โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ดัชนี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

136 ความสัมพันธ์: บรูกแลนด์สชวลิต ยงใจยุทธบีเอ็มดับเบิลยูฟลอเรนซ์พ.ศ. 2457พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2482พ.ศ. 2497พระบรมมหาราชวังพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์กรุงเทพกรังด์ปรีซ์ฐานันดรศักดิ์ไทยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มาเซราตีมิลานราชวงศ์จักรีรถสูตรหนึ่งลอนดอนวังจักรพงษ์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สรรพสิริ วิรยศิริสหราชอาณาจักรหม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหอเกียรติยศอี.อาร์.เอ. รอมิวลุสอี.อาร์.เอ. รีมุสอี.อาร์.เอ. หนุมานถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ท้องสนามหลวงดอนิงตันพาร์กดับลินคริสตัลพาเลซเซอร์กิตตูรินซูเปอร์ชาร์จเจอร์ประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศอังกฤษประเทศอาร์เจนตินาประเทศอิตาลีประเทศโมนาโกประเทศไอร์แลนด์ประเทศไทยประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเยอรมนี...โรงเรียนเทพศิรินทร์ไบรตันไอร์แลนด์เหนือไอล์ออฟแมนเบลฟาสต์เซอร์กิตเดอโมนาโกเนือร์บูร์กริง1 พฤษภาคม1 มิถุนายน10 กันยายน10 มิถุนายน10 ธันวาคม10 เมษายน11 พฤษภาคม11 กันยายน11 เมษายน12 กรกฎาคม12 มกราคม12 มิถุนายน12 มีนาคม13 กรกฎาคม13 มิถุนายน14 มิถุนายน14 มีนาคม14 สิงหาคม15 กรกฎาคม15 สิงหาคม15 ตุลาคม16 พฤษภาคม16 กรกฎาคม16 มีนาคม17 พฤศจิกายน17 พฤษภาคม17 กรกฎาคม17 กันยายน17 ตุลาคม18 กันยายน18 เมษายน19 พฤษภาคม19 ตุลาคม2 พฤษภาคม2 สิงหาคม2 ตุลาคม2 เมษายน20 กรกฎาคม20 มิถุนายน21 พฤษภาคม21 กุมภาพันธ์21 มิถุนายน21 สิงหาคม22 พฤษภาคม22 สิงหาคม23 สิงหาคม23 เมษายน24 กรกฎาคม24 กันยายน25 มิถุนายน25 สิงหาคม25 เมษายน26 กันยายน27 มิถุนายน27 สิงหาคม28 พฤษภาคม28 สิงหาคม29 มีนาคม29 สิงหาคม3 กันยายน3 มิถุนายน3 สิงหาคม3 ตุลาคม4 กรกฎาคม4 กันยายน4 เมษายน5 กันยายน5 ธันวาคม5 ตุลาคม6 กรกฎาคม6 มิถุนายน7 พฤษภาคม7 กันยายน8 สิงหาคม8 ตุลาคม9 พฤษภาคม9 กรกฎาคม9 ตุลาคม9 เมษายน ขยายดัชนี (86 มากกว่า) »

บรูกแลนด์ส

รูกแลนด์ส (Brooklands) เป็นสนามแข่งรถในอดีต ตั้งอยู่ใกล้เมืองเวย์บริดจ์ เซอร์เรย์ ประเทศอังกฤษ เป็นสนามแข่งรถแห่งแรกของโลกที่สร้างเป็นรูปวงรี เปิดใช้งานตั้งแต่ พ.ศ. 2450 จนถึง พ.ศ. 2482 นอกจากนี้ยังถูกใช้งานเป็นสนามบิน แห่งแรกๆ ของประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและบรูกแลนด์ส · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

บีเอ็มดับเบิลยู

ตราสัญลักษณ์ สำนักงานใหญ่บีเอ็มดับเบิลยู เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี บีเอ็มดับเบิลยู (BMW ย่อจาก ภาษาเยอรมัน: Bayerische Motoren Werke; Bavarian Motor Works) เป็นบริษัทผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของเยอรมนี ตั้งอยู่ที่เมืองมิวนิก ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) และเป็นบริษัทแม่ของมินิ ซึ่งบีเอ็มดับเบิลยูซื้อมาจากโรเวอร.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและบีเอ็มดับเบิลยู · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพกรังด์ปรีซ์

ปสเตอร์ การแข่งรถยนต์ระหว่างชาติ รางวัลใหญ่กรุงเทพ ฯ เส้นทางการแข่งขัน กรุงเทพกรังด์ปรีซ์ มีชื่อเป็นทางการในภาษาไทยว่า การแข่งรถยนต์ระหว่างชาติ รางวัลใหญ่กรุงเทพ ฯ เป็นการเตรียมการเพื่อจัดการแข่งรถ ขนาด 1500 ซีซี บริเวณรอบสนามหลวง และพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2482 ระยะทาง 2 ไมล์ (3.22 กิโลเมตร) จำนวน 60 รอบ ระยะทางรวมทั้งสิ้น 120 ไมล์ (96.56 กิโลเมตร) การแข่งขันนี้จัดขึ้นตามคำแนะนำของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและกรุงเทพกรังด์ปรีซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและฐานันดรศักดิ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเซราตี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและมาเซราตี · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รถสูตรหนึ่ง

รถสูตรหนึ่ง หรือ ฟอร์มูลาวัน (Formula One) หรือ เอฟวัน (F1) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า FIA Formula One World Championship เป็นการแข่งขันรถระดับสูงสุดจากความช่วยเหลือของสมาพันธ์รถยนต์นานาชาติ (Fédération Internationale de l'Automobile (FIA)) คำว่า "สูตร" หมายถึงกฎกติกาที่ผู้เข้าแข่งขันและรถทุกคันต้องปฏิบัติตาม ฤดูกาลแข่งขันของเอฟวัน ประกอบด้วยการแข่งขันหลายครั้งหรือที่เรียกว่า กรังด์ปรีซ์ (Grands Prix) ตามวัตถุประสงค์การสร้างของสนามแข่งและไปจนถึงขนาดที่เล็กลง ถนนสาธารณะและถนนปิดในเมือง ผลของการแข่งขันจะรวมและพิจารณาให้กับแชมป์ในส่วนของผู้ขับและผู้ผลิต ในส่วนของผู้ขับรถ ทีมผู้ผลิต เจ้าหน้าที่ทางรถ ผู้จัดเตรียม และสนามต้องมีผู้ที่ถือใบอนุญาตซูเปอร์ไลเซนซ์ ใบอนุญาตการแข่งรถสูงสุดจาก FIA การแข่งขันรถสูตรหนึ่ง แข่งด้วยความเร็วสูงถึง 360 กม/ชม.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและรถสูตรหนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วังจักรพงษ์

ประตูวังจักรพงษ์ วังจักรพงษ์ หรือ บ้านจักรพงษ์ ตั้งอยู่ที่ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนราชินี เคยเป็นตำหนักส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่อมาตกเป็นของทายาทคือ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ปัจจุบันวังจักรพงษ์เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊ค จักรพงษ์วิลล่า และมูลนิธิโลกสีเขียว.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและวังจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรพสิริ วิรยศิริ

รรพสิริ วิรยศิริ (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (ปัจจุบันคือ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)) อดีตผู้อำนวยการ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 (ปัจจุบันคือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี) และอดีตผู้อำนวยการ สถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท. (ปัจจุบันคือ สถานีวิทยุ อสมท โมเดิร์นเรดิโอ) อดีตผู้สื่อข่าวสงคราม เป็นบุคคลผู้บุกเบิกวงการโทรทัศน์ ข่าวโทรทัศน์ และโฆษณาโทรทัศน์ของไท.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและสรรพสิริ วิรยศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

ซเลีย โฮวาร์ด (Celia Hovard) ชื่อเล่นภาษาสเปนว่า เชลีตา (Chelita) หรือรู้จักในนาม หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นสตรีชาวอาร์เจนตินาและเป็นหม่อมคนที่สองของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสกันในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและหม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์

หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้".

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อเดิมว่า ซิริล เฮย์คอคพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและหม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ (พ.ศ. 2425 - 24 กันยายน พ.ศ. 2461) เป็นหม่อมห้ามคนสุดท้าย ในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช หม่อมเล็ก (ยงใจยุทธ) เป็นบุตรสาวของนายกองนา (ทองดำ ยงใจยุทธ) ข้าหลวงในรัชกาลที่ 5 เป็นตระกูลชาวสวนแถบตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม กับคุณถม มีพี่สาวคนโตชื่อ แจ่ม ยงใจยุทธ และมีน้องชายชื่อ ร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ (เป็นบิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) หม่อมเล็กถวายตัวเป็นหม่อมห้ามในสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ เมื่อ..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและหม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หอเกียรติยศ

หอเกียรติยศ บางครั้งอาจเรียก "หอเรืองนาม" (Hall of fame) หมายถึงพิพิธภัณฑ์ประเภทหนึ่งที่สร้างขึ้นเพื่อเชิดชูบุคคลที่มุ่งมั่นอย่างสูงที่ได้ประกอบคุณงามความดีและมีความวิริยะสูงสุดจนประสบผลสำเร็จในกิจกรรมสาขาต่างๆ ในบางกรณี หอเกียรติยศอาจประกอบด้วยห้องโถงและห้องต่างๆ หรือเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดเก็บและแสดงสิ่งเชิดชูเกียรติยศของผู้ได้รับการยกย่อง เช่น รูปปั้น โล่ ถ้วยรางวัล เข็มขัดแชมเปี้ยน รวมทั้งสิ่งของที่ระลึกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่หอเกียรติยศบางแห่งก็ทำเพียงแต่แสดงรูปปั้นท่อนบนพร้อมการจารึกชื่อบุคคลผู้ได้รับการเชิดชูจากตามประเภทที่หอแห่งนั้นๆ ดำเนินการโดยไม่แสดงสิ่งของ เช่น ที่วิหารวาลฮาลลา หอเกียรติยศ ได้รับการแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ไว้หลายประเภทได้แก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและหอเกียรติยศ · ดูเพิ่มเติม »

อี.อาร์.เอ. รอมิวลุส

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ขับรอมิวลุส ชนะเลิศรายการแรกที่ โมนาโกกรังด์ปรีซ์ ทรงรับถ้วยรางวัลจากเจ้าชายหลุยส์แห่งโมนาโก ชายที่อยู่ขวาสุดในภาพคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ รอมิวลุส เข้าเส้นชัยที่ ลอนดอนกรังปรีซ์ สนามคริสตัลพาเลซเซอร์กิต รอมิวลุส (คันหน้า) หนุมาน (คันกลาง) และ รีมุส (คันหลัง) จัดแสดงพร้อมกันที่วังจักรพงษ์ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2530 ก่อนหน้าการแข่งขันกรุงเทพกรังด์ปรีซ์ 2531 รอมิวลุส (Romulus) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรถแข่ง ยี่ห้อ อี.อาร์.เอ. (English Racing Automobiles - ERA) รหัส R2B ที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ใช้ขับแข่งในช่วงปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและอี.อาร์.เอ. รอมิวลุส · ดูเพิ่มเติม »

อี.อาร์.เอ. รีมุส

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ขับรีมุส ชนะเลิศอัลบีกรังด์ปรีซ์ ที่ฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 รีมุส (Remus) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรถแข่ง ยี่ห้อ อี.อาร์.เอ. (English Racing Automobiles - ERA) รหัส R5B ที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ใช้ขับแข่งในช่วงปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและอี.อาร์.เอ. รีมุส · ดูเพิ่มเติม »

อี.อาร์.เอ. หนุมาน

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ขับหนุมาน (คันซ้าย หมายเลข 10) นำหน้าในแคมพ์เบลโทรฟี ซึ่งได้รางวัลชนะเลิศ หนุมาน (Hanuman) เป็นชื่อที่ใช้เรียกรถแข่ง ยี่ห้อ อี.อาร์.เอ. (English Racing Automobiles - ERA) รหัส R12B/C ที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ใช้ขับแข่งในช่วงปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและอี.อาร์.เอ. หนุมาน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ดอนิงตันพาร์ก

อนิงตันพาร์ก (Donington Park) ตั้งอยู่ใกล้ปราสาทดอนิงตัน เลสเตอร์ไชร์ตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศอังกฤษ ใช้เป็นสถานที่แข่งรถ และจัดแสดงดนตรี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2474 สนามแข่งรถดอนิงตันพาร์ก เปิดใช้เป็นสนามแข่งรถจักรยานยนต์มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและดอนิงตันพาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ดับลิน

ับลิน (Dublin; ไอริช: Baile Átha Cliath) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ชื่อดับลินนั้นมาจากคำว่า Dubh Linn ซึ่งในภาษาไอริชมีความหมายว่า "สระน้ำสีดำ" (Black Pool) ดับลินมีพื้นที่ประมาณ 114.99 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 495,781 คนในเขตตัวเมือง.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและดับลิน · ดูเพิ่มเติม »

คริสตัลพาเลซเซอร์กิต

ริสตัลพาเลซเซอร์กิต (Crystal Palace Circuit) เป็นสนามแข่งรถ ตั้งอยู่ในคริสตัลพาเลซพาร์ก ลอนดอน ประเทศอังกฤษ บริเวณสถานที่ที่เคยจัดนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม พ.ศ. 2394 (The Great Exhibition) สนามแข่งรถแห่งนี้เปิดใช้แข่งรถจักรยานยนต์เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 ในช่วงแรกเป็นสนามหินบด มีความยาว 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) แต่ได้รับการปรับปรุงในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและคริสตัลพาเลซเซอร์กิต · ดูเพิ่มเติม »

ตูริน

ตูริน (Turin) หรือ โตรีโน (Torino) เป็นเมืองหลักของแคว้นปีเยมอนเตในประเทศอิตาลี เป็นทั้งเมืองศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภาคเหนือของอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำโป มีประชากร 908,000 คน (ค.ศ. 2004) และ 2.2 ล้านคนเมื่อรวมปริมณฑล (สถิติองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา) บริษัทผลิตรถยนต์เฟียตมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นี่และบริษัทรถยนต์บางบริษัทก็เริ่มกิจการที่เมืองนี้ ฉะนั้นตูรินจึงมีชื่อเล่นว่าเป็นเมืองหลวงของการผลิตรถยนต์ในประเทศอิตาลี นอกจากนั้นตูรินยังเป็นเมืองหลวงเมืองแรกของสหรัฐอิตาลี.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและตูริน · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์ชาร์จเจอร์

ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ในเครื่องยนต์ AMC V8 engine สำหรับการแข่ง dragstrip racing ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ (Supercharger, Blower, Compressor) เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่ดูดอากาศเข้าจากนั้นทำการอัดอากาศและส่งเข้าสู่ห้องด้วยแรงดันสูงให้มวลไหลของออกซิเจนสูงกว่าอัตราการปกติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้มากกว่าเครื่องยนต์ที่ไม่มีระบบอัดอากาศ ซึ่งจะช่วยให้เชื้อเพลิงถูกเผาไหม้และทำงานมากขึ้นเพื่อจะทำการเพิ่มการหมุนต่อรอบและเพิ่มกำลังของเครื่องยนต์ ขณะที่พลังมาจากกังหันก๊าซไอเสียเป็นที่รู้จักกันคือ เทอร์โบชาร์จเจอร์โดยทั่วไปคำว่า supercharger มักจะเกี่ยวกับหน่วยขับเคลื่อนทางกล.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและซูเปอร์ชาร์จเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินา

อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศอาร์เจนตินา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโก

ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไบรตัน

รตัน ไบรตัน (Brighton) เป็นแหล่งสถานที่พักตากอากาศทางริมชายฝั่งทะเลตอนใต้ ที่มีชื่อเสียงของประเทศอังกฤษ ตั้งอยู่ที่นครไบรตันและโฮฟ ในเทศมณฑลอีสต์ซัสเซกซ์ จากหลักฐานทางโบราณคดี ปรากฏร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของประชากรในไบรตันตั้งแต่บริเตนยุคสัมริด, บริเตนสมัยโรมัน และในยุคอังกฤษสมัยแองโกล-แซกซัน โดยในบันทึกดูมสเดย์ของพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1086) ได้มีการบันทึกเกี่ยวกับข้อมูลสำมะโนประชากรในเมืองเก่าแก่ที่ชื่อ ไบรเทล์มสโตน (Brighthelmstone) ซึ่งก็คือไบรตัน ในปัจจุบัน ไบรตันเป็นเมืองที่มีความสำคัญในแง่ของความเจริญมาตั้งแต่สมัยกลาง โดยเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีการพัฒนามาแล้ว แต่ภายหลังได้เข้าสู่สภาวะซบเซาและหยุดการพัฒนาไปในช่วงแรกที่เข้าสู่ยุคสมัยใหม่ อันเป็นผลมาจากการรุกรานของต่างชาติ, ภัยธรรมชาติ เช่น พายุ, การตกต่ำของเศรษฐกิจ และการลดลงของจำนวนประชากร ต่อมาไบรตัน ได้มีการฟื้นฟูเศรษฐกิจและมีการสร้างสิ่งดึงดูดใจให้แก่ผู้มาเยือน เช่นการสร้างถนนเพื่อใช้ในการเดินทางไปกรุงลอนดอน และยังเป็นจุดพักสำหรับเรือท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศส ไบรตันได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวตากอากาศชายทะเลที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหนึ่งของอังกฤษเมื่อพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ในขณะที่ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายจอร์จแห่งเวลส์ ได้เสด็จมาประทับที่ไบรตันอยู่บ่อยครั้ง และทรงมีรับสั่งให้สร้างพระราชวังพาวิลเลียน (Royal Pavilion) ขึ้นที่ไบรตัน ในปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและไบรตัน · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ไอล์ออฟแมน

อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและไอล์ออฟแมน · ดูเพิ่มเติม »

เบลฟาสต์

มืองเบลฟาสต์ เบลฟาสต์ (Belfast; Béal Feirste) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ มีประชากร 276,459 คนในเขตเมือง และ 579,554 ในเขตปริมณฑล (พ.ศ. 2544).

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและเบลฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์กิตเดอโมนาโก

ทัศนียภาพของท่าเรือโมนาโก เซอร์กิตเดอโมนาโก (Circuit de Monaco) เป็นชื่อเรียกการแข่งรถที่จัดบนถนนในเมืองมอนเตการ์โล และลา กอนดาไมน์ บริเวณท่าเรือของประเทศโมนาโก เป็นที่รู้จักในชื่อ "มอนเตการ์โล" เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมืองนี้ การแข่งขันรถ รายการเซอร์กิตเดอโมนาโก ฟอร์มูลาวัน จัดขึ้นในช่วงสุดสัปดาห์ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) โดยใช้เวลาก่อสร้าง 6 สัปดาห์ และรื้อถอนอุปกรณ์อีก 3 สัปดาห์หลังการแข่งขัน เซอร์กิตเดอโมนาโก ได้ชื่อว่าเป็นสนามที่ขับยาก และอันตรายที่สุดแห่งหนึ่งในโลก.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและเซอร์กิตเดอโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

เนือร์บูร์กริง

แผนผังแสดงเส้นทางของเนือร์บูร์ก-ริง และสนามแข่ง GP ปัจจุบัน (มุมล่างขวา) ป้อมปราการโบราณของเมืองเนือร์บูร์ก เนือร์บูร์ก-ริง (Nürburgring) หรือที่รู้จักในชื่อ เดอะริง เป็นสนามแข่งรถที่มีชื่อเสียงของเยอรมนี ตั้งอยู่ที่เมืองเนือร์บูร์ก เมืองโบราณในเขตภูเขาไอเฟิล (Eifel) ทางตะวันตกของเยอรมนี เนือร์บูร์ก-ริง เปิดใช้งานตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและเนือร์บูร์กริง · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กันยายน

วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ11 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ12 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ14 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ16 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ16 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤศจิกายน

วันที่ 17 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 321 ของปี (วันที่ 322 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 44 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ17 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กันยายน

วันที่ 17 กันยายน เป็นวันที่ 260 ของปี (วันที่ 261 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 105 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ17 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ18 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ19 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ2 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ21 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ25 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 สิงหาคม

วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ28 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ5 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ8 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ9 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชและ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.พีระพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีระพงศ์ภาณุเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีระพงษ์ภานุเดชพระองค์พีระพระองค์เจ้าพีระพงศ์ภาณุเดชพระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชเจ้าดาราทอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »