โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ดัชนี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

72 ความสัมพันธ์: ฟองจันทร์ ศิริวัติพ.ศ. 2458พ.ศ. 2541พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาพระปรางค์สามยอดพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคลพร้อมมิตร โปรดักชั่นภาวนา ชนะจิตภุมรีภิรมย์ เชลล์มันมากับความมืดมาลินีมงคล อมาตยกุลมูลนิธิหนังไทยราชวงศ์จักรีรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีรางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติวิยะดา อุมารินทร์วนิดาศิลปินแห่งชาติสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสาวเครือฟ้าสง่า อารัมภีรหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคลหม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคลหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคลหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยาหม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคลหม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคลอรัญญา นามวงศ์จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศต่วย’ตูนปฐมจุลจอมเกล้าประเทศอังกฤษ...ปักธงไชยปัทมนรังษี เสนาณรงค์นางสาวสุวรรณนางทาสน้องเมียแหวนทองเหลืองเชลยศักดิ์เกาะสวาท หาดสวรรค์เหรียญรัตนาภรณ์เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้าจอมมารดาจีนเจ้าแก้วนวรัฐเขาชื่อกานต์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์เงิน เงิน เงิน1 เมษายน2 มกราคม ขยายดัชนี (22 มากกว่า) »

ฟองจันทร์ ศิริวัติ

ฟองจันทร์ ศิริวัติ มีชื่อเดิมว่า หม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2456—15 ตุลาคม พ.ศ. 2540) เป็นลูกหลานในตระกูลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีชื่อเสียงจากการเป็นนางสาวเชียงใหม่ประจำปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและฟองจันทร์ ศิริวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพ.ศ. 2458 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

ระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์; ประสูติ: 4 กันยายน พ.ศ. 2405 — สิ้นพระชนม์: 24 มิถุนายน พ.ศ. 2472) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีและเจ้าจอมมารดาจีน ทรงเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับพระเชษฐภคินีร่วมพระบิดามารดาคือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720 - 1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724 - ประมาณ 1757) เพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจำเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้นเป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักรขอม แต่เดิมภายในปราสาทประธานประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปพระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิตาสองกร พระปรางค์สามยอดในอดีต (ด้านทิศตะวันออก).

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระปรางค์สามยอด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2358 พระองค์เจ้าลดาวัลย์ ทรงรับราชการกำกับกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้กำกับการก่อสร้างพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นภูมินทรภักดี เมื่อทรงพระชราภาพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประชวรดวงพระเนตรเป็นต้อ ทอดพระเนตรไม่เห็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ติดต่อแพทย์ชาวดัตช์เข้ามาผ่าตัดพระเนตรจนหายเป็นปกติ พร้อมกับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ซึ่งป่วยเป็นต้อเช่นกัน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันเสาร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 บูรพาษาฒ ปีจอ ตรงกับวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล มีพระเชษฐา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล และ พระอนุชา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 23 มกราคม พ.ศ. 2500) พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระองค์เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช อันประสูติแต่หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมมิตร โปรดักชั่น

ริษัท พร้อมมิตร โปรดักชั่น จำกัด (อังกฤษ: Prommitr Production Co., Ltd.) เดิมชื่อ พร้อมมิตรภาพยนตร์ เป็นบริษัทจำกัด สร้างภาพยนตร์ไทยและผลิตสื่อบันเทิงประเภทต่าง ๆ ก่อตั้งโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือ ท่านมุ้ย ชื่อบริษัทมาจากชื่อซอยที่ตั้งของ วังละโว้และโรงถ่าย ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ปัจจุบัน มีสำนักงาน ณ เลขที่ 52/25 หมู่ 13 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงและเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร และมีโรงถ่ายทำภาพยนตร์ขนาดใหญ่ (พร้อมมิตร สตูดิโอ) ที่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผลิตและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 จนถึงปัจจุบัน ผลงานเรื่องเด่น ๆ ได้แก่ สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 และภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ระหว่างปี พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2557 นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทนจำหน่ายการ์ดเกมที่มีเนื้อหาจากภาพยนตร์และภาพยนตร์การ์ตูนต่าง ๆ อีกด้วย เช่น ยูกิโอ เป็นต้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและพร้อมมิตร โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาวนา ชนะจิต

วนา ชนะจิต (Parwarna Liu Lan Ying; 劉蘭英; ชื่อเล่น: หยิน) มีชื่อจริงว่า อรัญญาภรณ์ เหล่าแสงทอง (ชื่อเดิม: อรัญญา; 20 ธันวาคม พ.ศ. 2485 — 10 กันยายน พ.ศ. 2555) นักแสดงภาพยนตร์ชาวไทย ที่ได้รับฉายา ไข่มุกแห่งเอเชี.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและภาวนา ชนะจิต · ดูเพิ่มเติม »

ภุมรีภิรมย์ เชลล์

มรีภิรมย์ เชลล์ นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงภุมรีภิรมย์ ยุคล เรียกกันในครอบครัวว่า ท่านหญิงน้อย เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา (เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและภุมรีภิรมย์ เชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มันมากับความมืด

มันมากับความมืด (Out of the Darkness) ภาพยนตร์ไซไฟสัญชาติไทยในปี พ.ศ. 2514 เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกจากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือท่านมุ้ย ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง อีกทั้งยังเป็นบทบาทการแสดงครั้งแรกของ สรพงษ์ ชาตรี (ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดงในปี พ.ศ. 2551) อีกทั้งยังถือได้ว่าเป็นภาพยนตร์แนวไซไฟเรื่องแรกด้วยของวงการภาพยนตร์ไทย ซึ่งถือได้ว่าแหวกแนวของภาพยนตร์ไทยด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและมันมากับความมืด · ดูเพิ่มเติม »

มาลินีมงคล อมาตยกุล

มาลินีมงคล อมาตยกุล นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงมาลินีมงคล ยุคล หรือ “ท่านหยอย” (24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประสูติแต่หม่อมอุบล ยุคล ณ อ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและมาลินีมงคล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิหนังไทย

มูลนิธิหนังไทย (Thai Film Foundation) เป็นมูลนิธิเพื่อเก็บรวบรวมประวัติและภาพยนตร์ของประเทศไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและมูลนิธิหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ

รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ หรือ รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยได้จัดให้มีพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2522 จัดโดยสมาคมผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย ด้วยความร่วมมือกับอีก 5 องค์กร คือ สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย สมาคมนักประชาสัมพันธ์ ชมรมวิทยุ ชมรมนักแสดงประกอบ พิธีประกาศผลรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำครั้งที่ 1 ประจำปี 2521 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2522 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร โดยนายประกอบ หุตะสิงห์ องคมนตรีผู้แทนพระองค์เป็นประธานมอบรางวัล โดยรางวัลที่มอบเป็นรูปหัวเรือสุพรรณหงส์ สมาคมผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย จัดงานนี้จนถึงครั้งที่ 7 ประจำปี 2530 เมื่อปี พ.ศ. 2531 จึงได้เปลี่ยนองค์กรผู้จัดงานเป็น สมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดงานเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2535 ประจำปี 2534 ใช้ชื่อว่า รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ หรือ รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ (เรียกตามชื่อองค์กรที่จัดงาน) และได้ออกแบบรางวัลที่มอบใหม.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและรางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิยะดา อุมารินทร์

วิยะดา อุมารินทร์ หรือ (หม่อมอูม) หม่อมวิยะดา ยุคล ณ อยุธยา ชื่อจริง วิยะดา ตรียะกุล เกิดวันที่ 19 มกราคม 2498 จบการศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ อาชีพนักแสดง และเป็นนักแสดงที่มีผู้คนชื่นชอบมากในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน หม่อมวิยะดาเริ่มเข้าสู่วงการการแสดงในปี 2516 ได้เล่นหนังใหญ่เรื่องแรกคือ "เทพธิดาโรงแรม" ของ ท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ออกฉายในปี 2517 ซึ่งได้ความสำเร็จอย่างท่วมท้น ต่อจากนั้นในช่วงปี 2521 - 2531 หันมารับบทนางรอง นางร้ายในภาพยนตร์ หม่อมวิยะดาขึ้นชื่อว่าเป็นนักแสดงอุปนิสัยดี ร่าเริง เป็นที่รู้จักและยอมรับกันดีในวงการ และในช่วงปี 2522 หม่อมวิยะดาก็หันมารับเล่นละคร เรื่องแรกคือ "ร่มฉัตร" แต่มาประสพผลสำเร็จจริงๆ ในปี 2523 กับละครเรื่อง "อีพริ้ง คนเริงเมือง" ทางช่อง 3 ซึ่งได้รับความสำเร็จถึงขนาดต้องทำเป็นเวอร์ชันภาพยนตร์ ทำให้หม่อมวิยะดาได้กลับมาผงาดในบทนางเอกจอเงินอีกครั้ง ช่วงราวปี 2530 หม่อมวิยะดาหันเหชีวิตย้ายไปอาศัยและทำธุรกิจในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 10 ปี ถึงจุดอิ่มตัวจึงกลับมา และได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนหนังและละคร ช่วงนี้ จึงได้เห็นหม่อมวิยะดากลับมาเล่นละครอีกครั้ง ในปี 2540 จนถึงปัจจุบัน นับว่าเป็นนักแสดงอารมณ์ดีที่มีเสียงหัวเราะที่เป็นเอกลักษณ์ มาจนปัจจุบัน ในด้านชีวิตคู่ หม่อมวิยะดาใช้ชีวิตโสดมาหลายปีแล้ว หลังจากตัดสินใจแยกทางเดินกับท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ซึ่งหม่อมวิยะดาเคยมีฐานะเป็น หม่อมวิยะดา ยุคล ณ อยุธยา มาก่อน โดยแยกทางกันมากว่ายี่สิบปีแล้ว ซึ่งช่วงแรกเธอได้แสดงหนังให้ท่านมุ้ยหลายเรื่อง โดยท่านมุ้ยเป็นคนปั้นหม่อมวิยะดามาจนโด่งดังตั้งแต่เรื่องแรกในชีวิตการแสดงของหม่อมวิยะดา ทำให้เกิดความใกล้ชิด จึงตัดสินใจใช้ชีวิตร่วมกัน ก่อนที่จะเลิกราต่อกันในที.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและวิยะดา อุมารินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา

วนิดา เป็นบทประพันธ์นวนิยายของ วรรณสิริ ตีพิมพ์ในนิตยสารวารสารศัพท์ ว. วินิจฉัยกุลเคยวิเคราะห์ไว้ในในวารสารสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย และพิมพ์รวมเล่มในหนังสือ ปากไก่วรรณกรรม ของสำนักพิมพ์ดอกหญ้า เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและวนิดา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์

มเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2355 - 29 เมษายน พ.ศ. 2382) ต้นราชสกุลศิริวงศ์ เป็นพระชนกของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ เดิมมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 6 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และลำดับที่ 1 ในเจ้าจอมมารดาทรัพย์ ธิดาพระอักษรสมบัติ (ทับ) กับผ่อง ณ พัทลุง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือคนทั้งหลาย เรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสวามี พระองค์เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมด้วยสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี พระราชโอรสพระองค์เล็ก พระองค์สวรรคตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระบรมอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาต.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2425 พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ การปกครองและสาขาวิชาประวัติศาสตร์ เคยทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอภิรัฐมนตรี ในรัชกาลที่ 7 พระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2475 และทรงเป็นต้นราชสกุลยุคล.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สาวเครือฟ้า

วเครือฟ้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสาวเครือฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อารัมภีร

ง่า อารัมภีร สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว (แจ๋ว วรจักร์) (11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542) เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและสง่า อารัมภีร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมกมลา ยุคล ณ อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล

หม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล ชื่อเล่น คุณชายเอี่ยว เป็นโอรสในท่านมุ้ย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และ หม่อมอูม วิยะดา อุมารินทร์ คุณชายเอี่ยวได้มีผลงานในการแสดงภาพยนตร์และเคยได้รับรางวัล รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ทองคำครั้งที่ 12 ซึ่งรับบทเป็น "ซอและ" เรื่อง ตะลุมพุก มหาวาตภัยล้างแผ่นดิน และ คุณชายเอี่ยวยังเรียนจบด้านภาพยนตร์จากสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันนี้สมรสแล้วและมีบุตร 4 คน เป็นบุตรสาว 3 ชื่อ หม่อมหลวง เอวิต้า ยุคล ส่วน บุตรชาย 1 บุตรชายชื่อ หม่อมหลวง อนุชา ยุคล หรือ แอ็กชั่น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมราชวงศ์มงคลชาย ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) นักตัดต่อ / นักลำดับภาพ หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล เป็นพระธิดาคนโตของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล กับหม่อมวิยะดา (บุษปวานิช).

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล

หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล หรือ หญิงแม้น เป็นธิดาคนที่ 3 ในพลตรีหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล พระอนุชาในหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล พระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับ หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา นามสกุลเดิม สุฤทธิ์ และ หม่อมอัญชลี ยุคล ณ อยุธยา เกิดวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2533 หลังจบการศึกษาชั้น ม.2 ที่โรงเรียนจิตรลดา หม่อมอัญชลี ได้ส่งให้ไปศึกษาต่อโรงเรียนสตรีที่ Saint Mary's School ประเทศอังกฤษ หลังเรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงได้กลับมาศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในประเทศ ไทย เพื่อจะได้อยู่กับครอบครัว โดยเลือกศึกษาที่มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรนานาชาติ คณะศิลปศาสตร์การท่องเที่ยว และได้ย้ายมาศึกษาอยู่ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ หญิงแม้นเป็นนักร้องน้องใหม่ ในสังกัดค่ายไอมิวสิก มีเพลงของตัวเองออกมา 1 เพลง ชื่อ "เสียใจมากๆ เลย" ในอัลบั้มชุด คอนเวอร์เจนซ์เลิฟวัน และหญิงแม้นยังได้สร้างความฮือฮานอกฤดูกาล ด้วยการถ่ายชุดว่ายน้ำแบบเต็มตัวลงในนิตยสาร Mix Magazine ฉบับเดือนตุลาคม 2552 ถือเป็นครั้งแรกในชีวิตของราชสกุลที่เซ็กซี่ ด้วยอายุน้อยที่สุดแห่งปี ชีวิตส่วนตัว ปัจจุบันสมรสกับหนุ่มนอกวงการ ซัน - ต่อสวัสดิ์ สวัสดิ์-ชูโต เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2559.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล หรือที่นิยมเรียกกันว่า คุณชายอดัม เป็นโอรสในหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2528 จบการศึกษาด้านการสร้างภาพยนตร์จากประเทศออสเตรเลีย ม.ร.ว.เฉลิมชาตรีรับหน้าที่เป็นผู้กำกับกองสามของภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายหลังปิดกล้อง ได้ดูแลงานด้านสื่ออินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ภาพยนตร์ ลิขสิทธิ์สินค้า การ์ดเกมส์ หนังสือปูมเบื้องหลัง ตลอดจนสื่อสนับสนุนภาพยนตร์ (Promotional Merchandise) ทุกชนิด ปัจจุบันได้รับเป็นวิทยากรพิเศษให้แก่มหาวิทยาลัยชั้นนำ อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) เป็นต้น โดยรับหน้าที่บรรยายเทคนิคการสร้างภาพยนตร์ รวมถึงรายละเอียดที่ปรากฏในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 อีกด้วย นอกจากนี้ ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยังได้เปิดให้บริการเว็บไซต์ FuKDuK (ฟุ๊คดุ๊ค) หรือ บริการทีวีที่มีช่องรายการของตัวเองผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และจัดรายการวิทยุเป็นประจำอยู่ที่คลื่นความคิด F.M. 96.5 Mhz ในเครือข่ายขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อสมท.).

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุฤทธิ์) (2 มกราคม พ.ศ. 2466 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2546) เป็นผู้บุกเบิกภาพยนตร์ไทย ในนามบริษัทละโว้ภาพยนตร์ ร่วมกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ผู้กำกับการแสดงหญิงคนแรกของเมืองไทย เช่น ม่วยสิ่น,ปักธงไชย,เชลยศักดิ์,ทรชนคนสวย ฯลฯ ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง อาทิ เงิน เงิน เงิน,อีแตน,เกาะสวาทหาดสวรรค์ และ เขาชื่อกานต์ เป็นต้น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน อนุบาลยุคลธร,เจ้าของนิตยสารรายปักษ์ ดรุณี และห้องอาหาร ร้านกับข้าวชาววัง (ถนนสุขุมวิท) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา

หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา หรือ พระชนนีน้อย เป็นหม่อมในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ และเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี หม่อมน้อยท่านนี้เป็นหม่อมคนละท่านกับหม่อมน้อย ชุมสาย ณ อยุธยา บุตรีของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) กับท่านผู้หญิงอิน ที่เป็นอดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยพิทักษ์ ซึ่งต่อมาได้เป็นหม่อมในกรมขุนสีหวิกรม.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล

ลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล

หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 26 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและหม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

อรัญญา นามวงศ์

อรัญญา นามวงศ์ มีชื่อจริงว่า อัญชลี ศิระฉายา (สกุลเดิม ชอบประดิษฐ์) ชื่อเล่น เปี๊ยก (4 กันยายน พ.ศ. 2490 —) นักแสดงชาวไทย มีผลงานแสดงคู่กับสมบัติ เมทะนี จำนวนหลายเรื่อง จนนับเป็นนักแสดงคู่ขวัญคู่หนึ่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและอรัญญา นามวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ

ท่านหญิง จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าหญิงจันทรจรัสศรี ยุคล เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา (เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์) ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 เมื่อแรกประสูติมีฐานันดรศักดิ์ที่ "หม่อมเจ้า" แต่หม่อมเจ้าจันทรจรัสศรีทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อทำการสมรส กับ ประพันธุ์ ไพบูลย์เลิศ มีบุตร-ธิดา 2 คน.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและจันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ · ดูเพิ่มเติม »

ต่วย’ตูน

รวมการ์ตูนต่วยและเรื่องขำขันจากชาวกรุง ต้นกำเนิดของ ต่วย’ตูน ต่วย’ตูนในปัจจุบัน ต่วย’ตูน เป็นนิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ รวมเรื่องสั้นและขำขัน ก่อตั้งโดย วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ "ต่วย" เริ่มวางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ. 2514 ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันบริหารงานโดยบุตรของวาทิน คือ ดาว ปิ่นเฉลียว และ ดุลย์ ปิ่นเฉลียว.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและต่วย’ตูน · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ปักธงไชย

ปักธงไชย เป็นภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ระบบ 35 มม.ไวด์สกรีน สีอีสต์แมน (โกดั๊กโครม) เสียงพากย์ในภาพยนตร์เป็นของบริษัทละโว้ภาพยนตร์ บทพระนิพนธ์, บทภาพยนตร์และลำดับภาพโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ (ล.อัศวดารา) บันทึกเสียงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล อำนวยการสร้างและกำกับการแสดงโดยหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา นำแสดงโดยรัตนาภรณ์ อินทรกำแหง และสมยศ อินทรกำแหง ออกฉายครั้งแรกปลายปี พ.ศ. 2500 ที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง ในช่วงต้อนรับปีใหม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและปักธงไชย · ดูเพิ่มเติม »

ปัทมนรังษี เสนาณรงค์

ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประสูติแต่หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา เป็นพระราชวงศ์ลำดับที่ 44 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและปัทมนรังษี เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวสุวรรณ

นางสาวสุวรรณ (Suvarna of Siam) เป็นภาพยนตร์ใบ้ แนวรักใคร..1923 ขนาดสามสิบห้ามิลลิเมตร ความยาวแปดม้วน เขียนบทและกำกับโดย เฮนรี แม็กเร (Henry MacRae) เป็นเรื่องแรกที่ถ่ายทำในประเทศสยาม (ต่อมาคือ ประเทศไทย) โดยฮอลลีวูด ที่ใช้นักแสดงชาวสยามทั้งหมด เริ่มถ่ายทำเมื่อต้นเดือนมีนาคมและสร้างเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2465 ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1923 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และได้เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาด้วย ใช้ชื่อว่า "Kingdom of Heaven" เข้ามาฉายในประเทศไทยได้เพียง 3 วัน ฟิล์มต้นฉบับก็สูญหาย นับเป็นโชคร้ายที่ปัจจุบันไม่เหลือสิ่งใดเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่องนี้อีกเลย นอกจากวัสดุประชาสัมพันธ์และของชำร่วยเล็ก ๆ น้อย ซึ่งรักษาไว้ที่ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)Sukwong, Dome and Suwannapak, Sawasdi.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและนางสาวสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

นางทาส

นางทาส (หรือ นางทาษ) เป็นเรื่องสั้นขนาดยาวของ วรรณสิริ ผู้ประพันธ์เรื่อง วนิดา และนางครวญ ตีพิมพ์ครั้งแรกอยู่ใน รวมเรื่องสั้นชุด "สร้อยนพเก้า" ของวรรณสิริ และได้รับความนิยม ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายครั้ง พร้อมกับมีการแต่งเติมเรื่องราวเพิ่มเติม ในการพิมพ์ครั้งต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อหนังสือเป็น รวมเรื่องสั้นชุด "นางทาส" ภาพยนตร์ นางทาษ ฉบั..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและนางทาส · ดูเพิ่มเติม »

น้องเมีย

น้องเมีย (Song of Chaophraya) เป็นภาพยนตร์ไทย บทพระนิพนธ์ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2533 ได้แก.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและน้องเมีย · ดูเพิ่มเติม »

แหวนทองเหลือง

แหวนทองเหลือง เป็นพระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วอีก 4 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและแหวนทองเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

เชลยศักดิ์

ลยศักดิ์ เป็นบทประพันธ์ของ "ดวงดาว" หรือ หม่อมเจ้าสวาสดิ์วัฒโนดม ประวิตร เป็นเรื่องราวคำสั่งเสียสุดท้ายของพ่อที่มีต่อลูกทั้งสอง อลิสา – อติศักดิ์ สันตติวงศ์ ทำให้ทั้งคู่จงใจนำทายาทแห่งตระกูลคู่แค้น ร้อยโทโยธิน อัศวรัช ถอดเกียรติชายชาติทหารมาจองจำในฐานะ ‘เชลย’ แห่งม่อนผาหลวงเป็นเวลาหนึ่งปีเต็ม ทว่าในความแค้นยังมีความรักที่ก่อตัวขึ้นอย่างช้าๆ ทั้งคู่จะยอมรับมันหรือไม่ในเมื่อหนี้แค้นยังไม่จบสิ้น บทประพันธ์นี้มีการนำมาสร้างเป็นภาพนยตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายต่อหลายครั้ง สร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเชลยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสวาท หาดสวรรค์

กาะสวาทหาดสวรรค์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเกาะสวาท หาดสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจีน

้าจอมมารดาจีน เป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เจ้าจอมมารดาจีน มีธิดา 3 พระองค์ ซึ่งในภายหลังได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเจ้าจอมมารดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เขาชื่อกานต์

ื่อกานต์ เป็นภาพยนตร์ไทย ที่สร้างจากนวนิยายที่มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งของสุวรรณี สุคนธา เรื่อง เขาชื่อกานต์ ซึ่งนวนิยายเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2513 เป็นงานวรรณกรรม ที่มีลักษณะ บุกเบิกทางความคิด ซึ่งขาดช่วงหายไปเป็นเวลากว่า 10 ปี เป็นภาพยนตร์รุ่นแรก ๆ ของวงการหนังไทยที่กล่าวถึงปัญหาสังคม ถือเป็นจุดเปลี่ยนแปลงของภาพยนตร์ไทย คือการวิพากษ์สังคมเกี่ยวกับหลากหลายปัญหาของสังคมไทย อาทิ ปัญหาความยากจน ปัญหาผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น และปัญหาคอร์รัปชั่น ผ่านตัวละครที่ชื่อ "กานต์" หมอหนุ่มที่มีอุดมการณ์สูง ที่ต่อสู้เพื่อความถูกต้อง และยอมอุทิศตนไปทำงานไปรักษาคนไข้ในเขตชนบท จนเกิดความขัดแย้งกับข้าราชการท้องถิ่น และลงเอยโดยการถูกลอบยิงจนเสียชีวิต จากบทประพันธ์มาเป็นนวนิยายที่ได้รับรางวัลทางวรรณกรรมหลายประเภท ทำให้เรื่องนี้สร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายครั้ง โดยเฉพาะภาพยนตร์ได้มีการรีมาสเตอร์ใหม่เพื่อเป็นการรำลึกถึงหนังไทยสมัยก่อน ภาพยนตร์ เขาชื่อกานต์ ฉบับปี พ.ศ. 2516 กำกับโดย ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี, นัยนา ชีวานันท์, ภิญโญ ทองเจือ, คธา อภัยวงศ์, มารศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา เข้าฉายเมื่อ 27 มีนาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเขาชื่อกานต์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ (The boy scout citation medal (Special class)) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอนุญาตให้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 เพื่อส่งเสริมกำลังใจแก่ผู้อุทิศตนให้กิจการลูกเสืออย่างแท้จริง โดยมีลำดับเกียรติของเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นลำดับที่ 26.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ (The Most Admirable Order of the Direkgunabhorn) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เพื่อพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน แบ่งออกเป็น 7 ชั้น พระราชทานแก่บุรุษและสตรีตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควร.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เงิน เงิน เงิน

งิน เงิน เงิน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและเงิน เงิน เงิน · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการและ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรณ์มงคลการ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »