิกขุอุปสัมปทา

อหิภิกขุอุปสัมปทา เป็นชื่อเรียกวิธีบรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุในสมัยพุทธกาลยุคต้นๆ โดยพระพุทธเจ้าทรงประทานให้ด้วยพระองค์เอง โดยการตรัสว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด ตรัสเพียงเท่านี้ ก็เป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาแล้ว เพราะคำตรัสขึ้นต้นว่า เอหิ ภิก... จึงเรียกการอุปสมบทแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา เรียกผู้ได้รับการอุปสมบทว่า เอหิภิกขุ การอุปสมบทแบบนี้ทรงประทานแก่พระอัญญาโกณฑัญญมหาเถระเป็นท่านแรก จึงถือว่าท่านเป็นปฐมสาวกหรือเป็นปฐมเถระในพระพุทธศาสนา ต่อมาเมื่อมีผู้มาขอบวชมากขึ้นพระพุทธองค์จึงได้ทรงเลิกวิธีอุปสมบทแบบนี้ และทรงเปลี่ยนวิธีใหม่เป็น ติสรณคมนูปสัมปทา และเป็นวิธีญัตติจตุตถกรรมวาจาซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและเอหิภิกขุอุปสัมปทา · ดูเพิ่มเติม »

เอตทัคคะ

อตทัคคะ หมายถึง ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ เป็นตำแหน่งที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้พระสาวกของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้มีความรู้ความสามารถเด่นกว่าท่านอื่น ๆ ในด้านนั้น ๆ และตำแหน่งเอตทัคคะแต่ละตำแหน่งทรงแต่งตั้งเพียงรูปเดียวท่านเดียวเท่านั้น ในแต่ละพุทธบริษัทแต่ละฝ.

ใหม่!!: พระอุรุเวลกัสสปะและเอตทัคคะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อุรุเวลกัสสปเถระพระอุรุเวลกัสสปพระอุรุเวลกัสสปเถระ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »