โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยืม (กฎหมาย)

ดัชนี ยืม (กฎหมาย)

ืม (loan; prêt, /เปร/) หมายความว่า "ขอสิ่งของมาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน" ในทางกฎหมายเป็นสัญญาประเภทสัญญามีชื่อ ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ให้ยืม" (lender) ส่งมอบทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ยืม" (borrower) เพื่อให้ผู้ยืมใช้สอย และผู้ยืมจะได้คืนทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ให้ยืมเมื่อเขาใช้สอยเสร็จแล้ว แบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่ ยืมใช้คงรูป (loan for use; prêt à usage) คือ สัญญายืมที่ผู้ให้ยืมให้ผู้ยืมใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้วขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์), 2549: 281.

22 ความสัมพันธ์: มาตรายืม (กฎหมาย)ยืมใช้สิ้นเปลืองยืมใช้คงรูปวรรคศาลฎีกาศาสตราจารย์สัญญา (นิติศาสตร์)สัญญาต่างตอบแทนสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)จิ๊ด เศรษฐบุตรทรัพย์สินดอกเบี้ยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศไทยโมฆะเอกเทศสัญญาเงินตรา

มาตรา

"มาตรา" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

ยืม (กฎหมาย)

ืม (loan; prêt, /เปร/) หมายความว่า "ขอสิ่งของมาใช้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้วคืนให้หรือใช้คืน" ในทางกฎหมายเป็นสัญญาประเภทสัญญามีชื่อ ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ให้ยืม" (lender) ส่งมอบทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า "ผู้ยืม" (borrower) เพื่อให้ผู้ยืมใช้สอย และผู้ยืมจะได้คืนทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ให้ยืมเมื่อเขาใช้สอยเสร็จแล้ว แบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่ ยืมใช้คงรูป (loan for use; prêt à usage) คือ สัญญายืมที่ผู้ให้ยืมให้ผู้ยืมใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้วขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์), 2549: 281.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และยืม (กฎหมาย) · ดูเพิ่มเติม »

ยืมใช้สิ้นเปลือง

ืมใช้สิ้นเปลือง (loan for consumption; IPA: pʀɛ•də•kɔ̃sɔmasjɔ̃ /เปรเดอกงซอมาซียง/)) คือ สัญญายืม (loan) ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียก "ผู้ให้ยืม" (lender) โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้ไปสิ้นไปนั้นเป็นปริมาณมีกำหนดให้ไปแก่บุคคลอีกฝ่าย เรียก "ผู้ยืม" (borrower) และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมนั้น การยืมอันมีวัตถุแห่งสัญญาเป็นเงินนั้น เรียก "กู้ยืม" (loan of money)ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และยืมใช้สิ้นเปลือง · ดูเพิ่มเติม »

ยืมใช้คงรูป

ืมใช้คงรูป (loan for use หรือ commodate; prêt à usage หรือ commodat) เป็นสัญญายืม (loan) ประเภทหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียก "ผู้ให้ยืม" (lender) ให้บุคคลอีกฝ่าย เรียก "ผู้ยืม" (borrower) ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว ยืมใช้คงรูปเป็นหนึ่งในสองประเภทของสัญญายืม คู่กับ "ยืมใช้สิ้นเปลือง" (loan for consumption) การยืมทั้งหลายเหล่านี้ นับเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของมนุษย์ที่เรียกได้ว่าไม่มีใครไม่เคยยืมหรือถูกยืม ไม่ว่าจะเป็นของเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ดินสอ ปากกา ยางลบ ไปจนถึงของสำคัญต่าง ๆ เช่น ทรัพย์สินเงินทอง ทั้งนี้ เหตุผลหนึ่งก็เนื่องจากสมาชิกในสังคมมิได้มีฐานะทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน กับทั้งความจำเป็นหลาย ๆ ด้าน อาทิ ในการประกอบธุรกิจที่ต้องการทุนสูงหรือทุนหมุนเวียน และอาจรวมถึงกิเลสตัณหาอยากได้อยากมีจนเกิดสำนวนไทยว่า "กู้หนี้ยืมสิน" การยืมจึงก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้ให้ยืมกับผู้ยืม ซึ่งบางทีนำไปสู่ความวิวาทบาดทะเลาะในสังคม ดังนั้น เพื่อความสงบเรียบร้อยของส่วนรวม กฎหมายจึงเข้ามาควบคุมพฤติกรรมในการยืม.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และยืมใช้คงรูป · ดูเพิ่มเติม »

วรรค

วรรค (อ่านว่า วัก) มาจากภาษาบาลี วคฺค และภาษาสันสกฤต วรฺค อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และวรรค · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา (นิติศาสตร์)

สัญญา หมายถึง ข้อตกลงระหว่างบุคคลสองฝ่าย (หรือหลายฝ่าย) ว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญามักจะเป็นรูปแบบเอกสารลายลักษณ์อักษร ซึ่งระบุเงื่อนไขและข้อตกลงต่าง ๆ ลงท้ายด้วยลายมือชื่อของทั้งสองฝ่าย และอาจมีของพยานด้วยก็ได้ หมวดหมู่:กฎหมายนิติกรรมและสัญญา หมวดหมู่:เอกสารทางกฎหมาย.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และสัญญา (นิติศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาต่างตอบแทน

ัญญาต่างตอบแทน (synallagmatic contract, reciprocal contract, bilateral contract, multilateral contract หรือ multipartite contract) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง นิติกรรมที่มีคู่กรณีหลายฝ่ายเกี่ยวข้อง หรือที่เรียกว่า "สัญญา" และคู่สัญญาต่างฝ่ายต่างมีหน้าที่ต้่องตอบแทนกันโดยกระทำหรืองดเว้นกระทำการอย่างใด ๆ เช่น ในสัญญาซื้อขาย ผู้ซื้อมีหน้าที่ชำระราคาทรัพย์สินที่ตนซื้อ และผู้ขายก็มีหน้าที่ส่งมอบทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ผู้ซื้อ เป็นต้น สัญญาต่างตอบแทนมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ทวิภาคีสัญญา, สัญญาสองฝ่าย, พหุภาคีสัญญา, สัญญาหลายฝ่าย, นิติกรรมสองฝ่าย และ นิติกรรมหลายฝ่าย ดังนั้น นิติกรรมหรือสัญญาที่ไม่ต่างตอบแทน จึงอาจเรียกว่า "นิติกรรมฝ่ายเดียว" (unilateral act) หรือ "สัญญาผูกพันฝ่ายเดียว" (unilateral contract).

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และสัญญาต่างตอบแทน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (Office of the Council of State) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการกฤษฎีกา สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดยเป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จิ๊ด เศรษฐบุตร

thumb ศาสตราจารย์จิ๊ด เศรษฐบุตร (18 มกราคม 2449 — 19 มกราคม 2538) เป็นตุลาการ นักนิติศาสตร์ และนักการทูตชาวไท.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และจิ๊ด เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพย์สิน

ทรัพย์ (thing) หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง ซึ่งได้แก่สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตั่ง เตียง ช้าง มา วัว ควาย เป็นคำมาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า "ทฺรวฺย"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และทรัพย์สิน · ดูเพิ่มเติม »

ดอกเบี้ย

อกเบี้ย (Interest) คือเงินที่ได้รับเพิ่มขึ้นจากการลงทุนโดยการคำนวณเป็นอัตราร้อยละต่อปี ในทางเศรษฐศาสตร์ ดอกเบี้ยเป็นเครื่องควบคุมอัตราเงินเฟ้ออีกด้วย คือ เมื่อใดที่เกิดอัตราเงินเฟ้อขึ้น แสดงว่า มีปริมาณเงินในตลาด(หมายถึงเงินในมือประชาชน)จำนวนมาก และสินค้าจะราคาแพงขึ้น การขึ้นดอกเบี้ยทั้งเงินฝากและเงินกู้ ทำให้เงินได้ออกจากตลาดไป ปริมาณเงินจะลดลง เงินเฟ้อก็จะลดลง.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และดอกเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โมฆะ

มฆะ (void) มีความหมายโดยทั่วไปว่า เปล่า ว่าง ไม่มีประโยชน์ หรือไม่มีผล โดยในทางกฎหมายนั้นหมายความว่า เสียเปล่า หรือไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมายราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และโมฆะ · ดูเพิ่มเติม »

เอกเทศสัญญา

อกเทศสัญญา (specific contract), หนี้เอกเทศ (specific obligation) หรือ สัญญามีชื่อ (nominated contract) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง หนี้หรือสัญญาประเภทที่กฎหมายขนานนามให้เป็นพิเศษ เพื่อวางกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องเป็นการเอกเทศ ดังนั้น หนี้หรือสัญญาทั่วไปที่ไม่ปรากฏชื่อตามกฎหมาย จึงได้ชื่อว่า "สัญญาไม่มีชื่อ" (innominate contract) หรือ "หนี้สามัญ" (general obligation) โดยปรกติแล้ว กฎหมายจะวางบทบัญญัติครอบคลุมสัญญาและหนี้เป็นการทั่วไปก่อน เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บททั่วไป" ซึ่งจะใช้บังคับแก่ทุกกรณี และวางหลักเฉพาะเจาะจงสำหรับเรื่องพิเศษบางประเภท เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บทพิเศษ" ซึ่งต้องนำมาใช้ก่อนบททั่วไป เมื่อไม่มีบทพิเศษบัญญัติไว้จึงค่อยยกบททั่วไปมาใช้ เช่น ตามกฎหมายไทย ซื้อขายเป็นเอกเทศสัญญาที่มีบทบัญญัติกำหนดความสัมพันธ์ของคู่กรณีไว้เป็นบทพิเศษ แต่ไม่ได้กำหนดเรื่องการเกิดและการสิ้นสุดลงของสัญญา จึงต้องยกบททั่วไปที่เกี่ยวข้องมาใช้ เอกเทศสัญญาและหนี้เอกเทศนั้นเป็นบทบัญญัติจำพวกบทพิเศษ ส่วนสัญญาไม่มีชื่อและหนี้ทั่วไปคือสัญญาและหนี้ตามบททั่วไปนั่นเอง และเอกเทศสัญญาหรือหนี้เอกเทศจะมีประเภทใดบ้างนั้น ขึ้นอยู่กฎหมายของแต่ละประเท.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และเอกเทศสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H. Greco.

ใหม่!!: ยืม (กฎหมาย)และเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สัญญายืมผู้ยืมผู้ให้ยืม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »