โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ดัชนี ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ไม่มีคำอธิบาย.

98 ความสัมพันธ์: บลิทซ์ครีกชาร์ล เดอ โกลชาวยิวชาตินิยมฟรันซิสโก ฟรังโกฟิลิป เปแตงฟือเรอร์ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะพ.ศ. 2479พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2486พ.ศ. 2488พรรคแอร์โรว์ครอสส์พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลีพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียกองทัพบกไทยการบุกครองนอร์ม็องดีการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์กติกาสัญญาเหล็กฝรั่งเศสเขตวีชีฝ่ายอักษะมิกโลช โฮร์ตียอเซ็ฟ ติซอยัติภังค์ระบอบนาซีรัฐบริวารรัฐในอารักขาราชวงศ์จักรีราชวงศ์ปาห์ลาวีราชอาณาจักรบัลแกเรียราชอาณาจักรอิรักราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรฮังการีราชอาณาจักรโรมาเนียรายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สองรายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรียรายนามนายกรัฐมนตรีลาวรูดอล์ฟ เฮสส์ลัทธิฟาสซิสต์ลุฟท์วัฟเฟอสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียสหภาพโซเวียตสหรัฐไทยเดิม...สาธารณรัฐสังคมอิตาลีสาธารณรัฐสโลวักที่ 1สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สองอิตาเลียนลิเบียอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฮิเดะกิ โทโจผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการีผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองฌ็อง เดอกูจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์จักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิโชวะจักรวรรดิญี่ปุ่นดักลาส แมกอาเธอร์ควง อภัยวงศ์คาร์ล เดอนิทซ์คณะราษฎรซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดนประเทศฟินแลนด์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศอียิปต์ประเทศซานมารีโนประเทศแมนจูประเทศโรมาเนียประเทศไทยปรีดี พนมยงค์ปีเอโตร บาโดลโยนายกรัฐมนตรีไทยนาซีเยอรมนีแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์แอฟริกาเหนือของอิตาลีแอริช แรเดอร์แอร์วิน รอมเมิลแฮร์มันน์ เกอริงแปลก พิบูลสงครามโยเซฟ เกิบเบลส์โรดอลโฟ กราซีอานีไฮนซ์ กูเดเรียนไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เบนิโต มุสโสลินีเสรีไทยเหมิ่งเจียงเอียน อันโตเนสคูเจ้าเพชรราช รัตนวงศาเซิน หง็อก ถั่ญ11 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (48 มากกว่า) »

บลิทซ์ครีก

วามเสียหายหลังจากบลิทซ์ครีก บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg) การโจมตีสายฟ้าแลบ เป็นคำแผลงเป็นอังกฤษ เป็นปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธีของกองทัพนาซีเยอรมันนีในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมแสนยานุภาพทั้งทางภาคพื้นดินและในอากาศเข้าด้วยกัน คำว่า บลิทซ์ครีก เป็นอธิบายการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้างความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย แนวคิดบลิทซ์ครีกนั้นได้รับการพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำศึกยืดเยื้อ บลิทซ์ครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง นำโดยพลเอกไฮนซ์ กูเดเรียน บลิทซ์ครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรก ๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและบลิทซ์ครีก · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาตินิยม

ชาตินิยม (nationalism) คืออุดมการณ์ที่สร้างและบำรุงรักษาชาติในลักษณะที่เป็นมโนทัศน์ แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มของมนุษย์ ตามบางทฤษฎี การรักษาลักษณะพิเศษของอัตลักษณ์ การเป็นอิสระในทุก ๆ เรื่อง การกินดีอยู่ดี และการชื่นชมความยิ่งใหญ่ของชาติตนเอง ล้วนจัดว่าเป็นคุณค่าพื้นฐานของความเป็นชาตินิยม นักชาตินิยมวางพื้นฐานของความเป็นชาติอยู่บนแนวคิดเกี่ยวกับความชอบธรรมทางการเมืองหลายๆ ประการ โดยความชอบธรรมนั้นอาจสร้างขึ้นผ่านทางทฤษฎีโรแมนติกของ "อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม" การให้เหตุผลเชิงเสรีนิยมที่กล่าวว่า ความชอบธรรมทางการเมืองนั้น เกิดจากการยอมรับของประชากรในท้องถิ่นนั้น ๆ หรืออาจจะเป็นการผสมผสานระหว่างสองสิ่งนี้ การใช้คำว่า ชาตินิยม ในสมัยใหม่ มักหมายถึงการใช้อำนาจทางการเมือง (และทหาร) ของกลุ่มชาตินิยมเชิงเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ชนเผ่าหรือเชิงศาสนา นักรัฐศาสตร์โดยทั่วไปแล้วมีแนวโน้มที่จะวิจัยและมุ่งเป้าไปที่รูปแบบสุดขั้วของชาตินิยม ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับสังคมนิยมเชิงชาตินิยม การแบ่งแยกดินแดน และอื่น ๆ หมวดหมู่:ทฤษฎีการเมือง หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและชาตินิยม · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2435 - ถึงแก่กรรม 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) เป็นจอมพลและผู้เผด็จการชาวสเปนในช่วงปี พ.ศ. 2479-2518 เกิดที่เมืองเอลเฟร์โรล แคว้นกาลิเซีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยโตเลโดในปี พ.ศ. 2453 ได้รับประสบการณ์ในการรบเป็นอย่างมากในสงครามโมร็อกโก และได้เป็นนายพลที่หนุ่มที่สุดของประเทศสเปนเมื่อปี พ.ศ. 2469 ระหว่างสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2479) ฟรังโกได้เป็นผู้นำทำการปราบปรามกบฏชาวเหมืองอัสตูรีอัส และในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฟรันซิสโก ฟรังโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป เปแตง

อองรี ฟิลิป เบนโอนี โอแมร์ โจเซฟ เปแตง (24 April 1856 – 23 July 1951),ได้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อว่า ฟิลิป เปแตง หรือ จอมพล เปแตง (Maréchal Pétain),เป็นนายพลฝรั่งเศสที่แตกต่างจากจอมพลแห่งฝรั่งเศส,และต่อมาในภายหลังได้ทำหน้าที่เป็นประมุขรัฐของวิชีฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันคือชาตินิยมฝรั่งเศสหรือรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français),ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฟิลิป เปแตง · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฟือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ

้า ฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ (คิวจิทาอิ: 近衞 文麿, ชินจิทาอิ: 近衛 文麿) เป็นนักการเมืองของญี่ปุ่นในสมัยโชวะ และเป็นนายกรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีที่ 34,38 และ 39 ของญี่ปุ่น บิดาของเขาถึงแก่อสัญกรรมตั้งแต่เขาอายุ 12 ขวบ ทำให้เขาต้องสืบทอดบรรดาศักดิ์ที่ชั้น โคชะกุ (เจ้า) และสายตระกูลโคะโนะเอะตั้งยังเล็ก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฟุมิมะโระ โคะโนะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแอร์โรว์ครอสส์

รรคแอร์โรว์ครอสส์ – ขบวนการนิยมฮังการี (Nyilaskeresztes Párt – Hungarista Mozgalom) เป็นพรรคการเมืองนิยมแนวชาติสังคมนิยมของฮังการี ก่อตั้งโดยแฟแร็นตส์ ซาลอชี ต่อมาได้ขึ้นอำนาจในฐานะรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการีระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม 1944 ถึงวันที่ 28 มีนาคม 1945 พรรคแอร์โรว์ครอสส์กำจัตศัตรูทางการเมืองรวมทั้งเนรเทศประชาชนประมาณ 15,000 คน (ส่วนใหญ่เป็นชาวยิวและโรมา) ออกจากฮังการีและส่งเข้าค่ายกักกันในออสเตรีย หลังสงครามจบลง ซาลอชีและผู้นำพรรคคนอื่น ๆ ถูกศาลฮังการีตัตสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงคราม.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพรรคแอร์โรว์ครอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2414 ที่พนมเปญ และเสด็จสวรรคตเมี่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2484 ทรงเป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์รองของ พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองสีสุวัตถิ์) กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 3 ทรงศึกษาที่โรงเรียนอาณานิคมและโรงเรียนทหารบกที่ซังแม็จซ็อง เมื่อจบการศึกษา ทรงได้รับยศเป็นร้อยตรีสังกัดกองทหารในฝรั่งเศสบัญญัติ สาลี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์อิรัก ระหว่างปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (Vittorio Emanuele III; 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 — 28 ธันวาคม ค.ศ. 1947) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีจากราชวงศ์ซาวอย ครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1900 จนถึงวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 นอกจากอิตาลีแล้วพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลยังทรงราชย์เป็นจักรพรรดิแห่งเอธิโอเปียระหว่างปี ค.ศ. 1936 จนถึงปี ค.ศ. 1943 และพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียระหว่างปี ค.ศ. 1939 จนถึงปี ค.ศ. 1943 ซึ่งรับรองโดยมหาอำนาจระหว่าง ค.ศ. 1937 ถึง ค.ศ. 1939 อีกด้วย ระหว่างรัชสมัยของพระองค์ก็มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นหลายเหตุการณ์ เช่น สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดไปจนถึงการสถาปนาและการล่มสลายของฟาสซิสต์ในอิตาลี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย(30 มกราคม พ.ศ. 2437 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2489)(พระนามเต็ม:บอริส คลีเมนต์ โรเบิร์ต มาเรีย ปิอุส ลุดวิก สตานิสเลาส์ ซาเวียร์)เป็นพระโอรสในพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งปาร์มา พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติหลังจากพระบิดาทรงสละราชบัลลังก์ในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและการบุกครองนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการต่อต้านต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ การจัดตั้งองค์กรเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ถูกพัฒนาขึ้นหลังปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาเหล็ก

กติกาสัญญาเหล็ก (Pact of Steel) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญามิตรภาพและพันธมิตรระหว่างเยอรมนีและอิตาลี (Pact of Friendship and Alliance between Germany and Italy) เป็นสนธิสัญญาระหว่างอิตาลีและนาซีเยอรมนี เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและกติกาสัญญาเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝรั่งเศสเขตวีชี (La France de Vichy; Vichy France) คือรัฐเฉพาะกาลที่ปกครองประชาชนชาวฝรั่งเศส โดยเป็นรัฐที่สนับสนุนนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1940 - เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 และเป็นรัฐบาลที่สืบทอดต่อมาจากสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 โดยมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐฝรั่งเศส (L'État Français; French State).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฝรั่งเศสเขตวีชี · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

มิกโลช โฮร์ตี

วิเตซ มิกโลช โฮร์ตี แห่งน็อจบาญอ (nagybányai Horthy Miklós,; Nikolaus Horthy Ritter von Nagybánya) เป็นพลเรือเอกและรัฐบุรุษชาวฮังการี เขาดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแห่งราชอาณาจักรฮังการีในสมัยระหว่างสงคราม.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและมิกโลช โฮร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

ยอเซ็ฟ ติซอ

อเซ็ฟ ติซอ (Jozef Tiso; 13 ตุลาคม ค.ศ. 1887 – 18 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักบวชโรมันคาทอลิกชาวสโลวักและนักการเมืองจากพรรคประชาชนสโลวัก ระหว่างปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและยอเซ็ฟ ติซอ · ดูเพิ่มเติม »

ยัติภังค์

ัติภังค์ หรือ เครื่องหมายขีด (hyphen) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นขีดแนวนอนสั้นๆ กลางบรรทัด ยาวไม่เกิน 2 ตัวอักษร หากยาวกว่านั้นจะเรียกว่ายัต.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและยัติภังค์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G. 1995.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและระบอบนาซี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบริวาร

รัฐบริวาร (Client state หรือ Satellite state) เป็นคำศัพท์ทางการเมือง หมายถึง ประเทศที่มีเอกราชอย่างเป็นทางการ แต่อยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมาก หรือถูกควบคุมโดยอีกประเทศหนึ่ง โดยเป็นคำที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อโดยเปรียบเทียบกับดาวบริวาร ซึ่งโคจรรอบดาวดวงอื่น และคำว่า รัฐบริวาร มักจะใช้หมายความถึง รัฐในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียต ระหว่างสงครามเย็น รัฐบริวารอาจหมายถึงประเทศที่ถูกครอบงำทางการเมืองและทางเศรษฐกิจโดยอีกประเทศหนึ่ง ในเวลาสงคราม รัฐบริวารบางครั้งทำหน้าที่เป็นรัฐกันชนระหว่างประเทศฝ่ายศัตรูกับประเทศที่มีอิทธิพลอยู่เหนือรัฐบริวารนั้น คำว่า "รัฐบริวาร" เป็นหนึ่งในคำที่ใช้อธิบายถึงสภาพที่รัฐหนึ่งตกอยู่ใต้อำนาจของอีกรัฐหนึ่งซึ่งคล้ายกับ รัฐหุ่นเชิด โดยทั่วไปแล้ว คำว่า "รัฐบริวาร" แสดงให้เห็นถึงความสวามิภักดิ์ทางความคิดให้กับอำนาจความเป็นประมุขอย่างลึกซึ้ง.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรัฐบริวาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชวงศ์ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง

นายแฟรงกลิน ดี.รูสเวลต์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 32.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย

ว่างกษัตร..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

นายกรัฐมนตรีลาว เป็นตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศลาว เริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2483 โดยมีเจ้าเพชรราช รัตนวงศาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศในสมัยที่ประเทศลาวถูกปกครองโดยญี่ปุ่น โดยปัจจุบันมี ทองลุน สีสุลิด ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรายนามนายกรัฐมนตรีลาว · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ เฮสส์

รูดอล์ฟ วัลเทอร์ ริชาร์ด เฮสส์ (26 เมษายน 1894 – 17 สิงหาคม 1987) เป็นนักการเมืองคนสำคัญในนาซีเยอรมนี ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี 1933 เขาดำรงตำแหน่งจนปี 1941 เมื่อเขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์เพื่อพยายามเจรจาสันติภาพกับสหราชอาณาจักรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกจับเป็นนักโทษและสุดท้ายถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพ รับโทษจำคุกตลอดชีวิต เฮสส์สมัครเข้าเป็นทหารในกรมทหารปืนใหญ่สนามบาวาเรียที่ 7 เป็นทหารราบเมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติ เขาได้รับบาดเจ็บหลายครั้งระหว่างสงคราม และได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์กางเขนเหล็ก ชั้นสองในปี 1915 ไม่นานก่อนสงครามยุติ เฮสส์ขึ้นทะเบียนเพื่อฝึกเป็นนักบิน แต่มิได้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทนี้ เขาออกจากกองทัพในเดือนธันวาคม 1918 ด้วยยศร้อยโทสำรอง (Leutnant der Reserve) ในฤดูใบไม้ร่วงปี 1919 เฮสส์สมัครเรียนในมหาวิทยาลัยมิวนิก ที่ซึ่งเขาศึกษาวิชาภูมิรัฐศาสตร์กับคาร์ล เฮาโชแฟร์ ผู้สนับสนุนมโนทัศน์เลเบนซเราม์ ("ที่อยู่อาศัย") ซึ่งต่อมากลายเป็นเสาหลักของอุดมการณ์พรรคนาซี เฮสส์เข้าร่วมพรรคนาซีเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 1920 และร่วมกับฮิตเลอร์ก่อกบฏโรงเบียร์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 1923 อันเป็นความพยายามของนาซีที่ล้มเหลวเพื่อยึดรัฐบาลบาวาเรีย ระหว่างรับโทษจำคุกจากความพยายามรัฐประหารนี้ เฮสส์ช่วยฮิตเลอร์เขียนงานของเขา ไมน์คัมพฟ์ ซึ่งต่อมากลายเป็นรากฐานแนวนโยบายของพรรคนาซี เมื่อนาซียึดอำนาจในปี 1933 เฮสส์ได้รับแต่งตั้งเป็นรองฟือเรอร์ของพรรคนาซีและได้รับตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีของฮิตเลอร์ เขาเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดอันดับสามในประเทศเยอรมนี รองแต่เพียงฮิตเลอร์และแฮร์มันน์ เกอริง นอกเหนือจากการปรากฏตัวแทนฮิตเลอร์ในการปราศรัยและชุมนุม เฮสส์ลงนามผ่านกฎหมายหลายฉบับซึ่งรวมกฎหมายเนือร์นแบร์กปี 1935 ซึ่งถอดสิทธิของชาวยิวในประเทศเยอรมนีนำไปสู่ฮอโลคอสต์ เฮสส์ยังสนใจการบิน โดยเรียนบินอากาศยานที่ซับซ้อนขึ้นซึ่งมาพัฒนาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1941 เขาบินเดี่ยวไปประเทศสกอตแลนด์ ซึ่งเขาหวังจัดการเจรจาสันติภาพกับดุ๊กแฮมิลตัน ซึ่งเขาเชื่อว่าเป็นคนสำคัญในฝ่ายค้านของรัฐบาลอังกฤษ เฮสส์ถูกจับกุมทันทีที่มาถึงและถูกอังกฤษควบคุมตัวจนสิ้นสงคราม(หลังจากฮิตเลอร์ได้ทราบการกระทำของเฮสส์ทำให้เขาโกรธมากและทำการปลดเขาออกจากรองฟือเรอร์และได้แต่งตั้งมาร์ติน บอรมันแทน) เมื่อเขากลับประเทศเยอรมนีเพื่อรับการไต่สวนในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กอาชญากรสงครามคนสำคัญในปี 1946 ตลอดการไต่สวน เขาอ้างว่าป่วยเป็นภาวะเสียความจำ แต่ภายหลังรับว่าเป็นอุบาย เฮสส์ถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมต่อสันติภาพและคบคิดกับผู้นำเยอรมันอื่นเพื่อก่ออาชญากรรมและถูกย้ายไปเรือนจำซแพนเดาในปี 1947 ซึ่งเขารับโทษจำคุกตลอดชีวิต ความพยายามซ้ำ ๆ ของสมาชิกครอบครัวและนักการเมืองคนสำคัญเพื่อให้ปล่อยตัวเขาถูกสหภาพโซเวียตขัดขวาง ขณะยังถูกควบคุมตัวในซแพนเดา เขาเสียชีวิตโดยดูเหมือนฆ่าตัวตายในปี 1987 เมื่ออายุ 93 ปี หลังเสียชีวิต เรือนจำถูกทำลายเพื่อมิให้กลายเป็นที่บูชาของนีโอนาซี หมวดหมู่:นาซี หมวดหมู่:นักการเมืองเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง‎ หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองชาวเยอรมันที่ถูกจับโดยสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและรูดอล์ฟ เฮสส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและลัทธิฟาสซิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุฟท์วัฟเฟอ

ลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เป็นเหล่าทัพการสงครามทางอากาศของกองทัพเยอรมันเวร์มัคท์ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพอากาศเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ (Luftstreitkräfte) แห่งกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน และหน่วยนักบินทหารเรือ มารีเนอ-ฟีเกอร์อับไทลุงของไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ (Kaiserliche Marine), ได้ถูกยุบในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและลุฟท์วัฟเฟอ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย (15 ตุลาคม/16 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 4 เมษายน พ.ศ. 2496) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราขอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2473 จนกระทั่ง 6 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย กับพระมเหสี สมเด็จพระราชินีมารีแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นพระธิดาในเจ้าฟ้าชายอัลเฟรด ดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ผู้ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์ที่สองของ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์โรมาเนียพระองค์แรกที่ทรงทำพิธีแบ็ปติสท์ตามแบบอีสเติร์นออร์ทอด็อกซ์ มกุฎราชกุมารคาโรลทรงประสูติที่ปราสาทเปเรส ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐไทยเดิม

หรัฐไทยเดิม เดิมชื่อ แคว้นสหรัฐไทยใหญ่ คือดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตรวมดินแดนของรัฐฉาน, รัฐกะยาจนไปถึงครึ่งใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ในประเทศพม่า เคยเป็นอดีตเขตการปกครองเสมือนจังหวัด ของประเทศไทยช่วงปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสหรัฐไทยเดิม · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมอิตาลี

รณรัฐสังคมอิตาลี (Repubblica Sociale Italiana, RSI) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีระหว่างช่วงหลังของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการเกิดใหม่ของรัฐฟาสซิสต์อิตาลี นำโดย เบนิโต มุสโสลินีและพรรคฟาสซิสต์สาธารณรัฐนิยมปฏิรูปของเขา รัฐดังกล่าวประกาศว่ากรุงโรมเป็นเมืองหลวง แต่เนื่องจากโรมไม่อยู่ภายใต้การควบคุม โดยพฤตินัยจึงกระจุกอยู่รอบซาโล อันเป็นสำนักงานใหญ่ของมุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐสังคมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางเหนือของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่ ด้วยความล้มเหลวของกองทัพเยอรมันในการป้องกันการบุกของสัมพันธมิตรจากทางใต้ของอิตาลี ทำให้กองทัพเยอรมันต้องล่าถอยออกจากอิตาลีกลับไปยังเยอรมนีและสาธารณรัฐสังคมอิตาลีล่มสลายไปพร้อมกับเบนิโต มุสโสลินีถูกจับตัวและถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าและแขวนประจานในที.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสาธารณรัฐสังคมอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักที่ 1

รณรัฐสโลวักที่ 1 (Slovenská republika) หรือ รัฐสโลวัก (Slovenský štát) เป็นรัฐบริวารของนาซีเยอรมนีในวันที่ 14 มีนาคม 1939 ถึง 4 เมษายน 1945 มีดินแดนคือในประเทศสโลวาเกียในปัจจุบัน สาธารณรัฐมีพรมแดนติดกับ ราชอาณาจักรฮังการี, นาซีเยอรมนี, รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวีย และโปแลนด์ (เขตยึดครอง General Government) เยอรมนีได้ยอมรับสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 นี้เป็นรัฐเอกราชรวมทั้ง Provisional Government of the Republic of China, โครเอเชีย, เอลซัลวาดอร์, เอสโตเนีย, อิตาลี, ฮังการี, ญี่ปุ่น, ลิทัวเนีย, แมนจูกัว, Mengjiang, โรมาเนีย, สหภาพโซเวียต, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์ และนครรัฐวาติกัน ส่วนฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกไม่ยอบรับเป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง

งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง เป็นสงครามอาณานิคมซึ่งเกิดขึ้นระหว่างกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีกับจักรวรรดิเอธิโอเปีย (หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "อะบิสซิเนีย") โดยเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1935 และสิ้นสุดลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1936 ผลของสงครามจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของเอธิโอเปียและถูกอิตาลีผนวกเข้าเป็นดินแดนอาณานิคมแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ "แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี" (Italian East Africa, Africa Orientale Italiana) ในทางการเมือง สงครามครั้งนี้เป็นเครื่องหมายจดจำที่โดดเด่นที่สุดถึงความอ่อนแออันเป็นปกติวิสัยขององค์การสันนิบาตชาติ วิกฤตการณ์อะบิสซิเนียในปี ค.ศ. 1934 มักถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนถึงความไร้ประสิทธิภาพของสันนิบาตชาติ เช่นเดียวการที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง 3 มณฑลของจีนในกรณีมุกเดนเมื่อปี ค.ศ. 1931 ทั้งอิตาลีและเอธิโอเปียล้วนเป็นชาติสมาชิกของสันนิบาต แต่สันนิบาตชาติก็ไม่สามารถปกป้องเอธิโอเปียให้พ้นจากการคุกคามของอิตาลีได้เมื่อการณ์ปรากฏชัดเจนว่าอิตาลีได้ละเมิดต่อบทบัญญัติของสันนิบาตชาติมาตรา 10 อนึ่ง สงครามครั้งนี้ยังถูกจดจำด้วยการใช้ก๊าซพิษทำสงครามอย่างผิดกฎหมายอย่างก๊าซมัสตาร์ด (mustard gas) และสารฟอสจีน (Phosgene) โดยฝ่ายกองทัพอิตาลี ผลลัพธ์ในเชิงบวกของสงครามต่อฝ่ายอิตาลีได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับความนิยมระดับสูงสุดต่อลัทธิฟาสซิสต์ของมุสโสลินีในเวทีนานาชาติ ผู้นำในหลายประเทศได้ยกย่องความสำเร้จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะกิ โทโจ

กิ โทโจ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2427 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2491) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของญี่ปุ่น (สมัยที่ 40) และเป็นผู้บัญชาการกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากนี้ เขายังรู้จักกับแฮร์มันน์ เกอริง, พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นการส่วนตัวตั้งแต่สมัยเรียนวิชาการทหารอยู่ที่เยอรมัน.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฮิเดะกิ โทโจ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี

ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี (Regent of Hungary) เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ฮังการี ในวันที 1 มีนาคม 1920, สภานิติบัญญัติแห่งฮังการี เห็นชอบให้มีการสถาปนาราชอานาจักรฮังการีขึ้นใหม่ แต่มิได้อัญเชิญสมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการีจากการเนรเทศนอกประเทศเพื่อทรงกลับมาเถลิงวัลย์ราชสมบัติเป็นจักรพรรดิฮับส์บูร์กเนื่องจากสถานการณ์ไม่อำนวยพระองค์จึงทรงแต่งตั้งพลเรือเอกมิกโลช โฮร์ตีเป็นผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการีและหลังการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 มิกโลช โฮร์ตีจึงเป็นประมุขแห่งรัฐฮังการีโดยพฤตินัย จนกระทั่งรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการีที่นำโดยพรรคแอร์โรวครอส ยึดอำนาจโฮร์ตีและยกเลิกตำแหน่งผู้สำเร็จราชการในปี 1944.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง เดอกู

็อง เดอกู (Jean Decoux; 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2506) นายทหารเรือแห่งกองทัพเรือฝรั่งเศสชาวเมืองบอร์โด อดีตข้าหลวงใหญ่แห่งอินโดจีนฝรั่งเศสในช่วง..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและฌ็อง เดอกู · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ดักลาส แมกอาเธอร์

ลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ (ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2486 หรือ 2487) พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ในการรบที่อ่าวเลเต หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ (Douglas MacArthur; 26 มกราคม พ.ศ. 2423 - 5 เมษายน 2507) เป็นพลเอกชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบานยูเอสเอส มิสซูรี นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัยสงครามเย็น ในสงครามเกาหลี อีกด้ว.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและดักลาส แมกอาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เดอนิทซ์

ร์ล เดอนิทซ์ (Karl Dönitz; 16 กันยายน 1891 – 24 ธันวาคม 1980) เป็นจอมพลเรือชาวเยอรมันผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์กองทัพเรือสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เดอนิทซ์สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งรัฐเยอรมนีต่อจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเริ่มอาชีพในกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี 1918 ขณะที่เขาบังคับการเรือดำน้ำ UB-68 เรือถูกกองทัพบริติชจมและเดอนิทซ์ถูกจับเป็นเชลย ระหว่างอยู่ในค่ายเชลยศึก เขาสรุปสิ่งที่ต่อมาเขาเรียกว่ารูเดลทักทิค ("ยุทธวิธีฝูง" หรือเรียกทั่วไปว่า "ฝูงหมาป่า") เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เขาเป็นนายทหารเรือดำน้ำอาวุโสในครีกส์มารีเนอ ในเดือนมกราคม 1943 เขาได้ยศกรอสส์อัดมีรัล (จอมพลเรือ) และสืบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือจากจอมพลเรือ เอริช แรดเดอร์ วันที่ 30 เมษายน 1945 หลังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมและตามพินัยกรรมฉบับหลังสุดของฮิตเลอร์ เดอนิทซ์ถูกเสนอชื่อเป็นผู้สืบทอดประมุขแห่งรัฐจากฮิตเลอร์ ทั้งตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด วันที่ 7 พฤษภาคม 1945 เขาสั่งให้อัลเฟรด โยเดิล หัวหน้าเสนาธิการของกองบัญชาการทหารสูงสุด ลงนามตราสารยอมจำนนในแรมส์ ประเทศฝรั่งเศส เดอนิทช์ยังเป็นหัวหน้ารัฐบาลเฟลนซ์บุร์กจนถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เขาถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมสงครามและตัดสินลงโทษจำคุกสิบปี หลังการปล่อยตัว เขาใช้ชีวิตเงียบ ๆ ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้ฮัมบุร์กจนเสียชีวิตในปี 1980.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและคาร์ล เดอนิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480) ทรงเป็นบุคคลสำคัญในสังคมการเมืองและราชวงศ์บัลแกเรีย พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน

แสดงแผนปฏิบัติการของฝ่ายสัมพันธมิตรในปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน ทั้งทางอากาศและภาคพื้นดิน ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน (Operation Market Garden) เป็นปฏิบัติการทางทหารของฝ่ายสัมพันธมิตรนำโดยประเทศอังกฤษ ในห้วงวันที่ 17-25 กันยายน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโน

ซานมารีโน หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซานมารีโน และอีกชื่อหนึ่งคือ "'สาธารณรัฐอันสงบสุขยิ่งซานมารีโน"' เป็นประเทศในยุโรปใต้บนเทือกเขาแอเพนไนน์ ล้อมรอบโดยประเทศอิตาลี เป็นหนึ่งในจุลรัฐยุโรป.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศซานมารีโน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร บาโดลโย

ปีเอโตร บาโดลโย ดยุคที่ 1 แห่งอาดดิสอาบาบา มาร์ควิสที่ 1 แห่งซาโบตีโน (Pietro Badoglio; 28 กันยายน ค.ศ. 1871 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956) เป็นนักการเมืองเป็นสมาชิกพรรคฟาสซิสต์และเป็นนายพลสังกัดกองทัพแห่งราชอาณาจักรอิตาลีภายใต้ยุคเผด็จการของนายกรัฐมนตรีเบนิโต มุสโสลินี ผลงานอันยอดเยี่ยมของเขาในสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง ทำให้เขาได้รับการปูนบำเหน็จเป็นขุนนางยศดยุคแห่งอาดดิสอาบาบา ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 หลังจากที่อิตาลีต้องเผชิญกับการโต้ตอบอย่างหนักจากฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สภาใหญ่ของพรรคฟาสซิสต์ลงมติไม่ไว้วางในในตัวมุสโสลินี และตามติดด้วยการถอดถอนและจำคุกมุสโสลินี ทำให้จอมพลบาโดลโยได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ให้เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งอิตาลีแทน และเมื่อความสับสนในสถานการณ์ได้แผ่ขยายไปในหมู่ชาวอิตาลี เขาก็ได้ทำการลงนามสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อการสงบศึกได้ถูกเผยแพร่อย่างเป็นทางการ ประเทศอิตาลีจึงเกิดความระส่ำระสายขึ้นจากสงครามกลางเมือง สภาพการณ์เช่นนี้ทำให้จอมพลบาโดลโยและพระเจ้าวิกเตอร์ เอมมานูเอลที่ 3 ต้องหนีออกจากกรุงโรม และทิ้งกองทัพไว้โดยไม่มีคำสั่งให้ติดตามมาด้วย ถัดจากนั้นในวันที่ 13 ตุลาคม ปีเดียวกัน จอมพลบาโดลโยและราชอาณาจักรอิตาลีก็ได้ประกาศสงครามอย่างเป็นทางการกับนาซีเยอรมนีที่เมืองบรินดีซี อย่างไรก็ตาม เขาก็มิได้อยู่ในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิตาลีได้นานนัก เพราะกระแสของโลกภายนอกต้องการให้ประเทศนี้มีนายกรัฐมนตรีที่ไม่ใช่พวกฟาสซิสต์ คนที่ได้ขึ้นมาดำรงตำแหน่งนี้แทนบาโดลโยคืออีวาโนเอ โบนอมี นักการเมืองจากฝ่ายพรรคแรงงานประชาธิปไต.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและปีเอโตร บาโดลโย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

ร์ล รูดอล์ฟ แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ (Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอริช แรเดอร์

แอริช โยฮันท์ อัลแบร์ท แรเดอร์ (Erich Johann Albert Raeder) เป็นผู้นำกองทัพเรือเยอรมันที่มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ยุทธนาวีในสงครามโลกครั้งที่ 2 แรเดอร์ได้บรรลุไปอยู่ตำแหน่งสูงสุดของกองทัพเรือคือ จอมพลเรือ (Großadmiral) ในปี 1939 กลายเป็นคนแรกที่จะถือยศเทียบเท่า อัลเฟรด ฟอน เทียร์พิตส์ แรเดอร์บัญชาการนำ ครีกซมารีเนอ ในช่วงครึ่งแรกของสงคราม เขาลาออกในปี 1943 และถูกแทนที่ด้วย คาร์ล โดนิทซ์ เขาถูกตัดสินให้ จำคุกตลอดชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่ได้รับการปล่อยตัวในช่วงต้นเนื่องจากสุขภาพของเขาไม่ดี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแอริช แรเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์วิน รอมเมิล

แอร์วิน โยฮันเนส ออยเกิน รอมเมิล (Erwin Johannes Eugen Rommel) สมญา จิ้งจอกทะเลทราย เป็นจอมพลที่โด่งดังที่สุดของกองทัพนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับความนับถือจากทั้งทหารฝ่ายเดียวกันและข้าศึก รอมเมิลเป็นนายทหารที่ได้รับการเชิดชูเกียรติขั้นสูงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับเหรียญกล้าหาญ ''ปัวร์เลอแมริท'' สำหรับการปฏิบัติหน้าที่อันกล้าหาญในแนวรบอิตาลี ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากการบังคับบัญชากองพลพันเซอร์ที่ 7 สมญากองพลผี ระหว่างการบุกครองฝรั่งเศสใน..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแอร์วิน รอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแฮร์มันน์ เกอริง · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ เกิบเบลส์

ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและโยเซฟ เกิบเบลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรดอลโฟ กราซีอานี

รดอลโฟ กราซีอานี จอมพลแห่งอิตาลี จอมพลโรดอลโฟ กราซีอานี, มาร์ควิสแห่งเนเกลลีที่ 1 (Rodolfo Graziani, 1st Marquess of Neghelli, 11 สิงหาคม ค.ศ. 1882 - 11 มกราคม ค.ศ. 1955) เป็นนายทหารสังกัดกองทัพแห่งราชอาณาจักรอิตาลี ผู้นำในการขยายแสนยานุภาพทางทหารของอิตาลีเข้าไปในทวีปแอฟริกา ทั้งในช่วงก่อนและในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและโรดอลโฟ กราซีอานี · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ กูเดเรียน

นซ์ วิลเฮล์ม กูเดเรียน (Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ และมีสมญาว่า ไฮนซ์สายฟ้าแลบ (Schneller Heinz) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซครีก) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังไทเกอร์ 2 เป็นต้น หน่วยของกูเดเรียนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและไฮนซ์ กูเดเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2486) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนักสังคมนิยมยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "การสวนสนามแห่งโรม" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย "รัฐบรรษัท" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเบนิโต มุสโสลินี · ดูเพิ่มเติม »

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484 - 2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เหมิ่งเจียง

เหมิ่งเจียง เป็นเขตปกครองตนเองในมองโกเลีย เป็นรัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิญี่ปุ่น ประกอบด้วยจังหวัดของชาร์ฮาร์และสุย-ยฺเหวี่ยน ซึ่งอยู่ในภูมิภาคของ​​มองโกเลียใน ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจีน รัฐแห่งนี้เรียกแบบไม่เป็นทางการว่า เหมิงกู่กั๋ว (蒙古国) มีสถานะรัฐคล้ายคลึงกับแมนจูกัว รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่นในแมนจูเรีย สำหรับเหมิ่งเจียง แล้ว เมืองหลวงอยู่ที่จางเจียโข่ว โดยญี่ปุ่นได้ส่งเจ้าชายมองโกลนามว่าเดมชูงดองรอปซ์ ไปปกครองเหมิ่งเจียง หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ประเทศจีน หมวดหมู่:สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2479 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2488 หมวดหมู่:รัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเหมิ่งเจียง · ดูเพิ่มเติม »

เอียน อันโตเนสคู

อียน วิคเตอร์ อันโตเนสคู (Ion Victor Antonescu) หรือมีสมญาว่า หมาแดง (Câinele Roșu) เป็นนายทหาร, นักการเมือง และ ผู้นำเผด็จการชาวโรมาเนียและ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีและผู้นำแห่งรัฐ (Conducător) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ปกครองแบบระบอบเผด็จการเป็นเวลาสองสมัยในสมัยระหว่างสงคราม ภายหลังสงคราม เขาได้ถูกตัดสินว่ามีความผิดฐานก่ออาชญากรรมสงครามและลงโทษด้วยการประหารชีวิต เจ้าหน้าที่ทหารแห่งกองทัพโรมาเนียได้ทำการบันทึกชื่อของเขาในช่วงการก่อกบฏชาวนาโรมาเนียในปี..

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเอียน อันโตเนสคู · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเพชรราช รัตนวงศา

้าเพชรราช รัตนวงศา (ເພັດຊະລາດ; 19 มกราคม พ.ศ. 2443 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2502) วีรบุรุษของชาวลาว ผู้ทรงจัดตั้งรัฐบาลลาวอิสระเพื่อปลดแอกจากการปกครองของฝรั่งเศส และรวมแผ่นดินลาวทั้งหมดให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทรงเป็นพระมหาอุปราชพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ของประเทศลาวในสมัยประเทศลาวยังเป็นพระราชอาณาจักรลาว และทรงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของลาวในช่วง พ.ศ. 2485 - 2488 ทรงได้รับการนับถือจากชาวลาวเป็นอย่างมากตราบจนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเจ้าเพชรราช รัตนวงศา · ดูเพิ่มเติม »

เซิน หง็อก ถั่ญ

ซิน หง็อก ถั่ญ (Sơn Ngọc Thành; សឺង ង៉ុកថាញ់) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้น.

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและเซิน หง็อก ถั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ผู้นำฝ่ายอักษะระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ผู้นำฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่สอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »