โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฮโล

ดัชนี เฮโล

ปรากฏการณ์เฮโลเหนือเทือกเขาหิมาลัย เฮโล (halo) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ทางแสงซึ่งเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ส่วนบน อันเป็นที่อยู่ของกลุ่มเมฆจำนวนมาก ละอองน้ำในชั้นบรรยากาศนี้สามารถเย็นตัวจัดจนกลายเป็นอนุภาคน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศ เมื่อมีแสงมาส่องกระทบก็จะเกิดการหักเหของแสงเป็นแถบสีรุ้ง แถบสีรุ้งอาจมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละสภาพแวดล้อม หากมีการหักเหทำมุม 22 องศาก็จะได้เป็นแถบวงแหวนซึ่งจะเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า อาทิตย์ทรงกลด และยังมีรูปแบบอื่น ๆ อีกได้แก่ เสาแสง, ซันด็อก เป็นต้น.

3 ความสัมพันธ์: โทรโพสเฟียร์เสาแสงเฮโล

โทรโพสเฟียร์

แสดงชั้นบรรยากาศของโลก โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) (คำว่าโทรโพ (Tropo) มาจากภาษากรีกแปลว่า หมุน หรือ ผสม) บรรยากาศชั้นล่างสุดสูงจากผิวโลก 8 - 15 กิโลเมตร มีอิทธิพลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากที่สุด อากาศที่มนุษย์หายใจเข้าไปคืออากาศชั้นนี้ เมฆ  พายุ  ลม และลักษณะอากาศต่าง ๆ  เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นนี้  อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและรวดเร็วกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆอยู่ระหว่าง 0-10 กม.

ใหม่!!: เฮโลและโทรโพสเฟียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสาแสง

แสงในเวลากลางคืน อ่าวเคมบริดจ์ นูนาวุต แคนาดา เสาแสง (Light pillar) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ทางแสงซึ่งเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศที่มีรูปแบบเป็นเส้นตรงแนวตั้งซึ่งอาจจะแผ่ขึ้นไปข้างบนหรือแผ่ลงมาข้างล่างของแหล่งกำเนิดแสก็ได้ ปรากฏการณ์นี้เกิดจากการสะท้อนของแสงจากผลึกน้ำแข็งเล็กๆในชั้นบรรยากาศหรือก้อนเมฆ แหล่งกำเนิดแสงของปรากฏการณ์นี้มาจากดวงอาทิตย์ (โดยปกติจะเกิดเมื่ออยู่ใกล้หรือต่ำกว่าขอบฟ้า) ซึ่งหากเกิดจากดวงอาทิตย์จะเรียกปรากฏการนี้ว่าเสาแสงอาทิตย์ (sun pillar หรือ solar pillar) นอกจากดวงอาทิตย์แล้วยังสามารถเกิดจากดวงจันทร์หรือเสาไฟข้างถนนก็.

ใหม่!!: เฮโลและเสาแสง · ดูเพิ่มเติม »

เฮโล

ปรากฏการณ์เฮโลเหนือเทือกเขาหิมาลัย เฮโล (halo) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ทางแสงซึ่งเกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ส่วนบน อันเป็นที่อยู่ของกลุ่มเมฆจำนวนมาก ละอองน้ำในชั้นบรรยากาศนี้สามารถเย็นตัวจัดจนกลายเป็นอนุภาคน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในชั้นบรรยากาศ เมื่อมีแสงมาส่องกระทบก็จะเกิดการหักเหของแสงเป็นแถบสีรุ้ง แถบสีรุ้งอาจมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละสภาพแวดล้อม หากมีการหักเหทำมุม 22 องศาก็จะได้เป็นแถบวงแหวนซึ่งจะเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า อาทิตย์ทรงกลด และยังมีรูปแบบอื่น ๆ อีกได้แก่ เสาแสง, ซันด็อก เป็นต้น.

ใหม่!!: เฮโลและเฮโล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อาทิตย์ทรงกลดฮาโลพระอาทิตย์ทรงกลดดวงอาทิตย์ทรงกลด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »