โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2494

ดัชนี พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

329 ความสัมพันธ์: ชรัส เฟื่องอารมย์บัณฑิต ฤทธิ์ถกลชิงชัย มงคลธรรมบุญคลี ปลั่งศิริบุญเติม จันทะวัฒน์บุษบา ยอดบางเตยฟรานเชสโก โมเซอร์ฟิล คอลลินส์พ.ศ. 2403พ.ศ. 2404พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2500พ.ศ. 2519พ.ศ. 2524พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559พ.ศ. 2561พรรคเพื่อไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์ไทยพระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผาพระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)พระนาย สุวรรณรัฐพระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)พะจุณณ์ ตามประทีปพิรุณ แผ้วพลสงพิสิฐ ลี้อาธรรมพินิจ จารุสมบัติพีโบ ไบรสันกบฏแมนฮัตตันกลชัย สุวรรณบูรณ์กอบศักดิ์ ชุติกุลกอร์ดอน บราวน์กัว จุยกำธร พุ่มหิรัญกิตติ วะสีนนท์กูนดี เอิลเลิร์ตภิญโญ นิโรจน์มะซะรุ ฟุจิมาร์ค ฮามิลล์...มิสึรุ อะดะชิมิตซูโอะ ชิบาฮาชิมุฮัมมัด มุรซีมีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญมีเชล บาเชเลมณทิพย์ ศรีรัตนามงคล อุทกมนตรี เจนวิทย์การยะซุโอะ ไดชิยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิชรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494รายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีริคาร์โด ฟอร์ตาเลซารซมะฮ์ มันโซร์ลูวี ฟัน คาลลูเธอร์ แวนดรอสวรวีร์ มะกูดีวาสนา วีระชาติพลีวิชิต ปลั่งศรีสกุลวิชิต ไพรอนันต์วิภูแถลง พัฒนภูมิไทวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิษณุ เครืองามวิฑูรย์ วงษ์ไกรวิเชียร อัศว์ศิวะกุลวีระศักดิ์ ฟูตระกูลสมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมบัติ คุรุพันธ์สมชาย สหชัยรุ่งเรืองสมชาย นีละไพจิตรสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์สมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาลสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโลสังศิต พิริยะรังสรรค์สามารถ แก้วมีชัยสิริกร มณีรินทร์สุชาติ เหมือนแก้วสุกำพล สุวรรณทัตสุภัค ลิขิตกุลสุรสีห์ อิทธิกุลสุรทิน พิมานเมฆินทร์สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้างสุนัย จุลพงศธรสุเมธ แย้มนุ่นสดใส รุ่งโพธิ์ทองสติงหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคลอรสา พรหมประทานออมสิน ชีวะพฤกษ์ออร์สัน สก็อต การ์ดอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์อัยมัน อัซเซาะวาฮิรีอัศวิน วิภูศิริอัศวิน ขวัญเมืองอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อาคม เอ่งฉ้วนอาซาเดห์ ชาฟิกอิราวดี นวมานนท์อนันต์ ลิมปคุปตถาวรผุสดี ตามไทผุดผาดน้อย วรวุฒิจอห์น เมลเลนแคมป์จาง อี้โหมวจิตติมา เจือใจจิน เชาฉฺวินจีระพันธ์ วีระพงษ์จตุพล ภูอภิรมย์ธำรงค์ ไทยมงคลธีรพล นิยมธีระชัย ภูวนาถนรานุบาลธนิสร์ ศรีกลิ่นดีทอมมี ฮิลฟิเกอร์ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยาทิวา เงินยวงทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีขวัญสรวง อติโพธิขัตติยะ สวัสดิผลดวงดาว จารุจินดาดวงใจ หทัยกาญจน์ดำรงค์ พิเดชดิ๊ก สเลเตอร์ดี ดี ราโมนดี๋ ดอกมะดันคริส คูเปอร์คริสตัล เกลคริสโตเฟอร์ ครอสส์ซานเตียโก กาลาตราบาประมุขพิสิฐ อัจฉริยะฉายประสาท ตันประเสริฐประสิทธิ์ ไชยะโทประจักษ์ แกล้วกล้าหาญปรัศนีปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุลปานี ยาท่อตู้ปีเตอร์ วิธนิมุคตาร์ วาบานิยม เวชกามานทีทิพย์ กฤษณามระแก้วสรร อติโพธิแลร์รี ซบีสซโกแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์แคทริน บิเกโลว์แปลก พิบูลสงครามโชคชัย โชคอนันต์โกวิทย์ ธารณาโรบิน วิลเลียมส์โรเบร์โต ดูรันโจอี ราโมนโดม สุขวงศ์โคอิชิ อิวะกิไกวัล วัฒนไกรไมเคิล คีตันเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์เกริกกำพล ประถมปัทมะเกรจ วาเลนไทน์เกลาดีโอ รานีเอรีเมษายนเวียง วรเชษฐ์เหวง โตจิราการเหงียน ถิ ซวานเอลีโย ดี รูโปเจฟฟรีย์ รัชเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์เจ้าหญิงบัสมาห์ บิน เฏาะลาลเจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียมเขียว กัญญาฤทธิ์เด็กซ์เตอร์ เดวีส์เด๋อ ดอกสะเดาเควิน คีแกนเคิร์ต รัสเซลล์เคนนี แดลกลีช1 กรกฎาคม1 กุมภาพันธ์1 มิถุนายน1 มีนาคม1 ตุลาคม1 เมษายน10 พฤษภาคม10 กันยายน10 กุมภาพันธ์10 มกราคม10 มีนาคม10 ธันวาคม10 เมษายน11 พฤษภาคม11 กุมภาพันธ์11 สิงหาคม12 พฤษภาคม12 กุมภาพันธ์13 พฤษภาคม13 กันยายน13 สิงหาคม13 ตุลาคม13 เมษายน14 พฤศจิกายน14 กุมภาพันธ์14 มิถุนายน15 พฤศจิกายน15 กรกฎาคม15 กันยายน15 กุมภาพันธ์15 มกราคม15 เมษายน16 กุมภาพันธ์16 มกราคม16 ตุลาคม16 เมษายน17 พฤษภาคม17 มีนาคม17 สิงหาคม17 เมษายน18 พฤศจิกายน18 กรกฎาคม18 กันยายน18 กุมภาพันธ์18 มกราคม18 มีนาคม18 ตุลาคม18 เมษายน19 พฤษภาคม19 มิถุนายน19 มีนาคม19 สิงหาคม19 ธันวาคม19 เมษายน2 กรกฎาคม2 มิถุนายน2 ตุลาคม20 พฤศจิกายน20 กันยายน20 กุมภาพันธ์20 มีนาคม20 สิงหาคม20 ตุลาคม20 เมษายน21 พฤศจิกายน21 กรกฎาคม21 มีนาคม21 ธันวาคม21 ตุลาคม22 พฤศจิกายน22 พฤษภาคม22 กุมภาพันธ์22 มิถุนายน22 เมษายน23 พฤศจิกายน23 พฤษภาคม23 กันยายน23 กุมภาพันธ์23 มกราคม23 สิงหาคม23 ธันวาคม24 มิถุนายน24 มีนาคม24 สิงหาคม24 ตุลาคม25 พฤศจิกายน25 กรกฎาคม25 กันยายน25 มิถุนายน26 พฤศจิกายน26 พฤษภาคม26 มิถุนายน27 พฤศจิกายน27 กุมภาพันธ์27 เมษายน28 พฤษภาคม28 กรกฎาคม28 ตุลาคม29 พฤศจิกายน29 กันยายน29 มิถุนายน3 พฤษภาคม3 มกราคม30 มกราคม30 มีนาคม30 สิงหาคม4 กันยายน4 กุมภาพันธ์4 มกราคม4 มีนาคม4 สิงหาคม4 เมษายน5 พฤศจิกายน5 กรกฎาคม5 กันยายน5 กุมภาพันธ์5 มกราคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 พฤษภาคม6 กรกฎาคม6 กันยายน6 กุมภาพันธ์6 ธันวาคม7 สิงหาคม7 ตุลาคม7 เมษายน8 พฤศจิกายน8 กันยายน8 มกราคม8 สิงหาคม8 เมษายน9 กรกฎาคม9 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (279 มากกว่า) »

ชรัส เฟื่องอารมย์

รัส เฟื่องอารมย์ เกิดวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในปี 28 ยังทำงานอยู่ที่ธนาคารกรุงเทพ สาขาลุมพินี ชรัสเป็นนักร้องนักแต่งเพลงที่เป็น role model ช่วงแรกการนำเสนอผลงานเป็นการร่วมกัน ระหว่าง ชรัส และ แฟลช (วงของพนเทพ สุวรรณะบุณย์ โปรดิวเซอร์คุ่หูและศิลปินหลายท่าน อาทิ วิยะดา, กบ (ทรงสิทธิ์) ออกผลงาน ผีเสื้อ แมลงปอ ในสังกัดรถไฟดนตรี ต่อมาออกผลงานกับ EMI โดยร่วมกับ ชลิต เฟื่องอารมย์ ในชุด ชรัส-ชลิต และคนแปลกหน้า ในปี 2528 ไนท์สปอตโปรดักชั่น ดึงตัวไปออกงานร่วมกับ มาลีวัลย์ เจมีน่า ชุด มาลีวัลย์และชรัส เป็นงานพ๊อพแจ๊ซ ชรัสกลับมาดังอีกครั้งเมื่อออกงานชุด ชรัสวันนี้ กับแกรมมี่ในปี 2529 เพลง ทั้งรู้ก็รัก แล้วจึงมาอยู่ ครีเอเทียอาร์ทติสท์ ในชุด เหงา เหงา ก็เอามาฝาก หลังจากนี้มีชุด ชรัส พักร้อน กับค่ายบายมี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชรัส เฟื่องอารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต ฤทธิ์ถกล

ัณฑิต ฤทธิ์ถกล (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552) ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย มีผลงานที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ด้วยเกล้า (2530) และภาพยนตร์ในชุด บุญชู ที่สร้างชื่อเสียงให้กับดาราคู่ขวัญ จินตหรา สุขพัฒน์ และสันติสุข พรหมศิริ ซึ่งมีการสร้างภาคต่อรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง บัณฑิต ฤทธิ์ถกล เกิดที่อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน โดยบัณฑิตเป็นพี่คนโต จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และอัสสัมชัญพานิช เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบัณฑิต ฤทธิ์ถกล · ดูเพิ่มเติม »

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และชิงชัย มงคลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

บุญคลี ปลั่งศิริ

ญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บูญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารระดับสูง ที่ถูกยกย่องให้เป็นผู้บริหารที่อยู่แถวหน้าของไทย การวิเคราะห์แต่ละอย่างได้ลงในหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยครั้ง เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ให้กลายมาเป็น Conglomerate รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในช่วงการดูแลกิจการของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายงานออกไปสายธุรกิจอื่น เช่น สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, แอร์เอเชีย, Capital OK, Shinee.com และอื่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุญคลี ปลั่งศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเติม จันทะวัฒน์

ญเติม จันทะวัฒน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนเดียวของพรรคถิ่นไทย นับตั้งแต่ก่อตั้งพรรคเป็นต้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุญเติม จันทะวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุษบา ยอดบางเตย

นางบุษบา ยอดบางเตย รองประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย นายกสมาคมยกน้ำหนักแห่งประเทศไทย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ และอดีตกรรมการบริหารพรรคมัชฌิมาธิปไต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และบุษบา ยอดบางเตย · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานเชสโก โมเซอร์

ฟรานเชสโก โมเซอร์ (Francesco Moser) นักจักรยานชาวอิตาลี จากจังหวัดปกครองตนเองเตรนโต เป็นนักกีฬาที่มีชื่อเสียงในช่วงกลางทศวรรษ 1970 ถึง 1980 โดยชนะการแข่งขันหลายรายการในสเตจสั้นๆ รวมถึงชนะเลิศจีโรดีตาเลียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟรานเชสโก โมเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิล คอลลินส์

ฟิล คอลลินส์ (มีชื่อเต็มว่า Philip David Charles Collins) เกิดเมื่อปี 30 มกราคม ค.ศ. 1951 ในเมืองชิสิก, ลอนดอน ประเทศอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และฟิล คอลลินส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส)

ระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโส) นำแถวพระภิกษุออกบิณฑบาต พระวิสุทธิสังวรเถร (พรหมวํโสภิกฺขุ) หรือ "พระพรหมวังโส" หรือตามที่รู้จักในหมู่ลูกศิษย์ว่า "อาจารย์พรหม" (Ajahn Brahm) เป็นพระภิกษุในพุทธศาสนา นิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวอังกฤษ หนึ่งในศิษย์ชาวต่างประเทศของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิญาณ เมืองเซอร์เพนไทน์ รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นอดีตวัดสาขาของวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย พระพรหมวังโสเป็นที่รู้จักทั่วไปจากกรณีเป็นพระกรรมวาจาจารย์บวชภิกษุณี 4 รูปอย่างลับๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 ทำให้คณะสงฆ์ไทยและคณะสงฆ์นานาชาติสายวัดหนองป่าพงได้เชิญท่านมาประชุมชี้แจงถึงเรื่องดังกล่าวในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน ผลปรากฏว่ามีการลงมติขับพระพรหมวังโสออกจากความเป็นหมู่คณะของสงฆ์สายวัดหนองป่าพง เพราะเห็นว่าการบวชภิกษุณีเป็นการขืนกระทำโดยผิดต่อพระวินัยฝ่ายเถรวาท และตัดวัดโพธิญาณออกจากความเป็นวัดสาขาของวัดหนองป่าพงอีกด้วย มติดังกล่าวนี้ทำให้พระพรหมวังโสได้ขาดจากความปกครองของคณะสงฆ์ไทยมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระวิสุทธิสังวรเถร (ปีเตอร์ พฺรหฺมวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

ระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา (18 มกราคม พ.ศ. 2494 - เมษายน พ.ศ. 2519) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี มีพระพี่น้องร่วมพระมารดา 7 พระองค์ พระองค์ทรงพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)

หลวงพ่อเดิม พุทธสโร (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2403 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) เทพเจ้าแห่งนครสวรรค์ ผู้สร้างมีดหมอที่โด่งดังมากที่สุดในประเทศไทย ท่านมีลูกศิษย์มาขอศึกษาวิชาพุทธาคมมากมายเช่น หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ เป็นต้น ท่านมีรูปร่างสูงใหญ่ และมีอิริยาบถงามสง่า จึงเป็นที่เคารพยำเกรงของคนทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระนาย สุวรรณรัฐ

ระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารชายแดนใต้ (ผอ.ศอ.บต.) พื้นเพเป็นคนกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ เคยตามบิดาซึ่งเป็นข้าหลวงไปปราบโจรสลัดทะเลสาบ เดินทางไปเติบโตที่จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2495 หลังจากนั้นจึงได้ย้ายมาศึกษาที่กรุงเทพฯ อีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระนาย สุวรรณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)

ระเทพปริยัติวิมล นามเดิม แสวง ลูกอินทร์ ฉายา ธมฺเมสโก ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก) · ดูเพิ่มเติม »

พะจุณณ์ ตามประทีป

ลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป (ชื่อเล่น: ตุ้ม) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตหัวหน้าสำนักงานมูลนิธิรัฐบุรุษและนายทหารคนสนิท พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและประธานองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-ร่วมรุ่นกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา, พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.ท.สัณฐาน ชยนนท์), โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 69, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 (วปอ.46) พล.ร.อ.พะจุณณ์ มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2549 โดยในคืนวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พล.ร.อ.พะจุณณ์ ซึ่งในขณะนั้นมียศ พลเรือโท (พล.ร.ท.) เป็นผู้รับหนังสือร้องทุกข์ของแผ่นดินจาก นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้นำการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ที่นำคณะผู้ชุมนุมกลุ่มหนึ่งเดินจากที่ชุมนุมลานพระบรมรูปทรงม้า มายังบ้านสี่เสาเทเวศน์ ซึ่งเป็นบ้านพักของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ และเป็นผู้นำนายสนธิเข้าไปเจรจาในบ้านเป็นเวลา 10 นาที ก่อนที่นายสนธิจะออกมา เนื่องจากในขณะนั้น พล.อ.เปรม มิได้อยู่ในบ้าน หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ด้วยในอัตราข้าราชการทหารกองทัพเรือ จากนั้นในปี พ.ศ. 2552 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง ข้าราชการทหารและตำรวจ ในส่วนของ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ได้เลื่อนยศเป็น พลเรือเอก (พล.ร.อ.) ในอัตราจอมพล และได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ โดยในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทยนั้น พล.ร.อ.พะจุณณ์ ในฐานะนายทหารใกล้ชิด พล.อ.เปรม มักจะเป็นผู้ตอบโต้หรือแถลงแทนตัว พล.อ.เปรม เมื่อถูกพาดพิงถึงเสมอ ๆ หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศและกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ชีวิตส่วนตัว พล.ร.อ.พะจุณณ์สมรสกับ นางพรเพ็ญ ตามประทีป มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ แพรววลัย ตามประทีป อดีตประธานสหภาพรัฐวิสาหกิจ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพะจุณณ์ ตามประทีป · ดูเพิ่มเติม »

พิรุณ แผ้วพลสง

ลเอก พิรุณ แผ้วพลสง อดีตประธานกรรมการ การไฟฟ้านครหลวง อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10), โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 21 (จปร.21) กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน กรรมการ เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ปฏิบัติหน้าที่ตาม พรก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพิรุณ แผ้วพลสง · ดูเพิ่มเติม »

พิสิฐ ลี้อาธรรม

ลี้อาธรรม ประธานกรรมการ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย นายกสมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประธานกรรมการ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ช่วงปี 2540-2544 (รัฐบาลนายชวน หลีกภัย) อดีตคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) และอดีตผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงเทพ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพิสิฐ ลี้อาธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า สหายพนัส ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพินิจ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พีโบ ไบรสัน

ีโบ ไบรสัน (Peabo Bryson) เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และพีโบ ไบรสัน · ดูเพิ่มเติม »

กบฏแมนฮัตตัน

กบฏแมนฮัตตัน หรือ กรณีแมนฮัตตัน ชื่อเรียกเหตุการณ์การกบฏในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เมื่อทหารเรือกลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะกู้ชาติ" นำโดย น.ต.มนัส จารุภา ร.น.ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ นายทหารนอกราชการ อดีตผู้บังคับการกรมนาวิกโยธิน นาวาเอก อานนท์ ปุณฑริกาภา ผู้บังคับการกองสำรองเรือรบ นาวาตรี ประกาย พุทธารี สังกัดกรมนาวิกโยธิน และ นาวาตรี สุภัทร ตันตยาภรณ์ สังกัดกรมนาวิกโยธิน ทำการกบฏจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ระหว่างเป็นประธานในพิธีรับมอบเรือขุดสันดอนสัญชาติอเมริกัน ชื่อ "แมนฮัตตัน" ที่ท่าราชวรดิฐ โดยนำไปกักขังไว้ในเรือรบหลวงชื่อ "ศรีอยุธยา" ที่จอดรออยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งก่อนหน้านี้ คณะผู้ก่อการคิดจะก่อการในลักษณะเช่นนี้มาหลายครั้งแล้ว แต่ยังไม่สบจังหวะที่เหมาะสม จึงได้แต่เลื่อนออกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวลาลงมือจริง หลายฝ่ายที่ถูกชักชวนให้ลงมือก็คาดว่าจะต้องมีการเลื่อนอีกแน่นอน จึงมิได้ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เหตุที่เลือกเอาวันนี้เป็นวันลงมือ เพราะก่อนหน้านั้นเพียงหนึ่งวัน มีการปล่อยกำลังทหารกองหนุนกลับสู่ภูมิภาค ทำให้จำนวนทหารในพระนครเหลือน้อย เรียกกลับมาประจำการไม่ทัน อีกทั้งพื้นที่บริเวณนี้ก็เป็นเขตของทหารเรือด้วย จึงลงมือได้ง่ายกว่า ในเหตุการณ์กบฏ หัวหน้าคณะก่อการ คือ น.อ.อานนท์ ปุณฑริกกาภา ร.น. สั่งการให้ทหารเรือกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการมุ่งหน้าและตรึงกำลังไว้ที่พระนคร และประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระจายเสียงในฐานะนายกรัฐมนตรีจากในเรือ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลไม่ยอม ได้กระจายเสียงตอบโต้ไปโดยใช้วิทยุของกรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) โดยได้ให้นายวรการบัญชา ประธานสภาผู้แทนราษฎร รักษาการนายกรัฐมนตรีแทน และตั้งกองบัญชาการขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล (ในขณะนั้นคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม) จึงเกิดการต่อสู้ยิงกันอย่างหนักระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาลและทหารฝ่ายก่อการ ซึ่งตามแผนการของผู้ก่อการแล้ว ฝ่ายก่อการต้องยึดโรงไฟฟ้าและสถานีโทรศัพท์กลาง ที่หน้าวัดราชบุรณะ (วัดเลียบ) ให้ได้ โดยเรือรบหลวงศรีอยุธยาจะต้องแล่นผ่านสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งเปิดรอ เพื่อไปตั้งกองบัญชาการที่ฝั่งพระนคร และมีกำลังทหารจากต่างจังหวัดยกเข้ามาสมทบทั้งทหารเรือและทหารบก แต่เมื่อลงมือจริง ๆ แล้วกลับไม่เป็นไปตามนั้น สะพานพระพุทธยอดฟ้าก็ไม่เปิด และในที่สุดเครื่องยนต์เรือก็เสียจากการถูกโจมตีหนัก โดยในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกบฏแมนฮัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

กลชัย สุวรรณบูรณ์

ลตรี กลชัย สุวรรณบูรณ์ (6 กันยายน พ.ศ. 2494) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกลชัย สุวรรณบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

กอบศักดิ์ ชุติกุล

ร.กอบศักดิ์ ชุติกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคชาติไทย และอดีตผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกอบศักดิ์ ชุติกุล · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

กัว จุย

กัว จุย ( เกิดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1951) เป็นนักแสดงและสตันท์แมนชาวฮ่องกง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกัว จุย · ดูเพิ่มเติม »

กำธร พุ่มหิรัญ

ลเรือเอก กำธร พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ติ๊ด) เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เป็นบุตรของนายอรุณ พุ่มหิรัญ อดีตรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับนางนันทนา พุ่มหิรัญ จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอำนวยศิลป์พระนคร โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10 (ตท.10) โรงเรียนนายเรือรุ่นที่ 67 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือรุ่นที่ 45 วิทยาลัยการทัพเรือรุ่นที่ 29 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 46 และหลักสูตรจากต่างประเทศอีก 4 หลักสูตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกำธร พุ่มหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ วะสีนนท์

กิตติ วะสีนนท์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พุทธศักราช 2557 อดีตอธิบดีกรมอาเซียน อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศ และอดีตโฆษกกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกิตติ วะสีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กูนดี เอิลเลิร์ต

กูนดี เอิลเลิร์ต (8 กันยายน ค.ศ. 1951) เป็นนักแสดงหญิงชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และกูนดี เอิลเลิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ นิโรจน์

ร.ภิญโญ นิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นประธานสโมสรฟุตบอลจังหวัดนครสวรรค์ และเป็นที่ปรึกษาสมาคมนักวิทยุสมัครเล่นจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และภิญโญ นิโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

มะซะรุ ฟุจิ

มะซะรุ ฟุจิ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมะซะรุ ฟุจิ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ค ฮามิลล์

มาร์ ริชาร์ด ฮามิลล์ (เกิดเมื่อเดือนกันยายน วันที่ 25 ปีค.ศ.1951) เป็นนักแสดงละครเวที, นักแสดงภาพยนตร์ และเป็นนักพากย์ชาวอเมริกัน หลายคนมักรู้จักเขาในบทบาทของ ลุคสกาย วอล์คเกอร์ ในภาพยนตร์เรื่อง สตาร์วอร์ และเสียงพากย์ของเขาในการ์ตูน และวีดีโอเกมส์โดยได้รับบทเป็น โจ๊กเกอร์ โดยเริ่มจากการ์ตูนเรื่อง แบทแมน: แอนนิเมเต็ดซีรีย์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมาร์ค ฮามิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสึรุ อะดะชิ

มิสึรุ อะดะชิ มิสึรุ อะดะชิ เป็น นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ในเมืองอิเซะซะกิ จังหวัดกุนมะ หลังจากจบการศึกษาจากวิทยาลัยพาณิชย์มาเอะบาชิ โรงเรียนประจำจังหวัดกุนมะ อาดาจิได้เขียนการ์ตูนเล่มแรกออกมาในปี พ.ศ. 2513 เรื่อง Kieta Bakuon ซึ่งดัดแปลงมาจากการ์ตูนเรื่องดั้งเดิมของ ซาโตรุ โอซาวะ ได้รับการตีพิมพ์ใน Deluxe Shōnen Sunday ซึ่งเป็นนิตยสารมังงะของโชงะกุกัง อาจารย์อาดาจิเป็น นักเขียนผู้ชื่นชอบการเขียนการ์ตูนกีฬา และชีวิตรักวัยรุ่น ผ่านการเล่าเรื่องด้วยภาพ ใช้คำบรรยายน้อย โครงเรื่องที่น่าติดตาม และการมองโลกในแง่มุมที่สวยงามอยู่เสมอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมิสึรุ อะดะชิ · ดูเพิ่มเติม »

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ

มิตซูโอะ ชิบาฮาชิ (มิสึโอะ ชิบะฮะชิ) หรือ อดีตพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก เป็นอดีตพระภิกษุชาวญี่ปุ่น บวชในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ท่านเป็นศิษย์รุ่นแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมิตซูโอะ ชิบาฮาชิ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด มุรซี

มุฮัมมัด มุรซี อีซา อัลอัยยาฏ (محمد مرسى عيسى العياط; Muhammad Morsi Isa al-Ayyat; 8 สิงหาคม ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมุฮัมมัด มุรซี · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ

มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในอ็องตวน เจ้าชายที่ 13 แห่งลีญ กับเจ้าหญิงอาลิกซ์ เจ้าหญิงแห่งลีญเป็นพระนัดดาในแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กกับเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เป็นพระภาคิไนยใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และเป็นพระญาติชั้นที่ 1 ใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์สืบพระอิสริยยศ เป็น เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ ต่อจากพระบิดาที่สิ้นพระชนม์ไป พระองค์สมรสกับ เจ้าหญิงเอเลนอราแห่งลีญ มีพระบุตร 2 พระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

มีเชล บาเชเล

รนีกา มีเชล บาเชเล เคเรีย (Verónica Michelle Bachelet Jeria) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมีเชล บาเชเล · ดูเพิ่มเติม »

มณทิพย์ ศรีรัตนา

ร.มณทิพย์ ศรีรัตนา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมณทิพย์ ศรีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อุทก

มงคล อุทก หรือ หว่อง คาราวาน เป็นนักดนตรีเพื่อชีวิตและจิตรกรชาวไทย หนึ่งในสี่สมาชิกหลักของ คาราวาน เป็นอดีตสมาชิกวงบังคลาเทศแบนด์ ร่วมกับทองกราน ทานา (อืด) ก่อนจะร่วมกับวงดนตรีของสุรชัย จันทิมาธร ก่อตั้งเป็นวงคาราวาน เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมงคล อุทก · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี เจนวิทย์การ

รองศาสตราจารย์ มนตรี เจนวิทย์การ เป็นอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และมนตรี เจนวิทย์การ · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุโอะ ไดชิ

ซุโอะ ไดชิ (25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1951) เป็นนักแสดงชายชาวญี่ปุ่น เริ่มแสดงภาพยนตร์มากถึง 50 เรื่อง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยะซุโอะ ไดชิ · ดูเพิ่มเติม »

ยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์

อฟ สเมอร์นอฟฟ์ ยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์ (Yakov Smirnoff (6 ธันวาคม ค.ศ. 1951) หรือ Yakov Naumovich Pokhis; Яков Наумович Похис) เป็นนักแสดงตลก นักวาด และอาจารย์ ชาวอเมริกันเชื้อสายยูเครน เขาเป็นที่รู้จักในการเล่นตลกเสียดสีชีวิตของเขาภายใต้การปกครองของโซเวียตเปรียบเทียบกับชีวิตที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเขามีโรงละครในเมืองแบรนสัน รัฐมิสซูรี ในขณะเดียวกันเขาเป็นอาจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิสซูรีสเตต และมหาวิทยาลัยดรูรี ในด้านการแสดง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และยาคอฟ สเมอร์นอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช

นายกองเอก ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช มีชื่อเล่นว่า แดง (26 มิถุนายน พ.ศ. 2494 —) เป็นนักสังคมสงเคราะห์ และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ริคาร์โด ฟอร์ตาเลซา

ริคาร์โด เมนโดซา ฟอร์ตาเลซา (Ricardo Mendoza Fortaleza) เกิดเมื่อ 18 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และริคาร์โด ฟอร์ตาเลซา · ดูเพิ่มเติม »

รซมะฮ์ มันโซร์

ติน ปาดูกา ซรี ฮัจจะฮ์ รซมะฮ์ บินตี มันโซร์ (Rosmah binti Mansor; เกิด: 10 ธันวาคม ค.ศ. 1951) อดีตสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศมาเลเซีย ภรรยาของนาจิบ ราซัก อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และรซมะฮ์ มันโซร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูวี ฟัน คาล

อาโลอีซียึส เปาลึส มารียา ฟัน คาล (Aloysius Paulus Maria van Gaal) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ลูวี ฟัน คาล (Louis van Gaal,; เกิด 8 สิงหาคม 1951) เป็นผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวดัตช์ เคยเป็นผู้จัดการทีมชาติเนเธอร์แลนด์ ก่อนหน้านั้นเป็นผู้จัดการทีมอายักซ์อัมสเตอร์ดัม, บาร์เซโลนา, อาเซตอัลก์มาร์ และบาเยิร์นมิวนิก ต่อมาวันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลูวี ฟัน คาล · ดูเพิ่มเติม »

ลูเธอร์ แวนดรอส

ลูเธอร์ แวนดรอส (Luther Vandross) นักร้องเสียงเทเนอร์ สไตล์อาร์แอนด์บีโซล ชาวอเมริกัน เจ้าของเพลงฮิตอย่างเช่น Never Too Much, Give Me The Reason และ A House Is Not A Home ในช่วงเวลา 30 ปีที่ลูเธอร์ แวนดรอส โลดแล่นอยู่ในวงการเพลง ทำสถิติขายอัลบั้มกว่า 25 ล้านก๊อบปี้ อีกทั้งรางวัลแกรมมี่ 8 รางวัล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และลูเธอร์ แวนดรอส · ดูเพิ่มเติม »

วรวีร์ มะกูดี

วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวรวีร์ มะกูดี · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา วีระชาติพลี

ซูเอด ที่ทาวเวอร์เรคคอร์ด วาสนา วีระชาติพลี หรือ ป้าแต๋ว เกิดวันที่ 24 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวาสนา วีระชาติพลี · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต ปลั่งศรีสกุล

นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คณะทำงานของพรรคไทยรักไทย และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง และทีมกฎหมายของพรรคไทยรักไทย และทนายความของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นเลขาธิการมูลนิธิ 111 ไทยรักไทย และที่ปรึกษากฎหมายพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิชิต ปลั่งศรีสกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต ไพรอนันต์

วิชิต ไพรอนันต์ (Vichit Praianan) หรือชื่อในวงการมวยไทยคือ วิชิต ลูกบางปลาสร้อย เจ้าของฉายา ฉลามขาว เกิดเมื่อ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิชิต ไพรอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท ชื่อเดิม แถลง รองขุน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย เป็นชาวพัทลุง ผู้ก่อตั้งและเป็นโฆษกกลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ ที่ออกมาเคลื่อนไหวต่อต้าน คมช. เป็นแนวร่วมกับกลุ่มวิทยุชุมชนคนรักทักษิณของชินวัตร หาบุญผาด ต่อมาเข้าร่วมเป็น 1 ใน 8 แกนนำกลุ่ม นปก. ที่เคลื่อนไหวต่อต้าน คมช.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิภูแถลง พัฒนภูมิไท · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ วงษ์ไกร

นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิฑูรย์ วงษ์ไกร · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร อัศว์ศิวะกุล

วิเชียร อัศว์ศิวะกุล (หรือ วิเชียร อัศว์วิเศษศิวะกุล) (เกิด 10 มีนาคม พ.ศ. 2494) เป็นนักธุรกิจชาวไทย อดีตประธานบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวิเชียร อัศว์ศิวะกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีระศักดิ์ ฟูตระกูล

นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศและอดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส แคนนาดา และในอีกหลายประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และวีระศักดิ์ ฟูตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ. 2518 ปัจจุบันเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ คุรุพันธ์

ร.สมบัติ คุรุพันธ์ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย นายกสมาคมแฮนด์บอลแห่งประเทศไทย อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และอดีตอธิบดีกรมพลศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมบัติ คุรุพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย สหชัยรุ่งเรือง

นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมชาย สหชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย นีละไพจิตร

มชาย นีละไพจิตร สมชาย นีละไพจิตร (เกิด 13 พฤษภาคม 2494) อดีตประธานชมรมนักกฎหมายมุสลิม และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งหายตัวไปอย่างลึกลับเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 สมชายมักทำคดีด้านสิทธิมนุษยชนที่ทนายความส่วนมากปฏิเสธ เช่น คดีที่ชาวบ้านถูกกล่าวหาละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคใต้ คดีคนพม่าลี้ภัยการเมือง คดีชาวอิหร่านที่ถูกจับในข้อหาเป็นผู้วางระเบิดสถานทูตอิสราเอลในประเทศไทย สมชายเคยร่วมกับองค์กรมุสลิมต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมทั้ง ชมรมสมาชิกรัฐสภาไทยมุสลิม เสนอแนวทางในการแก้ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 และในเวลาเดียวกันก็เรียกร้องขอความเป็นธรรม ในการสอบสวน 5 ผู้ต้องหา ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ก่อการร้ายมูจาฮีดีน ซึ่งสมชายได้ยืนยันว่าได้พบกับผู้ต้องหาทั้ง 5 คน ได้ความว่า ทั้งหมดไม่ได้กระทำความผิด แต่จำต้องรับสารภาพ เนื่องจากถูกตำรวจขู่เข็ญทำทารุณกรรม ซึ่งกรณีนี้สร้างความอับอายให้กับกระบวนการสืบสวนสอบสวนของรัฐเป็นอันมาก วันที่ 13 มกราคม 2549 ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี แถลงว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษพบหลักฐานสำคัญที่ระบุว่าสมชายเสียชีวิตแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวข้องมากกว่า 4 คน โดยจะสรุปสำนวนเสร็จสิ้นไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์ หลังการหายตัวไปอย่างลึกลับ อังคณา นีละไพจิตร ภรรยา เป็นตัวแทนเรียกร้องความเป็นธรรมและมีบทบาททางสังคมนับแต่นั้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมชาย นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์

นายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

นักทรัพยาการบุคคล รัฐศักดิ์ ทับพุ่ม กำลังศึกษาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการจัดการฟุตบอลอาชีพ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศไทย รวมถึงฟุตบอลทีมชาติไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2459 อันเนื่องมาจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเข้าร่วมกับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2468 และเข้าร่วมกับสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ทรง อภิเษกสมรสกับพระมเหสี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน (جلالة الملكة نور) พระนามเดิม ลิซา นาจีบ ฮัลลาบี (ประสูติ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1951 ณ วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา) พระมเหสีม่ายในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน อดีตพระบรมราชินีแห่งจอร์แดน พระองค์เป็นสุภาพสตรีสัญชาติอเมริกันที่มีเชื้อสายซีเรีย, PBS, Faces of America series, with Professor Henry Louis Gates, Jr., 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล

มเด็จพระราชินีโกมลราชยลักษมีเทวีศาหแห่งเนปาล (कोमल राज्य लक्ष्मी देवी - Komala Rājya Lakṣmī Devī, ประสูติ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 ณ เมืองพาคมตี ประเทศเนปาล —) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาล ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จพระราชินีโกมลแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโล

รศัก.ลูกบุคคโล มีชื่อจริงว่า ชื่น จาดพิมาย เกิดเมื่อปี 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นหลานชายของ สุข ปราสาทหินพิมาย เริ่มแรกหัดชกมวยไทยกับสุข ปราสาทหินพิมาย ผู้เป็นอา เมื่อจบ ป.4 จากนั้นจึงได้ตระเวนชกแถวบ้านสิบกว่าครั้งไม่แพ้ใคร สุขจึงตัดสินใจส่งมาอยู่กับ ประเสริฐ สุขใจธรรม เจ้าของ.ลูกบุคคโล ที่กรุงเทพมหานคร ไม่เพียงแต่เป็นหลานชายและลูกศิษย์เท่านั้น สรศักดิ์ยังเป็นมวยหมัดหนักลีลาการชกก็ถอดแบบมาจากยักษ์สุขผู้เป็นอา คือ บุกตะลุยเดินหน้ามีสถิติการชกไม่ต่ำกว่า 100 ครั้ง ที่สำคัญ ๆ เคยชนะธนูน้อย ทวีเกียรติ, กิตติชัย ลูกบ่อน้ำมันฝาง, เดช ศรีโสธร, แสนทนง เกศสงคราม และ อิศรชัย อิสสระภาพ และเคยแพ้หาญ ศิลาทอง, มงคลเดช พิทักษ์ชัย, วิสันต์ ไกรเกรียงยุค เป็นต้น สรศักดิ์ได้ครองแชมป์จูเนียร์เวลเตอร์เวท ของสนามมวยเวทีลุมพินี โดยการชนะน็อก ประยุทธ ศุภราช (ขวัญประเทศ ส.ยิ่งเจริญ) ยกที่ 4, ชนะคะแนน แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์, แพ้คะแนน ศรนักรบ เกียรติวายุภักษ์ แล้วเสียแชมป์แพ้น็อก แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ เพียงแค่ยกแรก ต่อมาได้ชิงแชมป์รุ่นเดียวกันที่ว่างของเวทีราชดำเนิน ชนะคะแนน บุรีรัมย์ สวนมิสกวัน, แพ้คะแนน สะท้านฟ้.ประทีป อย่างพลิกล็อกถล่มทลาย, ชนะน็อก สีชัง สาครพิทักษ์ ยกที่ 4, จากนั้นได้รับการติดต่อให้ไปป้องกันแชมป์กับ สะท้านฟ้.ประทีป ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สรศักดิ์แพ้คะแนนเอกฉันท์เสียตำแหน่งไป กลับมาชกอีกไม่กี่ครั้งก็เลิกชกแขวนนวมไป เหตุเพราะมีกำหนดขึ้นชกน้อยลง เพราะในรุ่นเดียวกันหานักมวยที่ขึ้นชกด้วยได้ยาก หลังแขวนนวม สรศักดิ์ได้กลับไปอาศัยอยู่ที่อำเภอพิมายบ้านเกิด และไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับวงการมวยอีกเล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสรศักดิ์ ส.ลูกบุคคโล · ดูเพิ่มเติม »

สังศิต พิริยะรังสรรค์

รองศาสตราจารย์ สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ(สปท.), กรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ, อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.),อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.),อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตรองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสังศิต พิริยะรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ แก้วมีชัย

มารถ แก้วมีชัย (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 -) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ชุดที่ 23) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงราย สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสามารถ แก้วมีชัย · ดูเพิ่มเติม »

สิริกร มณีรินทร์

ริกร มณีรินทร์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และเป็นเหรัญญิกพรรคคนแรก (คณะกรรมการชุดที่ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสิริกร มณีรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เหมือนแก้ว

ลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จบปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2538 และนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปี พ.ศ. 2543 ผ่านการอบรมหลักสูตรโรงเรียนผู้บัญชาการรุ่นที่ 18 (ร.ร.ผบก) และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 48 (วปอ 48) รับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ในกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) จากนั้นได้ผ่านตำแหน่งสำคัญในกองปราบปรามกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ในปี พ.ศ. 2547 และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2551 พล.ต.ท.สุชาติ ได้รับการคาดหมายว่าจะดำรงตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลางเป็นคนต่อไป แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ขึ้น ได้มีคำสั่งโยกย้าย พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง ผ..น. ไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และแต่งตั้งให้ พล.ต.ท.สุชาติ ขึ้นดำรงตำแหน่งแทนในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ต่อมาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงถูกย้ายไปเป็น ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) จากนั้นในปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีมติปลด พล.ต.ท.สุชาติออกมาจากราชการ เนื่องจากมีความผิดร้ายแรงจากเหตุการณ์การสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จากการชี้มูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่งในขณะนั้น พล.ต.ท.สุชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบอยู่ด้วยการเป็น ผ.ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุชาติ เหมือนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุกำพล สุวรรณทัต

ลอากาศเอก สุกำพล สุวรรณทัต (ชื่อเล่น: โอ๋) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ และอดีตเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุกำพล สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

สุภัค ลิขิตกุล

ัค ลิขิตกุล เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 เป็นนางงาม นางแบบ และนักแสดงไทย เกิดที่บางลำพู เป็นบุตรีคนสุดท้องของ นายจำลอง และนางทองดี ลิขิตกุล ในจำนวนพี่น้อง 4 คน สุภัคเริ่มเข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนอนุบาลพรประสาท เรียนอยู่ที่นั่นได้ 2 ปี ก็เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนราชินี (บน) ตั้งแต่ชั้นประถมปีที่ 1 เรื่อยมาจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เมื่อจบมาก็มาเรียนด้านภาษาอังกฤษและพิมพ์ดีดเพิ่มเติม ศึกษาด้านภาษาอังกฤษอยู่ 2 ปีก็ได้ทำงานเป็นดีไซน์ไทย เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องแต่งกาย และเกี่ยวกับความงามของสตรี การที่สุภัคได้ทำงานในสถาบันแฟชั่นและความงามแห่งนี้ ประกอบกับเธอเป็นผู้หญิงที่มีส่วนสูงเหนือมาตรฐานของผู้หญิงไทยในยุคเดียวกันค่อนข้างมาก เนื่องจากเธอสูงถึง 173 เซนติเมตร ทำให้เธอเป็นที่ประสบพบเห็นของคนในวงการ สวย ๆ งาม ๆ อย่างกว้างขวาง เธอถูกเชิญชวนให้ไปประกวดนางงามเชียงใหม่ แต่ด้วยความอายและทางบ้านไม่เห็นด้วยเลยทำให้เธอตัดสินใจไม่เข้าประกวดนางงามเชียงใหม่ เธอกลายเป็นนางแบบเดินแฟชั่นอยู่ในระดับแถวหน้าๆ มีครั้งหนึ่งของการเดินแฟชั่น ได้มีช่างภาพหนังสือพิมพ์นำรูปของเธอไปลงในปกหน้าสีของหนังสือพิมพ์ "เดลิเมล์วันจันทร์" แล้วภาพของเธอก็ไปสะดุดเอากับบริษัทหนึ่งได้ทาบทามเธอมาทำงานที่บริษัท และได้มอบหมายให้เป็นนางแบบประจำของบริษัท กระทั่งได้มีการประกวดนางงามบางกอก หรือมิสบางกอก ก็ได้ติดต่อที่จะส่งสุภัคเข้าประกวด มิสบางกอก อันเป็นการประกวดนางงามเดียวกับนางสาวไทย ด้วยในยุคนั้นมีการเปลี่ยนแปลงชื่อในการประกวดหลายครั้ง มิสบางกอกก็เป็นการประกวดนางสาวไทยเช่นกัน ผลการประกวดนางสาวสุภัค ลิขิตกุลได้รับตำแหน่งนางงามที่น่องงามที่สุด และเธอได้รับเกียรติเป็นตัวแทนสาวไทยร่วมประกวดในตำแหน่ง "มิสอินเตอร์เนชั่นแนล 1971" ที่ลองบีช แคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐ ฯ ด้ว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุภัค ลิขิตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรสีห์ อิทธิกุล

รสีห์ อิทธิกุล (ชื่อเล่น อ๋อง; เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นหนึ่งในนักร้อง นักดนตรีชาวไทย ผู้พลิกยุคสมัยแห่งดนตรีของประเทศไทย มาสู่ดนตรีในแนวสากล มีผลงานทางดนตรีอัลบั้มเพลงส่วนตัวมาแล้ว 4 ชุด และเพลงประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือ โฆษณาอีกมากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุรสีห์ อิทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรทิน พิมานเมฆินทร์

ันตำรวจโท สุรทิน พิมานเมฆินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุรทิน พิมานเมฆินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง

รองศาสตราจารย์ สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง อดีตผู้แทนการค้าไทย ในสมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

สุนัย จุลพงศธร

ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุนัย จุลพงศธร · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ แย้มนุ่น

มธ แย้มนุ่น อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เกิดวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2494 สมรสกับนางอาภรณ์ แย้มนุ่น อาจารย์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา มีบุตร 1 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสุเมธ แย้มนุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สดใส รุ่งโพธิ์ทอง

ใส รุ่งโพธิ์ทอง มีชื่อจริงในอดีตว่า วันชัย โรจนวิชัย เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยมีพ่อเป็นคนทำขวัญนาค แม่มีอาชีพชาวนา ในวัยเด็กชอบร้องเพลง โดยเฉพาะเพลงลูกทุ่ง สดใสบันทึกเสียงตัวเองลงแผ่นเสียงครั้งแรกกับเพลง ข้าด้อยเพียงดิน ซึ่งเป็นเพลงที่เขียนเอง แต่เพลงที่ทำให้ได้ชื่อเสียงและได้รับความนิยมคือ รักจางที่บางปะกง ในปี พ.ศ. 2517 ซึ่งสดใสเขียนเนื้อเพลงเอง เป็นที่ได้รับความนิยมมากเพราะมีเนื้อร้องที่ไหลลื่นและคลองจองกัน พร้อมกับมีดนตรีที่เป็นจังหวะฉิ่งฉับ ฟังแล้วให้รู้สึกคึกคัก หลังจากนั้นมา สดใส ก็ได้มีผลงานบันทึกเสียงกับบริษัท นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยอยู่ในอัลบั้ม สุดยอดลูกทุ่งเสียงทอง ต่อมาสดใสก็มีผลงานบันทึกเสียงกับค่ายโรสวิดีโอ (ปัจจุบันคือ โรสมีเดียฯ) โดยนำผลงานเพลงของตัวเอง และเพลงของ ศรเพชร ศรสุพรรณ รวมถึงนักร้องท่านอื่น ๆ มาขับร้องด้วย สดใส รุ่งโพธิ์ทอง กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในปี พ.ศ. 2540 กับเพลง รักน้องพร ซึ่งมีเนื้อหาและลีลาการร้องที่ออดอ้อน ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้ถูกนำมาร้องใหม่และแปลงเนื้อร้องโดยนักร้องลูกทุ่งหลายคน ในทางการเมือง สดใสสนใจการเมืองมาตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ได้นำเอาเพลงของคาราวานไปใส่เนื้อร้องใหม่เป็นเพลงลูกทุ่ง เช่นเพลง เราคนจน มาจากเพลง คนกับควาย เพลงโอ้ชาวนา มาจากเพลง เปิบข้าว เป็นต้น จากนั้น ได้เข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและปริญญาโท รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2549 สดใสได้ลงสมัครเป็น ส.ว. ที่จ.ปทุมธานี และได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึง 52,180 คะแนน เป็นอันดับหนึ่งของจังหวัด มีตำแหน่งเป็นคณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมของวุฒิสภา แต่ทำหน้าที่ได้เพียง 5 เดือนเท่านั้นก็ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยการถูกรัฐประหาร ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งที.ปทุมธานี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ด้วยการทาบทามของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรค โดยลงในเขต 2.ปทุมธานี ซึ่งประกอบด้วย อ.ธัญบุรี อ.ลำลูกกา และ อ.หนองเสือ พร้อมกับได้เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น สดใส โรจนวิชัย แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งในกลางปี พ.ศ. 2554 สดใสได้ลงเลือกตั้งอีกครั้งในพื้นที่เดิม โดยย้ายไปสังกัดพรรคชาติไทยพัฒน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสดใส รุ่งโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สติง

กอร์ดอน แมททิว โทมัส ซัมเนอร์ (Gordon Matthew Thomas Sumner, CBE) เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สติง (Sting) เป็นนักดนตรี นักแสดงชาวอังกฤษ จากวอลล์เซนด์ ในนอร์ธไทน์ไซด์ ก่อนที่จะก้าวสู่ฐานะศิลปินเดี่ยวเขาเป็นนักเขียนเพลงและนักร้องและมือเบสให้กับวงร็อกที่ชื่อ เดอะโพลิซ ในฐานะศิลปินเดี่ยวและสมาชิกวงเดอะโพลิซ สติงได้รับรางวัลแกรมมี่ 16 ครั้งจากผลงานของเขา ได้รับรางวัลแกรมมี่ครั้งแรกในสาขาแสดงดนตรีร็อกบรรเลงยอดเยี่ยมในปี 191 และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม 3 ครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และสติง · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล

หม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร กับหม่อมบัวทอง ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 23 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และหม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

อรสา พรหมประทาน

อรสา พรหมประทาน มีชื่อเล่นว่า "ติ๋ว" มีชื่อจริงชื่อ อรสา ทองพรหม เข้าสู่วงการบันเทิงจากการประกวด และได้รางวัล มิสเอซี ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอรสา พรหมประทาน · ดูเพิ่มเติม »

ออมสิน ชีวะพฤกษ์

นายออมสิน ชีวะพฤกษ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รองประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง และเลขานุการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ (ศตส.) คนปัจจุบัน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และออมสิน ชีวะพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์สัน สก็อต การ์ด

250px ออร์สัน สก็อต การ์ด (Orson Scott Card) นักเขียนที่มีผลงานสม่ำเสมอ ในหลาย ๆ ประเภท รวมถึงนิยายวิทยาศาสตร์ การ์ดเริ่มอาชีพนักเขียนของเขาด้วยการเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ (เช่น Hot Sleep และ Capitol) (1 มีนาคม พ.ศ.2494) หลังจากนั้นมักเป็นนิยายแฟนตาซี (Songmaster) เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากผลงานเรื่อง เกมพลิกโลก (Ender's Game) ที่เป็นหนึ่งในนิยายวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดนับตั้งแต่การพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 ทั้ง เกมพลิกโลก และนิยายภาคต่อ วาทกะแด่ผู้ล่วงลับ (Speaker for the Dead) ได้รับทั้งรางวัลฮิวโกและรางวัลเนบิวลา ทำให้การ์ดเป็นนักเขียนคนเดียว (เท่าที่ทราบจนถึงปี พ.ศ. 2550) ที่ชนะรางวัลสูงสุดของนิยายวิทยาศาสตร์สองรางวัลพร้อมกันในปีติดกัน การ์ดได้เขียนเรื่องราวต่อเนื่องกันเป็นลำดับ ด้วยเรื่อง Xenocide, Children of the Mind, Ender's Shadow, Shadow of the Hegemon, Shadow Puppets, และในปี พ.ศ. 2548 เรื่อง Shadow of the Giant การ์ดได้ประกาศว่า เกมพลิกโลก จะได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ (ดู เกมพลิกโลก (ภาพยนตร์)).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และออร์สัน สก็อต การ์ด · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ (عبدالله بن حمد العطية; ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศกาตาร์และหัวหน้าศาลของเอมีร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อัยมัน อัซเซาะวาฮิรี

อัยมัน มุฮัมมัด เราะบี อัซเซาะวาฮิรี (أيمن محمد ربيع الظواهري‎, Ayman Mohammed Rabie al-Zawahiri; เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2494) เป็นนักเทววิทยาอิสลามชาวอียิปต์ ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำของกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็น "เอมีร์" (emir) คนที่สองและคนสุดท้ายของญิฮาดอิสลามอียิปต์ โดยสืบทอดตำแหน่งเอมีร์สืบต่อจากอับบัด อัล-ซูมาร์ เมื่อเขาถูกทางการอียิปต์ตัดสินจำคุกตลอดชีวิต ภรรยาของอัซเซาะวาฮิรีและลูกสามคนจากทั้งหมดหกคนถูกสังหารในการโจมตีทางอากาศในอัฟกานิสถานโดยกองทัพสหรัฐเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัยมัน อัซเซาะวาฮิรี · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน วิภูศิริ

นายอัศวิน วิภูศิริ (เกิด: 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพิจิตร) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 33 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเลขาธิการพรรคมหาชน ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคชาติไทย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัศวิน วิภูศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวิน ขวัญเมือง

ลตำรวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ คอลัมนิสต์ อัศวินเมืองกรุง หนังสือพิมพ์เอ็มทูเอฟ, อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจากระดับชั้น ม.3 จากโรงเรียนด่านช้างวิทยา, โรงเรียนตำรวจภูธรภาค 7, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30) จบหลักสูตรการบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 16 และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 45 พล.ต.อ.อัศวิน ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบฝีมือดีคนหนึ่ง เคยผ่านคดีสำคัญ ๆ ระดับชาติมาแล้วหลายคดี อาทิ คดีสังหารนายศุภฤกษ์ เรือนใจมั่น (โจ ด่านช้าง), คดีคาร์บอมบ์รถอดีตนายกรัฐมนตรี.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, คดีจับกุมนายประชา โพธิพิพิธ (กำนันเซี๊ยะ), คดีจับกุมนายนพพล ประสงค์ศิล (จิ๊บ ไผ่เขียว) และคดีวิสามัญฆาตกรรมนายชาญชัย ประสงค์ศิล (โจ๊ก ไผ่เขียว) เป็นต้น ในกลางปี พ.ศ. 2551 เมื่อดำรงยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) ได้ถูกปรับย้ายจากตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเป็น พล.ต.ท.สุชาติ เหมือนแก้ว รับตำแหน่งนี้แทน ทั้งนี้ถูกวิจารณ์ว่าเป็นเพราะไม่อาจจัดการกับการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้ ต่อมาในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในกลางปี พ.ศ. 2552 มีข่าวว่า นายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง พยายามจะพลักดันให้เป็นที่ปรึกษ.10 ในยศพลตำรวจเอก (พล.ต.อ.) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เปิดขึ้นใหม่ แต่ทางคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไม่อนุมัติ แต่ท้ายที่สุดในเดือนตุลาคม ปีเดียวกัน ก็ได้รับโปรดเกล้าฯเป็นพลตำรวจเอก และรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาราชการการแทนผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ก่อนย้ายจากตำแหน่งนั้นมาดำรงตำแหน่งรักษาราชการการผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอัศวิน ขวัญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2494 เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากนายอาคมเป็นบุคคลที่มีรูปร่างอ้วนใหญ่ จึงได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า ตูมตาม มีบทบาทตรวจสอบรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นผู้อภิปรายเรื่อง การทุจริตจัดซื้อเครื่องฉายดาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอาคม เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

อาซาเดห์ ชาฟิก

อาซาเดห์ ชาฟิก (พ.ศ. 2494 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554) เป็นพระธิดาในเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี กับอะห์มัด ชาฟิก ชาวอียิปต์ โดยเจ้าหญิงอัชราฟ พระชนนีในอาซาเดห์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน ภายหลังการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในอิหร่าน อาซาเดห์ได้ทำการต่อต้านการปกครองอิหร่านของอยาตุลเลาะห์ โคมัยนีในต่างประเทศ โดยอาศัยในคฤหาสน์ดูปง (Villa Dupont) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาซาเดห์ทำงานทางด้านสิทธิมนุษยชน และช่วยเหลือผู้ลี้ภัยชาวอิหร่านในประเทศตุรกี ด้านชีวิตส่วนตัวได้สมรสทั้งหมดสองครั้ง โดยครั้งสุดท้ายได้สมรสกับอดีตพนักงานชาวอิหร่าน โดยบุตรเพียงคนเดียวจากการสมรสครั้งแรกคือ คัมราน ชาฟิก (Kamran Shafiq) หรือ คาเมรอน ปาห์ลาวี ชาฟิก (Cameron Pahlavi) และต่อมาเจ้าหญิงได้ทำการขายคฤหาสน์ดูปงในภายหลัง อาซาเดห์ ชาฟิก ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอาซาเดห์ ชาฟิก · ดูเพิ่มเติม »

อิราวดี นวมานนท์

อิราวดี นวมานนท์ (น้ำอบ) อิราวดี นวมานนท์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2494 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2540) หรือนามปากกา น้ำอบ เป็นนักเขียนชาวไทย ผู้เขียน คือหัตถาครองพิภพ และ ผู้ชายไม้ประดับ อิราวดี นวมานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอิราวดี นวมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ลิมปคุปตถาวร

นายอนันต์ ลิมปคุปตถาวร (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ เขต 4 อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และอนันต์ ลิมปคุปตถาวร · ดูเพิ่มเติม »

ผุสดี ตามไท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผุสดี ตามไท กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และอดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผุสดี ตามไท · ดูเพิ่มเติม »

ผุดผาดน้อย วรวุฒิ

ผุดผาดน้อย วรวุฒิ มีชื่อจริงว่า ผ่อน ออมกลิ่น เกิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดขอนแก่น มีชื่อเล่นว่า "หมู" เป็นบุตรคนที่ 4 จากพี่น้องทั้งหมด 8 คน เริ่มชกมวยตั้งแต่อายุ 10 ขวบตามบรรดาพี่ชาย ในชื่อ "ผุดผาดน้อ.หาญผจญ" ค่ายมวยในขอนแก่น ของนายแพทย์จำลอง มุ่งการดีและนายยล หาญเผชิญ (พี่ชายคนโตใช้ชื่อมวย "ผุดผาด จ.หาญผจญ") แต่บิดา (นายผ่อง ออมกลิ่น) ไม่สนับสนุน อยากให้เรียบจบ ม.3 ก่อน เมื่อเรียนจนจบ ม.3 ที่ขอนแก่น ได้ฝึกเชิงมวยกับเพื่อนของพี่ชายชื่อ "ศรทอง ลูกเครื่องมือกล" และได้ตระเวนชกทั่วภาคอีสานเป็นจำนวนกว่า 60 ครั้ง โดยไม่แพ้ใครเลย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และผุดผาดน้อย วรวุฒิ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมลเลนแคมป์

อห์น เมลเลนแคมป์ (John Mellencamp) หรือเป็นที่รู้จักอีกชื่อว่า จอห์น คูการ์ (John Cougar) และ จอห์น คูการ์ เมลเลนแคมป์ (John Cougar Mellencamp) เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจอห์น เมลเลนแคมป์ · ดูเพิ่มเติม »

จาง อี้โหมว

ง อี้โหมว (จีน: 张艺谋, พินอิน: Zhāng Yìmóu) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2494 -) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เขาเริ่มเข้าสู่วงการ ด้วยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง Red Sorghum งานของเขามักมีจุดเด่นในเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกต่อการใช้สี ดังที่เห็นได้ในภาพยนตร์ไตรภาคเรื่องแรกๆ เช่น Raise the Red Lantern หรือในหนังศิลปะการต่อสู้ เช่น Hero และ House of Flying Daggers ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจาง อี้โหมว · ดูเพิ่มเติม »

จิตติมา เจือใจ

ตติมา เจือใจ ชื่อจริง สุนิสา วงศ์วัจฉละกุล เป็นนักร้องลูกกรุง ชื่อเล่นหน่อย เกิด 25 กรกฎาคม เธอได้รับแผ่นเสียงทองคำพระราชทานในปี พ.ศ. 2522 จากเพลงเหวหินผลงานของ คุณชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร ผลงานสร้างชื่อเสียง ตั้งแต่อัลบั้มชุดแรกที่แต่งโดย คุณ ทวีพงศ์ มณีนิล (ซึ่งต่อมาคือคู่ชีวิต:เสียชีวิตแล้ว) ชื่อ ถ้าหัวใจฉันมีปีก ในปี 2519 และได้รับความนิยมอย่างล้นหลามจนมีผลงานออกมาอีกหลายอันบั้ม เช่นหลักไม้เลื้อยในปี 2520 ซึงก็ได้รับความนิยมสูงสุดเช่นกัน ตามด้วยรักยามจน ของหมอวราห์ วรเวช ผลงานของ ป.ชื่นประโยชน์ พยงค์ มุกดา พรพิรุณ นคร ถนอมทรัพย์ เนรัญชราฯลฯ คุณจิตติมาเป็นนักร้องหญิงคนเดียวในยุคนั้นที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะบัญชีและอีกหนึ่งปริญญา คือพานิชย์ศาสตร์ นิสัยส่วนตัวเป็นคนโอบอ้อมอารีย์มีน้ำใจกับทุกๆคน ทุกวันนี้เธอยังคงร้องเพลงตามงานต่างๆ และร้องประจำทุกคืนวันพุธที่โรงแรม นิรันดร์แกรนด์แล้ว เธอยังได้รับหน้าที่ที่ทรงเกียรติด้วยการเป็นพิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ อีกด้วย ขณะนี้คุณจิตติมา มีผลงานชุดใหม่ซึ่งนำเพลงเก่าของครูมนัส ปิติสานต์มาบันทึกใหม่ชื่ออัลบัม ความรักในความทรงจำ ขับร้องร่วมกับคุณวิยะดา ธารินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจิตติมา เจือใจ · ดูเพิ่มเติม »

จิน เชาฉฺวิน

น เชาฉฺวิน เป็นนักแสดงชาวจีนจากไต้หวัน มีผลงานแสดงในบทบาทสำคัญคือ "เปาบุ้นจิ้น" ตัวละครเอกในภาพยนตร์จีนชุด "เปาชิงเทียน" ฉบับที่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536 และอีกหลายชุด จนกระทั่งมีชื่อเสียงเป็นที่นิยมอย่างมาก ในหมู่ชาวไต้หวัน, ฮ่องกง, สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงประเทศไทย ชีวิตส่วนตัว สมรสกับเฉิน ชิ นักแสดงชาวจีนจากไต้หวันเช่นกัน โดยในเรื่องเปาชิงเทียน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจิน เชาฉฺวิน · ดูเพิ่มเติม »

จีระพันธ์ วีระพงษ์

ีระพันธ์ วีระพงษ์ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี ที่อยู่ในวงการเพลงลูกทุ่งมามากกว่า 35 ปี และมีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลายเพลง เสียงของจีระพันธ์ วีระพงษ์ ออกมาในทางเดียวกับ ระพิน ภูไท ปัจจุบันก็ยังคงผลิตผลงานเพลงออกสู่ท้องตลาด จีระพันธ์ วีระพงษ์ โด่งดังมาจากเพลง “ คุณนายใจบุญ “ และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ ไก่นาตาฟาง “ และ " มาดามดิงดอง ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจีระพันธ์ วีระพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

จตุพล ภูอภิรมย์

ตุพล ภูอภิรมย์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2524) นักแสดงชาวไทย จตุพล ภูอภิรมย์ เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม โรงเรียนสันติราษฎร์บำรุง แล้วเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศอินเดียเป็นเวลาสั้นๆ ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เข้าสู่วงการจากการเป็นนายแบบโฆษณายาสีฟันใกล้ชิด เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และจตุพล ภูอภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธำรงค์ ไทยมงคล

นายธำรงค์ ไทยมงคล เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 ซึ่งมีนายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธำรงค์ ไทยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ธีรพล นิยม

ีรพล นิยม (เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดพังงา) ชื่อเล่น:แบน เป็นสถาปนิกชาวไทย ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธีรพล นิยม · ดูเพิ่มเติม »

ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล

ีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และประธานกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อดีตรองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และเป็นประธานกลุ่ม ก.ล.ต. อาเซียน (ACMF) 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล · ดูเพิ่มเติม »

ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

หน้าปกซีดีอัลบั้ม ลมไผ่ เป้า, เทียรี่ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี เป็นอดีตสมาชิกวงคาราบาว ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุประจำที่คลื่นความคิด F.M.96.5 ของอสมท และเป็นวิทยากรประจำรายการคุณพระช่วย ของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · ดูเพิ่มเติม »

ทอมมี ฮิลฟิเกอร์

ทอมมี ฮิลฟิเกอร์ หรือ โทมัส เจคอบ ฮิลฟิเกอร์ (Tommy Hilfiger หรือ Thomas Jacob Hilfiger) (24 มีนาคม พ.ศ. 2494-) เป็นดีไซเนอร์ชาวอเมริกัน เจ้าของผลิตภัณฑ์ ทอมมี ฮิลฟิเกอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทอมมี ฮิลฟิเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา หรือ ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ มีชื่อเล่นว่า โย มีชื่อจริงว่า ภิญโญ เสนีย์วงศ์ เป็นนักแสดงหญิงรุ่นใหญ่ในวงการบันเทิงไทย เกิดที่จังหวัดสระบุรี เข้าวงการครั้งแรกเมื่อ 2515 โดยมีละครเรื่องแรก คือ แม่อายสะอื้น รับบท ช่อเอื้อง ปัจจุบันมีผลงานการแสดงอย่างต่อเนื่อง ทัศน์วรรณ มีบุตรสาวที่เกิดกับสรพงษ์ ชาตรี นักแสดงชายรุ่นใหญ่ 1 คน คือ ขวัญ พิมพ์อัปสร เทียมเศวต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ทิวา เงินยวง

รองศาสตราจารย์ ทิวา เงินยวง (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ เป็นมือกฎหมายฝีมือดีคนหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทิวา เงินยวง · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญสรวง อติโพธิ

วัญสรวง อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ เป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรและนักเขียนบทความอิสระ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาเมืองและพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม นายขวัญสรวง อติโพธิ เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน เป็นคู่แฝดกับนายแก้วสรร อติโพธิ บิดาคือนายศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการประพฤติมิชอบในวงราชการ (ปปป.) วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ประธานกรรมการนโยบายชั่วคราวขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (TPBS) ซึ่งเข้าบริหารคลื่นความถี่การถ่ายทอดโทรทัศน์ในระบบยูเอชเอฟทางช่อง 29 เช่นเดิม แทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ที่ถูกระงับการแพร่ภาพเมื่อวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และขวัญสรวง อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ดวงดาว จารุจินดา

ฟ้ามีตา) ดวงดาว จารุจินดา เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 เป็นนักแสดงและนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ดวงดาวเป็นบุตรสาวของสักกะ จารุจินดา ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากการเป็นนักแสดง พากย์ภาพยนตร์ครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง “เข็ดจริงๆให้ดิ้นตาย” ซึ่งให้เสียงพากย์เป็นขอใจ ฤทัยประชา พออายุได้ 21 ปีจึงหันมาพากย์หนังอย่างจริงจัง และรับหน้าที่พากย์เสียงให้นักแสดงชื่อดังของไทยหลายท่าน เช่น จารุณี สุขสวัสดิ์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ จินตหรา สุขพัฒน์ และได้รับรางวัลจากการพากย์เสียงจากรางวัลพระสุรัสวดี นักพากย์ยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์เรื่องรักพยาบาท โดยพากย์เป็นเสียงของคุณเพ็ญพักตร์ ศิริกุล คุณดวงดาว พากย์ซีรีส์เกาหลีทุกเรื่อง บางเรื่อง พากย์ นางเอก นางรอง นางร้าย คุณย่าของพระเอก โดยมีการพากย์ที่โดดเด่นที่สุด คือการพากย์เสียงของ เอเย่นต์ดานา สกัลลีย์ ที่เล่นโดย จิลเลียน แอนเดอร์สัน ในซีรีส์ชุด The X-Files ที่ฉายทางช่อง 7 ด้านงานบันเทิง เคยได้รับบทเป็นนางเอกจากหนังเรื่องแรกของเธอ ที่พ่อเธอเป็นผู้สร้าง คือเรื่อง 'มนต์รักชาวไร่' แต่หนังไม่ประสบความสำเร็จ หลังจากนั้นจึงกลายเป็นรับบทรองจนถึงนางร้ายมาตลอด ก่อนจะมาลงเล่นละครทีวี ช่วงแรกยังไม่สังกัด ก็จะเห็นผลงานเธอทางช่อง 3, 5, 9 ในบทนางร้าย เช่น นางทาส ช่อง 3 ที่เธอรับบทเป็น 'สาลี่' โดยมี อี๊ด-รัชนู บุญชูดวง เป็นนางเอก ต่อมาช่อง 7 ชวนไปพากย์หนังชุด จึงเป็นที่มาของการพบกันของเธอกับ หน่อง-พลากร สมสุวรรณ จึงเกิดสัญญาใจในการเล่นละครให้ช่อง 7 ตั้งแต่ปี 2530 จนปัจจุบันก็ยังเห็นหน้าเธอทางจอเจ็ดสีอยู่สม่ำเสมอ นับผลงานละครที่เธอร่วมงานกับช่อง 7 ได้ประมาณกว่า 80 เรื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดวงดาว จารุจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ดวงใจ หทัยกาญจน์

วงใจ หทัยกาญจน์ หรือมีชื่อจริงว่า ดวงใจ บันธยามาศ มีชื่อเล่นว่า อี๊ด เกิดวันที่ 25 พฤศจิกายน 2494 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษามัธยมปลาย ที่โรงเรียนโรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์ ดวงใจ เริ่มเข้าวงการในปี 2513 เล่นภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ทุ่งเศรษฐี รับบทเป็น ขวัญเดือน ของ ไพบูลย์ บุตรขัน โดยรับบทเป็นนางรองให้ เพชรา เชาวราษฎร์ ภาพยนตร์ประสพความสำเร็จในระดับกลาง ๆ ชื่อดวงใจ หทัยกาญจน์ ก็ยังไม่โดดเด่นนักมากในยุคนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับนางเอกในรุ่นเดียวกัน ดวงใจ เคยได้รับรางวัลผู้แสดงประกอบหญิงจากงานมหกรรมภาพยนตร์เอเชีย เรื่อง “รักริษยา” ในปี 2522 ซึ่งดวงใจรับบทเป็นมนต์จันทร์ ดวงใจมีเพื่อนที่สนิทกันในวงการอย่าง ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ และ อรสา พรหมประทาน ซึ่งสนิทกันตั้งแต่พวกเธอแสดงหนังใหญ๋ กระทั่งมาลงเล่นละครกัน ในส่วนของจอแก้ว ดวงใจ หทัยกาญจน์ เริ่มลงเล่นละครเมื่อวัย 25 ปี ประเดิมด้วยบทนางเอก เรื่อง ตะวันยอแสง ของ สุทธิจิตร วีรเดชกำแหง ทางช่อง 3 ปี 2521 ตามด้วยเรื่อง สาวสืบสาว, แกะหลงฝูง, ฉุยฉาย, ประตูสีเทา, มณีดิน, ผู้กองยอดรัก และ ยอดรักผู้กอง (ภาคต่อของ ผู้กองยอดรัก) ในปี 2522 และ โบตั๋น ในปี 2523 ทั้งหมดเป็นละครช่อง 3 หลังจากนั้นจึงได้หันไปรับงานให้ช่องอื่นบ้าง จนถึงปัจจุบัน ที่ส่วนใหญ่จะได้รับบทเป็นแม่ของตัวเด่นในละครหลาย ๆ เรื่อง ดวงใจ ได้รับขึ้นชื่อว่าเป็นนางเอกที่อนามัย พูดจาอ่อนหวาน และมีนิสัยที่ดี จึงมีเพื่อน ๆ ที่สนิทสนมในรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างมากมาย ช่วงที่ อี๊ด ดวงใจ โด่งดังอยู่นั้น เธอมักได้รับการเปรียบเทียบกับนางเอกดังอีกท่านที่มีส่วนคล้ายคลึงกันหลายเรื่อง คือ อี๊ด รัชนู บุญชูดวง ซึ่งทั้งคู่ก็สนิทสนมกันในชีวิตจริง เริ่มตั้งแต่ชื่อเล่นเหมือนกัน เกิดปีเดียวกัน เป็นนางเอกลูกรักของผู้จัดช่อง 3 ในตอนนั้น อย่าง แม่แดง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง เหมือนกัน เป็นนางเอกเรียบร้อยทั้งในและนอกจอเหมือนกัน และยังมีพระเอกคู่ขวัญคนเดียวกันคือ หนิง นิรุตติ์ ศิริจรรยา คู่ขวัญยุคนั้น ถ้าไม่ นิรุตติ์-ดวงใจ ก็ต้อง นิรุตติ์-รัชนู นางเอกร่วมรุ่นละครกับดวงใจท่านอื่น ๆ ก็มี ดวงดาว จารุจินดา, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา, อรสา พรหมประทาน, ปิยะมาศ โมนยะกุล, ดวงตา ตุงคะมณี, เดือนเต็ม สาลิตุล, มยุรา ธนะบุตร (เศวตศิลา), ลินดา ค้าธัญเจริญ, อุทุมพร ศิลาพันธุ์ เป็นต้น ด้านชีวิตครอบครัว ดวงใจ ได้สมรสกับ วีรพงศ์ กรานเลิศ นักธุรกิจ ขณะที่เธอมีอายุ 34 ปีแล้ว มีบุตรชายหนึ่งคนคือ วีรจิตร กรานเลิศ ซึ่งขณะนี้เรียนจบและรับปริญญาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดวงใจ หทัยกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดำรงค์ พิเดช

นายดำรงค์ พิเดช สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นชาวจังหวัดอุทัยธานี ชีวิตราชการของนายดำรงค์ เติบโตมาจากการปลูกป่าต้นน้ำในพื้นที่ภาคเหนือ เป็นผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดำรงค์ พิเดช · ดูเพิ่มเติม »

ดิ๊ก สเลเตอร์

ริชาร์ด แวน สเลเตอร์ (เกิด 19 พฤษภาคม 1951) ที่รู้จักกันดีของชื่อการปล้ำ "เดอร์ตี" ดิ๊ก สเลเตอร์ คือเกษียณมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันที่ปล้ำในปี 1970, 1980 และกลางปี ​​1990 สำหรับโปรโมชั่นต่าง ๆ รวมทั้งกลางมหาสมุทรแอตแลนติกแชมป์มวยปล้ำ และแชมป์โลกดับเบิลยู (WCW) ตำหนิเริ่มต่อสู้กับไมค์เกรแฮมที่โรงเรียนมัธยมโรบินสันในแทมปา, ฟลอริด้า เขาเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยแทมกับพอล Orndorff จากนั้นเขาก็เริ่มมวยปล้ำแชมป์มวยปล้ำจากฟลอริดาและจอร์เจียแชมป์มวยปล้ำ เขาทำงานเป็น Booker ใน Knoxville, เทนเนสซีหลังจากที่รอนฟุลเลอร์ขายโปรโมชั่นของเขาไปจิมบาร์เน็ต ปล้ำในกลางมหาสมุทรแอตแลนติกแชมป์มวยปล้ำ (ต่อมาแชมป์โลกดับเบิลยู) ที่เขาปรากฏตัวขึ้นบนเคทเป็นครั้งแรก นอกจากนี้เขายังทำงานอยู่ในกลางใต้สมาคมมวยปล้ำซึ่งเขาได้รับการจัดการโดยการเดินทางเข้ม ทำให้การเดินทางบางอย่างเพื่อมวยปล้ำโลกสภาในเปอร์โตริโก เขาปล้ำสั้น ๆ ในสหพันธ์มวยปล้ำโลกเป็นเบบี้เฟซภายใต้ "กบฎ" เคล็ดลับ แต่ไม่นานก็กลับไป WCW เขาปล้ำที่นั่นจนได้รับบาดเจ็บที่หลังของเขาที่จบอาชีพของเขา ในเดือนมิถุนายนปี 2004 ตำหนิถูกตัดสินโทษจำคุกแทงอดีตแฟนสาวของเขาเทเรซ่าง้าว เขาถูกตัดสินให้หนึ่งปีของการจับกุมบ้านและสองปีของการทดลอง เขากล่าวหาว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับอิทธิพลจากยาแก้ปว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดิ๊ก สเลเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดี ดี ราโมน

ักลาส เกล็นน์ โคลวิน (Douglas Glenn Colvin) (เกิด 18 กันยายน ค.ศ. 1951 - 5 มิถุนายน ค.ศ. 2002) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "ดี ดี ราโมน" (Dee Dee Ramone) เป็นนักดนตรี นักร้อง และนักแต่งเพลงขาวเยอรมนี เป็นที่รู้จักจากการเป็นมือกีตาร์เบสและร้องนำในบางครั้งของวงพังก์ร็อก เดอะราโมนส์ แม้ว่าเพลงของราโมนส์ทั้งหมด มักได้รับเครดิตว่าแต่งโดยสมาชิกทั้งหมด แต่ดี ดี คือผู้แต่งเพลงและเรียบเรียงโดยหลัก มีเพลงที่รู้จักกันดีเช่น "53rd & 3rd", "Commando", "Wart Hog", "Rockaway Beach" และ "Poison Heart" เดิมเขาทำหน้าที่ร้องนำคู่ไปกับตำแหน่งมือเบส แต่ด้วยสาเหตุที่เขาไม่สามารถเล่นเบสพร้อมกับร้องคู่กันได้ จึงได้ให้โจอี ราโมน รับตำแหน่งร้องนำแทน (ถึงอย่างไรก็ดี เขาก็ยังคงร้องนำให้กับวงเป็นบางครั้ง) ดี ดี เล่นกีตาร์เบสและแต่งเพลงให้กับวงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดี ดี ราโมน · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

คริส คูเปอร์

ริสโตเฟอร์ ดับเบิลยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริส คูเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตัล เกล

ริสตัล เกล หรือมีชื่อจริงว่า เบรนดา เกล เว็บบ์ เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นนักร้องเพลงคันทรี ป็อป ชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในช่วงปลายยุคคริสต์ทศวรรษ 1970-ต้น 1980 เคยมีชื่อติดอันดับ 50 บุคคลสวยหล่อที่สุดในโลกจากนิตยสารพีเพิลประจำปี 1983 ปี 1977 คริสตัล ได้รับรางวัลแกรมมี่ สาขาการแสดงสดเพลงคันทรี่ฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากเพลง Don't It Make My Brown Eyes Blue ซึ่ง คริสตัล เผยว่า ริชาร์ด ลีห์ เขียนเพลงนี้ โดยได้แรงบันดาลใจจากสุนัขของเขา ที่มีดวงตาสีน้ำตาลหนึ่งข้างและดวงตาสีฟ้าอีกหนึ่งข้าง แต่เนื้อหาเพลงจริงกล่าวถึงหญิงสาวที่เจ็บปวดกับความรัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริสตัล เกล · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ ครอสส์

ริสโตเฟอร์ ครอสส์ (Christopher Cross) หรือชื่อเกิด คริสโตเฟอร์ เกปเพิร์ต (Christopher Charles Geppert) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน จากแซนแอนโทนิโอ รัฐเทกซัส ผลงานอัลบั้มเปิดตัวของเขาทำให้เขาได้รับ 4 รางวัลใหญ่จากเวทีรางวัลแกรมมี่ ในปีเดียวกัน เขายังได้รับรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำกับผลงานของเขาที่เป็นเพลงดังจากภาพยนตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และคริสโตเฟอร์ ครอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก กาลาตราบา

Puente del Alamillo สะพานในประเทศสเปนออกแบบโดยซานเตียโก ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และซานเตียโก กาลาตราบา · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขพิสิฐ อัจฉริยะฉาย

ประมุขพิสิฐ อัจฉริยะฉาย เกิดและเติบโตที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ครอบครัวมีอาชีพเป็นเกษตรกรชาวสวนยาง ปริญญาตรีและโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์จากประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันเป็นประธานสโมสรภูเก็ต เอฟซี และประธานกรรมการ โรงแรมในเครือกะตะกรุ๊ป รวมทั้งกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ Finland ประจำจังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประมุขพิสิฐ อัจฉริยะฉาย · ดูเพิ่มเติม »

ประสาท ตันประเสริฐ

นายประสาท ตันประเสริฐ หรือที่รู้จักในนาม "กำนันอู๊ด" สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 6 สังกัดพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประสาท ตันประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ไชยะโท

ประสิทธิ์ ไชยะโท (ชื่อเล่น:เบิ้ม,เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2494) เป็นนักดนตรี ในตำแหน่งมือกลองของวงแกรนด์เอ็กซ์ และเป็นหนึ่งในสมาชิกยุคก่อตั้งของวง โดยประสิทธิ์ ไชยะโท เข้าร่วมวงแกรนด์เอ็กซ์ ตั้งแต่เริ่มประกวดวงดนตรีในช่วงที่ยังเรียนอยู่ที่วิทยาลัยบพิตรพิมุข ร่วมกับนคร เวชสุภาพรและสมาชิกยุคก่อตั้งรายอื่น จนได้ออกแผ่นเสียงซิงเกิล ชุด คู่นก ซึ่งเป็นการบันทึกแผ่นเสียงครั้งแรกของวง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประสิทธิ์ ไชยะโท · ดูเพิ่มเติม »

ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ

นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ รองหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย คนที่ 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตประธาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัศนี

ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปรัศนี · ดูเพิ่มเติม »

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล

ปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล (4 กันยายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง เจ้าของผลงานอัลบั้ม ไปทะเล เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปานศักดิ์ รังสิพราหมณกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปานี ยาท่อตู้

ปานี ยาท่อตู้ (ภาษาลาว: ປານີ ຢາທໍ່ຕູ້; เกิด: 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951) เกิดที่บ้านสามแจ เมืองหนองแฮด แขวงเชียงขวาง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรค (กรรมการบริหารพรรค), ประธานคณะประจำสภาแห่งชาติ, ประธานสภาแห่งชาติ, กรรมการคณะประจำ, ผู้ประจำการคณะประจำสภาแห่งชาติ ปีที่เข้าร่วมการปฏิวัติ วันที่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปานี ยาท่อตู้ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ วิธ

ในขณะคุมทีมชาติไทย ปีเตอร์ วิธ (Peter Withe; เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2494) นักฟุตบอลอังกฤษ และเป็นผู้ฝึกสอนฟุตบอล รวมถึง เป็นผู้ฝึกสอนทีมชาติไทย ระหว่าง พ.ศ. 2541-พ.ศ. 2545 และหลังจากนั้นได้เป็นผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติอินโดนีเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และปีเตอร์ วิธ · ดูเพิ่มเติม »

นิมุคตาร์ วาบา

นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนิมุคตาร์ วาบา · ดูเพิ่มเติม »

นิยม เวชกามา

นายนิยม เวชกามา (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนิยม เวชกามา · ดูเพิ่มเติม »

นทีทิพย์ กฤษณามระ

ตราจารย์ ดร. นทีทิพย์ กฤษณามระ ศาสตราจารย์ นทีทิพย์ กฤษณามระ เกิดวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2494 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นทางด้านสรีรวิทยา เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านระบบต่อมไร้ท่อโดยเฉพาะเกี่ยวกับฮอร์โมนโพรแลคติน ที่พบว่ามีหน้าที่ควบคุมเมตาบอลิสมของแคลเซียม มีประสบการณ์งานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้ การขนส่งแคลเซียมในเซลล์เต้านม และสรีรวิทยาของกระดูก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ระดับ 11 หัวหน้าเครือข่ายวิจัยด้านแคลเซียมและกระดูก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สมรสกับศาสตราจารย์สมฤกษ์ กฤษณามระ มี บุตร 1 คน คือ นายศมกฤต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และนทีทิพย์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแก้วสรร อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี ซบีสซโก

ลอว์เรนซ์ วิสต์เลอร์ (Lawrence Whistler) เกิดวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแลร์รี ซบีสซโก · ดูเพิ่มเติม »

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทริน บิเกโลว์

แคทริน แอนน์ บิเกโลว์ หรือที่รู้จักในชื่อ แคทริน บิเกโลว์ ชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง และนักเขียนบท ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สาขา Feature Film จากสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์แห่งอเมริกา ในปี 2009 จากภาพยนตร์เรื่อง หน่วยระห่ำ ปลดล็อกระเบิดโลก (The Hurt Locker) และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ (อะแคเดมีอะวอร์ด) ในปีเดียวกัน แคทรินเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ และรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากแบฟตา (BAFTA) โดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช แคทริน บิเกโลว์ เป็นบุคคลสาธารณะที่มีความโดดเด่นและทรงอิทธิพล ใน "100 บุคคลทรงอิทธิพลของโลก" โดยนิตยสารไทม์ ประจำปี 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแคทริน บิเกโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โชคชัย โชคอนันต์

ัย โชคอนันต์เป็นนักร้องลูกทุ่ง ที่มีผลงานเพลง "หลงเสียงนาง" ที่โด่งดังไปทั่วประเทศ เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโชคชัย โชคอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิทย์ ธารณา

นายโกวิทย์ ธารณา หรือชื่อที่รู้จักดีในฉายา วิทย์ บางแค แคร์ทุกคน แต่คนบางแค แคร์บางคน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโกวิทย์ ธารณา · ดูเพิ่มเติม »

โรบิน วิลเลียมส์

รบิน แม็กลอริม วิลเลียมส์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1951Sources conflict.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรบิน วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบร์โต ดูรัน

การชกครั้งแรกระหว่างดูรันกับเลียวนาร์ด ในครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1980 ซึ่งดูรันสามารถเอาชนะคะแนนไปได้ นับเป็นนักมวยรายแรกที่สร้างความปราชัยแก่เลียวนาร์ดได้และนับเป็นหนึ่งในการชกที่ดีที่สุดในชีวิตของดูรัน โรเบร์โต ดูรัน ซามาเนียโก (Roberto Durán Samaniego) วีรบุรุษนักชกแห่งปานามา และอดีตแชมป์โลก 4 รุ่น ดูรันถือได้ว่าเป็นยอดนักมวยขวัญใจชาวปานามา เช่นเดียวกับคูลีโอ เซซาร์ ชาเบซ ที่เป็นยอดนักมวยขวัญใจชาวเม็กซิโก ดูรันเกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1951 ที่เมืองกวาราเร ประเทศปานามา เริ่มชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1967 ในรุ่นไลต์เวต ทำสถิติชนะรวดจนได้ชิงแชมป์โลกในรุ่นไลต์เวต สมาคมมวยโลก (WBA) กับ เคน บูชาแนน นักชาวสกอตแลนด์ ที่นิวยอร์กซิตี เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1972 ดูรันสามารถเอาชนะน็อกบูชาแนนไปได้ในยกที่ 13 จากนั้นดูรันได้ชกนอกรอบอีก 3 ครั้ง 2 ครั้งแรกสามารถเอาชนะน็อกนักมวยโนเนมได้เพียงยกแรก แต่ในครั้งที่ 3 ดูรันต้องพบกับความพ่ายแพ้ครั้งแรกในชีวิตแก่นักมวยชาวเปอร์โตริโก เอสเตบัน เด เฮซุส ซึ่งต่อมากลายมาเป็นคู่ปรับคนสำคัญอีกคนหนึ่งของดูรัน ดูรันป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกไลต์เวตของ WBA ไว้ได้ถึง 12 ครั้ง นับว่าเป็นสถิติการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกสูงสุดของรุ่นไลต์เวตมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งครั้งสุดท้ายในการป้องกันตำแหน่งรุ่นนี้คือ การเดิมพันแชมป์ในรุ่นด้วยกันกับแชมป์โลกของสภามวยโลก (WBC) กับเอสเตบัน เด เฮซุส คู่ปรับเก่า ผลปรากฏว่าดูรันสามารถเอาชนะน็อกได้ในยกที่ 12 เมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1978 ต่อมา ดูรันสละแชมป์ไลต์เวต 2 สถาบันนี้ไป เพื่อก้าวขึ้นไปชกในรุ่นที่ใหญ่กว่า คือ เวลเตอร์เวต ซึ่งในขณะนั้น ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด ยอดนักชกชาวอเมริกันเป็นเจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกของสภามวยโลก และยังมีสถิติไม่เคยแพ้ใคร เมื่อทั้งคู่มาพบกัน ไม่มีใครคาดคิดว่ามวยบู๊อย่างดูรันจะเอาชนะมวยที่มีชั้นเชิงอย่างเลียวนาร์ดได้ แต่ทว่าดูรันก็ใช้ความแข็งแกร่ง ทรหดกว่า เดินบดเข้าหาเลียวนาร์ดตลอดการชกทั้ง 15 ยก จนในที่สุดก็สามารถเอาชนะคะแนนเลียวนาร์ดได้ ในวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1980 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา ได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นที่ 2 อีก 5 เดือนต่อมา ทั้งคู่ได้มีโอกาสล้างตากันอีกครั้งที่นิวออร์ลีนส์ คราวนี้เลียวนาร์ดเตรียมตัวมาดีกว่าเก่า สามารถแก้ทางของดูรันได้ จนดูรันไม่สามารถทำอะไรได้เหมือนครั้งแรก จนดูรันเป็นฝ่ายขอยอมแพ้ไปเองดื้อ ๆ ในระหว่างพักยกที่ 7 ขึ้นยกที่ 8 โดยบอกเป็นภาษาสเปนว่า "No Más" (ไม่เอาแล้ว) เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่ดูรันก็สามารถชกต่อไปอีกได้ ต่อมาดูรันก็สามารถได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นที่ 3 ได้ เมื่อเอาชนะน็อกยก 8 เดวี่ มัวร์ นักมวยชาวอเมริกัน เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1983 ได้แชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์มิดเดิลเวต สมาคมมวยโลก ซึ่งก่อนหน้านั้นดูรันเกือบได้เป็นแชมป์โลกรุ่นที่ 3 มาแล้ว แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 15 ยก แก่ วิลเฟรด เบนิเตซ นักมวยชาวเปอร์โตริกัน เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกซูเปอร์เวลเตอร์เวต สภามวยโลก เมื่อปี ค.ศ. 1982 ในทศวรรษที่ 80 นี้ โรเบร์โต ดูรัน ถือได้ว่าเป็น 1 ใน 4 ยอดนักชกแห่งรุ่นกลาง (ตั้งแต่เวลเตอร์เวตจนถึงซูเปอร์มิดเดิลเวต-ประกอบไปด้วย ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด, โรเบร์โต ดูรัน, ทอมัส เฮินส์ และมาร์วิน แฮ็กเลอร์ ซึ่งนักมวยทั้ง 4 นี้จะพบกันเองตลอด และผลัดแพ้-ผลัดชนะกัน) ต่อมา ดูรันได้ขึ้นชิงแชมป์โลกรุ่นที่ 4 กับ มาร์วิน แฮ็กเลอร์ เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกมิดเดิลเวต 3 สถาบันใหญ่ แต่เมื่อครบ 15 ยกแล้ว ดูรันเป็นฝ่ายแพ้คะแนนขาดลอย เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1983 ต่อมา ดูรันก็เป็นฝ่ายแพ้น็อกแค่ยก 2 แก่ทอมัส เฮินส์ ในการชิงแชมป์โลกซูเปอร์เวลเตอร์เวต สภามวยโลก ที่เฮิร์นส์เป็นแชมป์โลกอยู่อย่างชนิดที่สู้ไม่ได้เลย เพราะดูรันเป็นฝ่ายที่รับหมัดของเฮิร์นส์แต่เพียงฝ่ายเดียว เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1984 ที่ลาสเวกัส จากนั้นดูรันก็ไม่ได้ขึ้นเวตีอีกลย จนหลายฝ่ายคิดว่าเขาคงจะแขวนนวมไปแล้ว แต่ดูรันก็หวนกลับมาชกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1986 ชนะทั้งหมด 7 ครั้ง มีสะดุดแพ้อยู่ครั้งเดียวเมื่อแพ้คะแนนต่อร็อบบี ซิมส์ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 ดูรันก็ได้ครองแชมป์โลกรุ่นที่ 4 เมื่อชนะคะแนน 12 ยก ต่อ ไอแรน บาร์กเลย์ นักมวยชาวอเมริกัน ได้เป็นแชมป์โลกในรุ่นมิดเดิลเวตของสภามวยโลกที่แอตแลนติกซิตี ครั้งถัดมา ดูรันพยายามที่จะเป็นแชมป์โลกรุ่นที่ 5 ให้ได้ โดยข้ามขึ้นไปชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวต สภามวยโลก กับ ชูการ์ เรย์ เลียวนาร์ด อดีตคู่ปรับเก่า แต่ดูรันก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอย่างขาดลอยอีก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1989 ที่ลาสเวกัส ด้วยอายุที่มากขึ้น แต่โรเบร์โต ดูรัน ก็ยังไม่มีความตั้งใจที่เลิกชกมวย เขายังคงพากเพียรขึ้นเวทีอีกเรื่อย ๆ จนกระทั่งทำฟอร์มชนะอีก 8 ครั้ง ก็ขึ้นชิงแชมป์โลกอีกครั้งในรุ่นซูเปอร์มิดเดิลเวต สถาบันเล็ก ๆ อย่าง IBC กับ วินนี่ ปาเซียนซ่า แต่ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอีกถึง 2 ครั้ง เมื่อปี ค.ศ. 1994 และ ค.ศ. 1995 รวมทั้งชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้ กับสถาบันแห่งนี้ กับ เอกตอร์ กามาโช ยอดนักมวยจอมลีลาชาวเปอร์โตริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1996 ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยกไปอีก ดูรันยังคงพยายามชิงแชมป์ต่อไป ในปี ค.ศ. 1998 ดูรันเป็นฝ่ายแพ้เคะแนน 12 ยก แก่ วิลเลียม จอปปี เจ้าของตำแหน่งแชมป์โลกมิดเดิลเวต สมาคมมวยโลก ชาวอเมริกัน ดูรันชกมวยเป็นครั้งสุดท้ายเป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยก แก่ เอกตอร์ กามาโช อีกครั้ง เมื่อปี ค.ศ. 2001 ที่เดนเวอร์ โคโลราโด โดยที่ดูรันมีอายุถึง 50 ปีแล้ว โรเบร์โต ดูรัน ถือได้ว่าเป็นวีรบุรุษนักชกชาวปานามา เป็นนักมวยที่มีสภาพร่างกายแข็งแกร่ง หมัดหนักทั้งซ้ายและขวา เป็นมวยในสไตล์ไฟเตอร์เดินหน้าเข้าชนกับคู่ต่อสู้ตลอด เป็นนักมวยที่ไว้หนวดทำให้หน้าตาดูดุดัน จนได้ฉายาในภาษาอังกฤษว่า "Hands of Stone" ในขณะที่แฟนมวยชาวไทยให้ฉายาว่า "มนุษย์หิน" ปัจจุบัน ดูรันได้รับการเกียรติให้ตั้งชื่อเป็นสนามกีฬาในร่ม ในกรุงปานามาซิตี ประเทศปานามา ชื่อ "โรเบร์โต ดูรัน อารีนา".

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโรเบร์โต ดูรัน · ดูเพิ่มเติม »

โจอี ราโมน

ฟฟรี โรส ไฮแมน (Jeffrey Ross Hyman) (เกิด 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1951 - 15 เมษายน ค.ศ. 2001) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "โจอี ราโมน" (Joey Ramone) เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงและนักร้องชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องนำวงพังก์ร็อก เดอะราโมนส์ ซึ่งเขายังถือเป็นผู้รวมก่อตั้งวงนี้อีกด้วย ด้วยภาพลักษณ?ต่าง ๆ ทั้ง เสียงร้องแบบเทเนอร์ และการแสดงออกบนเวทีต่าง ๆ ทำให้เขากลายเป็นไอคอนของวัฒนธรรมยุคใหม่ เขาเสียชีวิตจากมะเร็งต่อมน้ำเหลือง เมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโจอี ราโมน · ดูเพิ่มเติม »

โดม สุขวงศ์

ม สุขวงศ์ (10 กันยายน พ.ศ. 2494 -) นักวิชาการภาพยนตร์ ผู้ก่อตั้ง หอภาพยนตร์แห่งชาติ และโครงการอนุรักษ์ภาพยนตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็น ผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ องค์การมหาชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโดม สุขวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

โคอิชิ อิวะกิ

อิชิ อิวะกิ เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และโคอิชิ อิวะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ไกวัล วัฒนไกร

กวัล วัฒนไกร เกิดวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2494 เป็นนักพากย์การ์ตูนที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณ์สูงคนหนึ่งในประเทศไทย เป็นเจ้าของเสียงพากย์พระเอกประจำทีมพากย์ วิดิโอสแควร์ ไกวัลทำงานเป็นนักพากย์การ์ตูนและภาพยนตร์มามากกว่า 20 ปี พากย์เสียงให้กับบริษัทการ์ตูนในประเทศไทยหลายบริษัท เช่น ช่อง 9 อ..ม.ท. (โมเดิร์นไนน์ทีวี), ไทก้า, เด็กซ์, อามีโก้ และ โรสแอนิเมชั่น ปัจจุบันยังมีผลงานพากย์ทั้งการ์ตูนและโทคุซัทสึที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไกวัล วัฒนไกร · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล คีตัน

มเคิล จอห์น ดักลาส (Michael John Douglas) เกิดเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1951 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ไมเคิล คีตัน (Michael Keaton) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในช่วงแรกกับบทตลกอย่างเช่น Night Shift, Mr. Mom, Beetlejuice และรับบทเป็นบรูซ เวย์น / แบทแมน ในภาพยนตร์ของทิม เบอร์ตัน เรื่อง Batman และ Batman Returns เช่นเดียวกับบทนำในภาพยนตร์อื่นอย่างเช่น The Paper, Jackie Brown และ White Noise.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และไมเคิล คีตัน · ดูเพิ่มเติม »

เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์

ลตำรวจเอก เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษาผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บก.ปส.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงกันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เกรจ วาเลนไทน์

กรโกรี วิสนิสกี (Gregory Wisniski) เกิดวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกรจ วาเลนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลาดีโอ รานีเอรี

กลาดีโอ รานีเอรี (Claudio Ranieri) เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเกลาดีโอ รานีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน ตามปฏิทินโรมันดั้งเดิม กำหนดให้เดือนเมษายนเป็นเดือนที่ 2 ของปี และมี 29 วัน จากนั้นจูเลียส ซีซาร์ได้ปฏิรูประบบปฏิทินใหม่ เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตกาล กำหนดให้เดือนมกราคมเป็นเดือนแรก ทำให้เดือนเมษายนขยับไปเป็นเดือนที่ 4 ของปี และมี 30 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เวียง วรเชษฐ์

นายเวียง วรเชษฐ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด 4 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเวียง วรเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเหวง โตจิราการ · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ถิ ซวาน

งฺเหวียน ถิ ซวาน (Nguyễn Thị Doan; 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 —) เป็นรองประธานาธิบดีเวียดนาม และเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม ได้รับการเลือกตั้งจากรัฐสภาเวียดนาม ให้ดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีเวียดนามเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเหงียน ถิ ซวาน · ดูเพิ่มเติม »

เอลีโย ดี รูโป

อลีโย ดี รูโป (Elio Di Rupo,; เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คนที่ 40 และหัวหน้าคณะรัฐมนตรีชุดที่ 68 ดำรงตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสในรอบสามสิบปีหลังจากผู้ดำรงตำแหน่งคนสุดท้ายคือ เปาล์ ฟันเดิน บุยนันตส์ เข้ารับตำแหน่งเมื่อพ.ศ. 2522 และยังเป็นนายกรัฐมนตรีจากพรรคสังคมนิยมคนแรกในรอบเกือบสี่สิบปีหลังจากแอดมง เลอบูร์ตง ซึ่งหมดวาระลงในปีพ.ศ. 2517 เอลีโย ดี รูโป ยังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของเบลเยียมที่ไม่ได้สืบเชื้อสายจากชาววัลลูนหรือเฟลมิช โดยบิดาและมารดาของเขาเป็นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี และยังเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่แสดงออกว่าเป็นเกย์ในกลุ่มประเทศยุโรป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเอลีโย ดี รูโป · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟรีย์ รัช

ฟฟรีย์ รอย รัช เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย ถือเป็นนักแสดงออสเตรเลียคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาการแสดงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจฟฟรีย์ รัช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์

้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน กับ โซเฟียแห่งนอสซอ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก กับ หลุยส์แห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 4 พระองค์ โดยพระองค์ถือเป็นพระราชอัยกา(ตา) ใน 3 พระมหากษัตริย์ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงบัสมาห์ บิน เฏาะลาล

้าหญิงบัสมาห์ บิน เฏาะลาล พระราชธิดาพระองค์เดียวใน สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน กับ สมเด็จพระราชินีไซน์ อัล-ชาราฟ เฏาะลาล แห่งจอร์แดน เป็นพระราชขนิษฐาใน สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน เป็นพระราชปิตุจฉา(อาหญิง) ใน สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 ทรงเสกสมรสกับ พันเอก ทัมเมอร์ ดาร์กติวาร์กานาร์ มีพระบุตร 3 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงบัสมาห์ บิน เฏาะลาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม

้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม พระนามเดิม เลอา อิงกา ดอรา โวลมัน (Léa Inga Dora Wolman; ประสูติ 6 กุมภาพันธ์ 2494) พระชายาในเจ้าชายอาแล็กซ็องดร์แห่งเบลเยียม พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 กับเจ้าหญิงลิเลียงแห่งเรธี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเจ้าหญิงเลอาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เขียว กัญญาฤทธิ์

ียว กัญญาฤทธิ์ (อังกฤษ: Khieu Kanharith; លោកខៀវកាញារីទ្ធ) เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเขียว กัญญาฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เด็กซ์เตอร์ เดวีส์

็กซ์เตอร์ เมลวินน์ เดวีส์ (10 เมษายน ค.ศ. 1951 – 17 มีนาคม ค.ศ. 2018) เป็นนักการเมืองออสเตรเลีย เดวีส์เกิดที่เมืองเคเลอร์เบอร์ริน ออสเตรเลียตะวันตก และเคยเป็นชาวนาและเป็นที่ปรึกษา ก่อนที่จะลงเล่นการเมือง เดวีส์เล่นฟุตบอลออสเตรเลีย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเด็กซ์เตอร์ เดวีส์ · ดูเพิ่มเติม »

เด๋อ ดอกสะเดา

๋อ ดอกสะเดา (21 มีนาคม พ.ศ. 2494 —) หรือชื่อจริงว่า สมใจ บุรานนท์ เข้าสู่วงการโดยเป็นนักแสดงตลกจากวงดนตรีลูกทุ่งระพิน ภูไท ประมาณ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเด๋อ ดอกสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

เควิน คีแกน

ซฟ เควิน คีแกน (เกิด 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951) หรือที่คนส่วนใหญ่รู้จักในชื่อ เควิน คีแกน เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอังกฤษ เขาเริ่มค้าแข้งกับสคันธอร์ปยูไนเต็ดใน ค.ศ. 1968 ก่อนที่จะย้ายไปร่วมทีมลิเวอร์พูลใน ค.ศ. 1971 โดยสวมเสื้อเบอร์ 7 ในขณะที่ค้าแข้งอยู่กับลิเวอร์พูลนั้น คีแกนสามารถคว้าแชมป์รายการสำคัญต่างๆมากมาย ได้แก่ ดิวิชันหนึ่ง 3 สมัย, ยูฟ่าคัพ 2 สมัย, เอฟเอคัพ 2 สมัย และยูโรเปียนคัพอีก 1 สมัย เขาติดทีมชาติอังกฤษเป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1972 ต่อมาใน ค.ศ. 1977 เขาตัดสินใจย้ายไปร่วมทีมฮัมบูร์ก ในการค้าแข้งกับฮัมบูร์กเขาได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป 2 สมัยติดต่อกัน คือ 1978 และ 1979 ในฤดูกาลเดียวกันเขาได้เป็นกำลังสำคัญในการพาทีมคว้าแชมป์บุนเดสลีกา ฤดูกาล 1978-79 และสามารถคว้าแชมป์ยูโรเปียนคัพในปีถัดมาอีกด้วย หลังจากนั้นเขาก็ได้ย้ายไปร่วมทีมเซาแธมป์ตันเป็นเวลา 2 ฤดูกาล ก่อนที่จะย้ายไปค้าแข้งกับนิวคาสเซิลใน ค.ศ. 1984 และสามารถพาทีมเลื่อนชั้นได้สำเร็จ ก่อนที่จะประกาศเลิกเล่นฟุตบอลในอีก 2 ปีถัดมา ในขณะที่ติดทีมชาติอังกฤษทั้งหมด 63 นัด และยิงได้ 21 ประตู ใน ค.ศ. 1992 เขากลับสู่นิวคาสเซิลอีกครั้งในฐานะผู้จัดการทีม และพาทีมเลื่อนชั้นสู่ลีกสูงสุดในฐานะแชมป์ได้สำเร็จ หลังจากเลื่อนชั้นแล้วคีแกนพาทีมคว้าอันดับ 2 ในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 1995–96 หลังจากนั้นเขาก็ได้ย้ายไปคุมฟูแลม ก่อนที่จะเข้ารับตำแหน่งผู้จัดการทีมชาติอังกฤษใน ค.ศ. 1999 แต่คุมทีมเพียงแค่ปีเดียวเขาก็ขอลาออกจากตำแหน่ง ปีถัดมาคีแกนตัดสินใจเขาดำรงตำแหน่งผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ซิตี และคุมทีมได้นาน 4 ปี ก็ขอลาออกจากตำแหน่ง หลังจากนั้นเขาก็ไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับฟุตบอลอีกเลยเป็นเวลา 3 ปี ก่อนที่จะกลับมาคุมนิวคาสเซิลอีกเป็นครั้งที่ 2 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2008 แต่หลังจากนั้นเขาก็ได้ลาออกจากตำแหน่งในวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 2008 เนื่องจากขัดแย้งกับบอร์ดบริหารของสโมสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเควิน คีแกน · ดูเพิ่มเติม »

เคิร์ต รัสเซลล์

เคิร์ต โวเจล รัสเซลล์ (Kurt Vogel Russell) เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เขาเริ่มแสดงในภาพยนตร์ฮอลลีวูดตั้งแต่ยังเด็ก ในยุคทศวรรษ 1960 และเริ่มมีผลงานภาพยนตร์ที่หลากหลายขึ้นเป็นต้นมา รวมถึงแสดงใน The Thing, Big Trouble in Little China, Escape from New York, Silkwood, Stargate, Backdraft, Tombstone, Vanilla Sky, และ Grindhouse หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากสปริงฟิลด์ (รัฐแมสซาชูเซตส์).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเคิร์ต รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เคนนี แดลกลีช

นเนท แมทีสัน "เคนนี" แดลกลีช (Kenneth Mathieson "Kenny" Dalglish) เกิดวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1951 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์ เล่นตำแหน่งกองหน้า เคยเป็นกองหน้าของสโมสรฟุตบอลเซลติก และ สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล เจ้าของฉายา "คิง เคนนี" เป็นอดีตผู้จัดการทีมลิเวอร์พูล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และเคนนี แดลกลีช · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ12 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ17 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กรกฎาคม

วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ18 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ19 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

20 กุมภาพันธ์

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ20 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ตุลาคม

วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ21 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กันยายน

วันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ 266 ของปี (วันที่ 267 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 99 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ25 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ26 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ26 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ27 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ30 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 ธันวาคม

วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ6 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2494และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.ศ.2494ค.ศ. 1951

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »