โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

ดัชนี พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

ระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (Château de Saint-Germain-en-Laye) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลในจังหวัดอีฟว์ลีนในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส ราว 19 กิโลเมตรทางตะวันตกของปารีส ในปัจจุบันพระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาต.

43 ความสัมพันธ์: บริเวณกลางโบสถ์ฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์มพ.ศ. 1665พ.ศ. 1783พ.ศ. 1791พ.ศ. 2082พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมุขโค้งด้านสกัดวังสถาปัตยกรรมกอทิกสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)หน้าต่างกุหลาบฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดินโปเลียนที่ 3จังหวัดอีฟว์ลีนจังหวัดของประเทศฝรั่งเศสคริสต์ทศวรรษ 1230ครีบยันประเทศฝรั่งเศสประเทศออสเตรียปราสาทปารีสปีแยร์เดอมงเตอโรแม่น้ำแซนแรยอน็องแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลแซ็งต์-ชาแปลโบสถ์น้อยเรลิกเรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปลเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ

บริเวณกลางโบสถ์

ริเวณกลางโบสถ์แบบกอธิคมองไปสู่บริเวณพิธีทางมุขตะวันออกภายในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์และเซนต์พอลแห่งนองซ์ในประเทศฝรั่งเศส แผนผังแสดงส่วนที่เป็น “บริเวณกลางโบสถ์” ที่เป็นสีชมพู บริเวณกลางโบสถ์ยุคต้นเรอเนสซองซ์ในบาซิลิกาซานโลเร็นโซโดยฟีลิปโป บรูเนลเลสกี - คริสต์ทศวรรษ 1420 บริเวณกลางโบสถ์ (nave) คือช่องทางเดิน (aisle) ที่ตั้งอยู่กลางคริสต์ศาสนสถานที่เริ่มตั้งแต่จากประตูทางเข้าไปสู่บริเวณพิธีและแท่นบูชาเอก ที่บางครั้งก็อาจจะขนาบด้วยช่องทางเดินข้างซ้ายขวาข้างละช่องหรืออาจจะมากกว่าก็ได้ถ้าเป็นวัดใหญ่ๆ เช่นมหาวิหารแซงต์เอเตียนน์แห่งบูร์กที่มีช่องทางเดินทั้งหมดห้าช่องที่ประกอบด้วยบริเวณกลางโบสถ์ที่ขนาบด้วยช่องทางเดินข้างๆ ละสองช่อง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและบริเวณกลางโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม

ียนลายเส้นโดยอิสราเอล ซีลแว็สทร์ มุมมองไปที่ปราสาทเนิฟแห่งเมอดง หนึ่งในงานออกแบบของเดอ ลอร์ม ที่อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมในช่วงร้อยปีหลังจากที่ได้รับการก่อสร้าง ฟีลีแบร์ เดอ ลอร์ม (Philibert de l'Orme; ค.ศ. 1510 – 8 มกราคม ค.ศ. 1570) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส เป็นปรมาจารย์ผู้หนึ่งแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ฟีลีแบร์เกิดที่เมืองลียง เป็นลูกของเฌออ็อง เดอ ลอร์ม ซึ่งเป็นสถาปนิกเช่นกัน และพยายามสั่งสอนให้ลูกชายให้เข้าสู่วิชาชีพเดียวกัน ฟีลีแบร์ถูกส่งไปร่ำเรียนที่อิตาลี (ค.ศ. 1533–1536) เมื่อเรียนจบได้ถูกจ้างเข้าทำงานโดยสมเด็จพระสันตปาปาพอลที่ 3 พอได้กลับมาที่ฝรั่งเศสก็ได้มาทำงานกับพระคาร์ดินัล ดูว์ แบแลแห่งลียง (Cardinal du Bellay) ในปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและฟีลีแบร์ต เดอ ลอร์ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1665

ทธศักราช 1665 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพ.ศ. 1665 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1783

ทธศักราช 1783 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพ.ศ. 1783 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1791

ทธศักราช 1791 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพ.ศ. 1791 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2082

ทธศักราช 2082 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพ.ศ. 2082 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส (Charles V of France หรือ Charles the Wise หรือ Charles le Sage; 21 มกราคม ค.ศ. 1338 - 16 กันยายน ค.ศ. 1380) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1364 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1380 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามร้อยปีที่ทรงยึดดินแดนที่เสียไปแก่ราชอาณาจักรอังกฤษในสนธิสัญญาเบรทินยี (Treaty of Brétigny) พระเจ้าพระเจ้าชาร์ลที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1338 ที่แว็งแซนในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและ โบนนีแห่งโบฮีเมีย ดัชเชสแห่งนอร์ม็องดีผู้ที่สิ้นพระชนม์ไม่นานก่อนที่พระสวามีจะขึ้นครองราชย์ ต่อมาพระองค์ทรงเสกสมรสกับฌานแห่งบูร์บง ในปี ค.ศ. 1350 และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกันเก้าพระองค์ที่รวมทั้งพระเจ้าชาร์ลที่ 6 แห่งฝรั่งเศส, หลุยส์ที่ 1 ดยุคแห่งออร์เลอ็อง และกาเตอรีนแห่งวาลัว.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าชาร์ลที่ 5 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ. 1515 ถึงค.ศ. 1547 พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์ พระองค์แรกของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่ง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส (Louis VI of France หรือ Louis the Fat หรือ Louis le Gros) (1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเซียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1108 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1137 พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์กาเปเซียงองค์แรกที่ทรงมีบทบาทในการรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางภายใต้การนำของพระมหากษัตริย์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 6 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1081 ที่ปารีส ในประเทศฝรั่งเศส พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสและพระนางเบอร์ธาแห่งฮอลแลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสพระชายาองค์แรก ตลอดยี่สิบปีที่ทรงครองราชย์พระองค์ต้องทรงต่อสู้กับขุนนางผู้มีอำนาจที่เป็นปัญหาทั้งต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและราชบัลลังก์อังกฤษในการครองอำนาจในนอร์ม็องดี แต่พระเจ้าหลุยส์ก็ทรงสามารถเพิ่มอำนาจของพระองค์เองขึ้นอีกมากและเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกผู้มีความแข็งแกร่งตั้งแต่การแยกจักรวรรดิการอแล็งเฌียง อธิการซูว์เฌแห่งมหาวิหารแซ็ง-เดอนีกล่าวถึงพระองค์ว่าเป็นผู้ที่มีพระอุปนิสัยหนักแน่นที่ไม่เหมือนบรรพบุรุษของพระองค์ก่อนหน้านั้น เมื่อยังทรงพระเยาว์หลุยส์ต่อสู้กับโรเบิร์ต เคอร์โธส ดยุกแห่งนอร์ม็องดี (Robert Curthose) พระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ ขุนนางของดินแดนส่วนพระมหากษัตริย์อีล-เดอ-ฟรองซ์ หลุยส์ทรงกลายมาใกล้ชิดกับอธิการซูว์เฌ ผู้ต่อมากลายเป็นที่ปรึกษาในพระองค์ หลุยส์ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1108 ฟิลิปแห่งฝรั่งเศสพระอนุชาต่างพระมารดาทรงป้องกันไม่ให้หลุยส์ไปทำพิธีบรมราชาภิเษกที่แร็งส์ หลุยส์จึงทำทำพิธีราชาภิเษกที่ออร์เลอ็องโดย อาร์ชบิชอปแดงแบร์ตแห่งซองส์ ราล์ฟเดอะกรีนอาร์ชบิชอปแห่งแร็งส์จึงส่งผู้แทนมาท้าความถูกต้องของการราชาภิเษกแต่ก็ไม่มีผล ในวันอาทิตย์ใบปาล์มของปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าหลุยส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270 นอกจากเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสพระองค์ก็ยังทรงใช้พระนามว่า “หลุยส์ที่ 2 เคานต์แห่งอาร์ตัว” ระหว่างปี ค.ศ. 1226 จนถึงปี ค.ศ. 1237 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้ทรงทำงานร่วมกับรัฐสภาแห่งปารีสในการพยายามปรับปรุงเพื่อเพิ่มความมีประสิทธิภาพทางด้านกฎหมาย พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1214 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศส และพระนางบล็องช์แห่งคาสตีล พระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสพระองค์เดียวที่ทรงได้รับการประกาศเป็นนักบุญ ซึ่งทำให้มีสถานที่ต่างๆ มากมายที่ตั้งชื่อตามพระอง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (ภาษาอังกฤษ: Henry II of France) (31 มีนาคม ค.ศ. 1519- 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1559) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์วาลัว.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์

การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ยังรู้จักกันในชื่อ การปฏิวัติปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

มุขโค้งด้านสกัด

ลักษณะโดยทั่วไปของมุขโค้งสมัยคริสเตียนตอนต้น/ไบแซนไทน์ที่เป็นโค้งครึ่งโดม มุขโค้งสามมุขด้านตะวันออกของบาซิลิกาซานตาจูเลียทางตอนเหนือของอิตาลี มุขด้านตะวันออกของแอบบีแซงต์อูน (Abbey church of Saint-Ouen) แสดงให้เห็น “ชาเปลดาวกระจาย”, รูออง มุขด้านตะวันออกของมหาวิหารมอนริอาเลในซิซิลีที่เต็มไปด้วยลวดลายตกแต่ง มุขโค้งด้านสกัด หรือ มุขตะวันออก (Apse หรือ Apsis) คือส่วนที่เป็นโค้งครึ่งวงกลมที่มีหลังคาครึ่งวงกลมหรือครึ่งโดมที่ยื่นออกมาจากสิ่งก่อสร้าง “มุขโค้งด้านสกัด” มาจากภาษาอังกฤษว่า “Apse” ที่มาจากภาษาละติน “absis” ที่แปลว่า “โค้ง” หรือ “เพดานโค้ง” ในสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์, สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์ และ สถาปัตยกรรมกอธิคของแอบบี, มหาวิหาร และคริสต์ศาสนสถานอื่นๆ คำนี้หมายถึงมุขครึ่งวงกลมหรือหลายเหลี่ยมที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของสิ่งก่อสร้างที่ภายในเป็นที่ตั้งของแท่นบูชาเอก และไม่ว่าหลังคาจะเป็นทรงใด: ราบ, ลาด, โดม หรือครึ่งวงกลม.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและมุขโค้งด้านสกัด · ดูเพิ่มเติม »

วัง

้านหน้าของพระราชวังดุสิต วัง หรือ พระราชวัง เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยของประมุขของประเทศหรือผู้นำผู้มีตำแหน่งสูงในหลายประเทศในยุโรปเช่นประเทศฝรั่งเศส และ อิตาลี นอกจากนั้นยังเป็นคำที่ใช้สำหรับสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่มากในตัวเมืองที่สร้างสำหรับเจ้านาย หรือผู้มีตระกูล ในปัจจุบันวังหรือพระราชวังหลายแห่งเปลี่ยนไปใช้เป็นพิพิธภัณฑ์หรือสำนักงานรัฐบาล หรือโรงแรม.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและวัง · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและสถาปัตยกรรมกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919) · ดูเพิ่มเติม »

หน้าต่างกุหลาบ

“หน้าต่างกุหลาบ” ในมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส หน้าต่างกุหลาบ (rose window) โดยทั่วไปหมายถึงหน้าต่างทรงกลมซึ่งมักจะใช้ในการสร้างคริสต์ศาสนสถานโดยเฉพาะที่เป็นสถาปัตยกรรมกอทิก คำว่า “rose window” เริ่มใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 และ พจนานุกรมอ๊อกซฟอร์ดระบุว่า rose ในที่นี้หมายถึง ดอกกุหลาบ คำว่า “หน้าต่างกุหลาบ” มักจะหมายถึงหน้าต่างที่แบ่งเป็นซี่ ๆ ด้วยหิน กระจายออกไปจากเพลาศูนย์กลาง คำว่า “หน้าต่างกลม” มักจะใช้เฉพาะหน้าต่างกลมที่เป็นแบบที่ซับซ้อนซึ่งดูคล้ายกลีบกุหลาบหรือกลีบดาวเรืองซ้อน หน้าต่างกลมที่ไม่มีซี่ที่นิยมทำกันในโบสถ์ในประเทศอิตาลีเรียกว่า “หน้าต่างตา” (Ocular window หรือ oculus) “หน้าต่างกลม” เป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกซึ่งจะเห็นได้จากในมหาวิหารทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส แต่แท้ที่จริงแล้วการสร้างหน้าต่างกลมเริ่มตั้งแต่ยุคกลาง การสร้างหน้าต่างกลมหันกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้งในสมัยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและหน้าต่างกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

ฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์

ูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ (Jules Hardouin-Mansart,; 16 เมษายน ค.ศ. 1646 - 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1708) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ที่ผลงานถือกันว่าเป็นผลงานของสมัยบาโรกฝรั่งเศสที่รุ่งเรืองที่สุดที่เป็นสัญลักษณ์ของอำนาจและความยิ่งใหญ่โอ่อ่าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ม็องซาร์ถือกันว่าเป็นสถาปนิกคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและฌูล อาร์ดวง-ม็องซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอีฟว์ลีน

อีฟว์ลีน (Yvelines) เป็นจังหวัดในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส จังหวัดอีฟว์ลีนตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝรั่งเศส โดยมีแวร์ซายเป็นเมืองหลวง อีฟว์ลีนก่อตั้งขึ้นจากอดีตจังหวัดแซเนอวซ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1968 ตามรัฐบัญญัติที่ได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1964 และ décret d'application (กฤษฎีการะบุวิธีการบังคับใช้กฎหมาย) เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและจังหวัดอีฟว์ลีน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศฝรั่งเศส

ังหวัดในประเทศฝรั่งเศส (départements; departments) ในบริบทของการเมืองและภูมิศาสตร์คือหน่วยการบริหาร (administrative division) ของประเทศฝรั่งเศสและอดีตอาณานิคมในระดับรองจากแคว้น ในปัจจุบันประกอบด้วย 101 จังหวัด แบ่งเป็นจังหวัดในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ 96 จังหวัด และจังหวัดโพ้นทะเล (départements d'outre-mer, DOM) 5 จังหวัด แต่ละจังหวัด (ยกเว้นมายอต) แบ่งย่อยออกเป็นเขต (arrondissements) รวม 335 เขต.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและจังหวัดของประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1230

..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและคริสต์ทศวรรษ 1230 · ดูเพิ่มเติม »

ครีบยัน

รีบยันในงานก่อสร้าง มหาวิหารเบเวอร์ลีย์ในอังกฤษซึ่งเป็นครีบยันทึกผสมกับครีบยันแบบปีกที่กางออกไปจากตัวสิ่งก่อสร้าง ครีบยัน (buttress) คือวัสดุหรือส่วนของโครงสร้างที่ใช้พยุง รับน้ำหนัก ยึด วัตถุ สิ่งของ หรือโครงสร้าง ให้มีความแข็งแรง มีเสถียรภาพในการคงอยู่ ไม่ล้ม หรือพังทล.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและครีบยัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาท

ปราสาทคาร์คาโซนในฝรั่งเศส ปราสาท คือสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการป้องกันข้าศึกซึ่งเป็นสัญลักษณ์หลักของสมัยกลาง ความหมายของคำว่าปราสาทยังเป็นที่ถกเถียงกันในหมู่นักวิชาการถึงความหมายที่แท้จริง แต่โดยทั่วไปแล้วปราสาทมีความหมายต่างจากคำว่า “ป้อม” (fort) และ “ป้อมปราการ” (fortress) ตรงที่ปราสาทเป็นที่ประทับหรือที่พำนักของพระมหากษัตริย์หรือขุนนางในบริเวณที่เป็นจุดที่ต้องมีการป้องกันจากข้าศึก สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่มาของปราสาทคือป้อมโรมัน (Roman fort) และ ป้อมเนิน (Hill fort) ที่สร้างกันทั่วยุโรปที่มาจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในสมัยจักรวรรดิคาโรลินเจียน แต่การวิวัฒนาการของปืนใหญ่และดินปืนในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นการเปลี่ยนลักษณะการสงครามในยุโรปและทำให้สมรรถภาพของปราสาทในการใช้เป็นสิ่งป้องกันการโจมตีจากข้าศึกลดลง และทำให้การสร้างป้อมเป็นที่นิยมกันมากขึ้น สิ่งก่อสร้างในรัสเซียที่เรียกว่า “เคร็มลิน” (Kremlin) หรือในญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ชิโร” (Shiro) ก็ถือว่าเป็นปราสาท.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์เดอมงเตอโร

ปีแยร์เดอมงเตอโร หรือ ปีแยร์เดอมงเทรย (Pierre de Montereau; Pierre de Montreuil; ค.ศ. 1200 - 17 มีนาคม ค.ศ. 1266) เป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศสผู้มีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมกอธิคฝรั่งเศส แต่ประวัติชีวิตและงานแทบจะไม่เป็นที่ทราบ มงเตอโรทำงานอยู่ที่มหาวิหารแซ็ง-เดอนีจนกระทั่งปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและปีแยร์เดอมงเตอโร · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแซน

แม่น้ำแซน (Seine) เป็นแม่น้ำสายหลักทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส ทั้งยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวในกรุงปารีสอีกด้วย ซแซน หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและแม่น้ำแซน · ดูเพิ่มเติม »

แรยอน็อง

มหาวิหารโคโลญ (ค.ศ. 1248-ค.ศ. 1322) ที่ถือกันว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมแรยอน็องที่งดงามที่สุดของยุคกลางหน้าต่างกุหลาบแบบแรยอน็องของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส แรยอน็อง (Rayonnant) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศสที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1240 จนถึง ค.ศ. 1350 แรยอน็องเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่วิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมกอทิกตอนกลาง แรยอน็องเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่หันความสนใจจากสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่และความกว้างใหญ่ของสิ่งก่อสร้างเช่นมหาวิหารชาทร์ หรือทางเดินกลางของมหาวิหารนอเทรอดามแห่งอาเมียงมาเป็นการคำนึงถึงผิวสองมิติของสิ่งก่อสร้าง และการตกแต่งด้วยลวดลายที่ซ้ำซ้อนที่มีขนาดต่าง ๆ กัน หลังจากกลางคริสต์ศตวรรษที่ 14 แรยอน็องก็ค่อยวิวัฒนาการไปเป็นสถาปัตยกรรมกอทิกตอนปลายและสถาปัตยกรรมกอทิกวิจิตร และดังกล่าวแล้วว่าการเปลี่ยนแปลงจากสมัยหนึ่งไปอีกสมัยหนึ่งมิได้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดแจ้ง.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและแรยอน็อง · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์

อีล-เดอ-ฟร็องส์ (Île-de-France) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บริเวณกลางประเทศเยื้องไปทางทางทิศเหนือ.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล

แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (Saint-Germain-en-Laye) เป็นเมืองในจังหวัดอีฟว์ลีนในอีล-เดอ-ฟร็องส์ในประเทศฝรั่งเศส เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลตั้งอยู่ทางตะวันตกของปริมณฑลปารีสของฝรั่งเศส โดยระยะทางราว 19 กิโลเมตรจากใจกลางของปารีส ชาวแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลเรียกว่า "แซ็ง-แฌร์มานัว" (Saint-Germanois) แซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์รวมทั้งการเป็นลงนามอย่างเป็นทางของสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลในปี..

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งต์-ชาแปล

แซ็งต์-ชาแปล (La Sainte-Chapelle, The Holy Chapel) เป็นโบสถ์น้อยของนิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ที่กรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างแบบสถาปัตยกรรมกอทิก แซ็งต์-ชาแปลอาจจะถือกันว่าเป็นงานชิ้นที่งดงามที่สุดของสถาปัตยกรรมแรยอน็องซึ่งเป็นสมัยหนึ่งของสถาปัตยกรรมกอทิก.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อย

น้อยในประเทศเบลเยียม โบสถ์น้อย หรือ วัดน้อย (chapel) เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่างๆ ตั้งแต่ใหญ่ขนาดมหาวิหารย่อย ๆ ไปจนถึงโบสถ์น้อยเล็ก ๆ ข้างทาง เช่นเดียวกับถ้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างขนาดก็ขึ้นอยู่กับฐานะของผู้สร้าง โบสถ์น้อยที่เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร, โบสถ์ใหญ่ ๆ, ปราสาท, วัง, คฤหาสน์, วิทยาลัย, โรงพยาบาล คุก หรือสุสาน บางครั้งโบสถ์น้อยที่สร้างในมหาวิหารจะสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น "โบสถ์น้อยแม่พระ" ที่มักจะสร้างเป็นโบสถ์น้อยที่อยู่ทางตะวันออกสุดของโบสถ์ หรือ "โบสถ์น้อยศีลศักดิ์สิทธิ์" ที่ตั้งติดกับโบสถ์และใช้เป็นที่เก็บไวน์ และขนมปังที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท ถ้าโบสถ์น้อยมีขนาดค่อนข้างเล็กที่สร้างเป็นคูหาภายในทางด้านข้างหรือทางด้านหลังของมหาวิหารหรือโบสถ์ก็อาจจะเรียกว่า "คูหาสวดมนต์" ความหมายเป็นนัยยะของโบสถ์น้อยคือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่ใช่สถาบันศาสนา เช่น โบสถ์น้อยของปราสาท หรือโบสถ์น้อยส่วนตัวภายในมหาวิหารเป็นต้น.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและโบสถ์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

เรลิก

รลิก (relic) คือชิ้นส่วนร่างกายของนักบุญหรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิเชมัน ฯลฯ คำว่า relic มาจาก ภาษาละติน “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือศาสนสถานสถานที่เช่นมหาวิหารหรือวั.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและเรลิก · ดูเพิ่มเติม »

เรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล

รลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล (Relics of Sainte-Chapelle) คือเรลิกที่เป็นของพระเยซูที่ได้มาโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในยุคกลางที่ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของอัครมุขมณฑลปารีส เดิมเรลิกหล่านี้เก็บรักษาไว้ที่แซ็งต์-ชาแปลในปารีส แต่ในปัจจุบันเป็นสมบัติของมหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารี.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและเรลิกแห่งแซ็งต์-ชาแปล · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ

อ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรือ เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ หรือที่รู้จักกันในพระนาม เอ็ดเวิร์ดแห่งวูดสต็อค (Edward, the Black Prince หรือ Edward of Woodstock) (15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 - 8 มิถุนายน ค.ศ. 1376) เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำเป็นพระราชวงศ์อังกฤษผู้มีบทบาทในการต่อสู้กับราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสงครามร้อยปี เอ็ดเวิร์ดประสูติเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระราชินีฟิลลิปปา และเป็นพระบิดาของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นผู้นำทางการทหารผู้มีความสามารถและทรงเป็นผู้ที่เป็นที่นิยมขณะที่ยังทรงมีชีวิตอยู่ เอ็ดเวิร์ดสิ้นพระชนม์เพียงปีเดียวก่อนที่พระราชบิดาจะเสด็จสวรรคต ทรงเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์องค์แรกที่ไม่ได้ขึ้นครองราชสมบัติ ราชบัลลังก์จึงตกไปเป็นของริชาร์ด พระโอรสองค์โตของพระองค์เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 เสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: พระราชวังแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แลและเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Château de Saint-Germain-en-Layeวังแซงต์-แชร์แมง-ออง-เลย์พระราชวังแซงต์-แชร์แมง-ออง-เลย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »