โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำปฏิญาณโอลิมปิก

ดัชนี คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

69 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาจีนกีฬาโอลิมปิกภาษาฟินแลนด์ภาษากรีกภาษากาตาลาภาษาญี่ปุ่นภาษาฝรั่งเศสภาษารัสเซียภาษาสวีเดนภาษาสโลวีเนียภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษแบบอเมริกันภาษาอิตาลีภาษาดัตช์ภาษานอร์เวย์ภาษาเฟลมิชภาษาเกาหลีภาษาเยอรมันสต็อกโฮล์มโอลิมปิกฤดูร้อน 1920โอลิมปิกฤดูร้อน 1924โอลิมปิกฤดูร้อน 1928โอลิมปิกฤดูร้อน 1932โอลิมปิกฤดูร้อน 1936โอลิมปิกฤดูร้อน 1948โอลิมปิกฤดูร้อน 1952โอลิมปิกฤดูร้อน 1956โอลิมปิกฤดูร้อน 1960โอลิมปิกฤดูร้อน 1964โอลิมปิกฤดูร้อน 1968โอลิมปิกฤดูร้อน 1972โอลิมปิกฤดูร้อน 1976โอลิมปิกฤดูร้อน 1980โอลิมปิกฤดูร้อน 1984โอลิมปิกฤดูร้อน 1988โอลิมปิกฤดูร้อน 1992โอลิมปิกฤดูร้อน 1996โอลิมปิกฤดูร้อน 2000โอลิมปิกฤดูร้อน 2004โอลิมปิกฤดูร้อน 2008โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โอลิมปิกฤดูร้อน 2016โอลิมปิกฤดูร้อน 2020โอลิมปิกฤดูหนาว 1924โอลิมปิกฤดูหนาว 1928โอลิมปิกฤดูหนาว 1932โอลิมปิกฤดูหนาว 1948โอลิมปิกฤดูหนาว 1952โอลิมปิกฤดูหนาว 1956...โอลิมปิกฤดูหนาว 1960โอลิมปิกฤดูหนาว 1964โอลิมปิกฤดูหนาว 1968โอลิมปิกฤดูหนาว 1972โอลิมปิกฤดูหนาว 1976โอลิมปิกฤดูหนาว 1980โอลิมปิกฤดูหนาว 1984โอลิมปิกฤดูหนาว 1988โอลิมปิกฤดูหนาว 1992โอลิมปิกฤดูหนาว 1994โอลิมปิกฤดูหนาว 1998โอลิมปิกฤดูหนาว 2002โอลิมปิกฤดูหนาว 2006โอลิมปิกฤดูหนาว 2010โอลิมปิกฤดูหนาว 2014โอลิมปิกฤดูหนาว 2018โอลิมปิกฤดูหนาว 2022โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010เมลเบิร์น ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินแลนด์

ษาฟินแลนด์ เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Meänkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา Å-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) Ä-แอ Ö-เออวฺ โดยที่ตัว C Q W X Z และ Å ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษากรีก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาตาลา

ษากาตาลา (català) หรือ ภาษาแคทาแลน (Catalan) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาโรมานซ์ รวมทั้งเป็นภาษาประจำชาติของประเทศอันดอร์ราและภาษาราชการร่วมในแคว้นปกครองตนเองหมู่เกาะแบลีแอริก บาเลนเซีย (ในชื่อ ภาษาบาเลนเซีย) และกาตาลุญญาของประเทศสเปน มีผู้พูดหรือผู้รู้ภาษานี้ประมาณ 10 ล้านคน ซึ่งอาศัยทั้งในสเปน อันดอร์รา รวมไปถึงภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส (โดยเฉพาะในจังหวัดปีเรเน-ออเรียงตาล) และเมืองอัลเกโรบนเกาะซาร์ดิเนีย ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษากาตาลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสวีเดน

แผนที่แสดงบริเวณที่มีผู้พูดภาษาสวีเดน ภาษาสวีเดน (svenska) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ (หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของสวีเดน เป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของฟินแลนด์ (อีกภาษาหนึ่งคือภาษาฟินแลนด์) และเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งเป็นเขตการปกครองตนเองของฟินแลนด์ ภาษาสวีเดนสามารถใช้แทนกันกับภาษาสแกนดิเนเวียอีก 2 ภาษาคือ ภาษาเดนมาร์ก และภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดนมาตรฐาน เป็นภาษาประจำชาติที่วิวัฒนาการมาจากภาษาย่อยของสวีเดนกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีความมั่นคงในช่วงตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ภาษาย่อยตามภูมิภาคที่สืบมาจากภาษาพื้นเมืองในชนบทยังคงมีอยู่ ภาษาพูดและ ภาษาเขียน มีมาตรฐาน และมีอัตราความสามารถในการอ่านและเขียน 99% ในกลุ่มผู้ใหญ่ ภาษาพื้นเมืองบางภาษาต่างจากภาษามาตรฐานทั้งเรื่องไวยากรณ์และคำศัพท์ และไม่สามารถเข้าใจกับภาษาสวีเดนมาตรฐานได้เสมอไป ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้จะจำกัดเฉพาะพื้นที่ชนบทและส่วนใหญ่คนพูดเป็นคนกลุ่มน้อยที่มีความเคลื่อนไหวทางสังคมต่ำ ถึงแม้ว่าจะไม่สูญพันธุ์ในเร็ว ๆ นี้ ภาษาพื้นเมืองเหล่านี้ได้ถดถอยในช่วงศตวรรษที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าจะมีการวิจัยเป้นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นส่งเสริมการใช้ ภาษาสวีเดนมีลักษณะเด่นในเรื่องฉันทลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดต่าง ๆ มีทั้งเสียงเน้นที่ต่างกันตามแต่ละคำ และ เสียงวรรณยุกต์ ภาษาสวีเดนมีเสียงสระค่อนข้างมาก โดยที่มีเสียงสระถึง 9 เสียงที่ต่างกันด้วยความยาว และลักษณะเสียง ทำให้มีหน่วยเสียงสระ (vowel phoneme) ถึง 17 หน่วย นอกจากนี้ ภาษาสวีเดนยังมีเสียง voiceless dorso-palatal velar fricative ซึ่งสามารถพบได้ในภาษาพื้นเมืองหลายภาษา รวมถึงภาษามาตรฐานชั้นสูง และไม่ปรากฏในภาษาอื่น.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวีเนีย

ษาสโลวีเนีย (Slovenian language) หรือ ภาษาสโลวีน (Slovene language; slovenski jezik หรือ slovenščina) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้ มีผู้พูดอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคนทั่วโลก เป็นภาษาราชการของประเทศสโลวีเนีย และยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American English, AmE) เป็นกลุ่มของภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณสองในสามของเจ้าของภาษาอังกฤษอาศัยอยู่ในสหรัฐ พจนานุกรมเล่มแรกของภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน เขียนโดยโนอาห์ เว็บสเตอร์ ในปี ค.ศ. 1828 แสดงถึงข้อแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน และอังกฤษดั้งเดิมที่มาจากบริเตน ข้อแตกต่างที่เว็บสเตอร์เขียนรวมถึง การสะกดคำ เช่นคำว่า center แทนคำว่า centre และ color แทน colour และการอ่านออกเสียงต่าง ๆ ตัวอย่างคำศัพท์หลายคำที่มีต้นกำเนิดมาจากภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน ซึ่งได้แก่ OK (โอเค), blizzard (บลิซซาร์ด) และ teenager (วัยรุ่น) หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาถิ่น.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์เวย์

ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ ภาษาบุ๊กมอล (Bokmål) (หมายถึง "ภาษาหนังสือ") และ ภาษานือนอชก์ (Nynorsk) (หมายถึง "ภาษานอร์เวย์ใหม่") หมวดหมู่:สแกนดิเนเวีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษานอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเฟลมิช

ภาษาฟลามส์ (ดัตช์: Vlaams) หรือภาษาเฟลมิช (อังกฤษ: Flemish) เป็นภาษาถิ่นของชาวฟลามส์ ในฟลานเดอร์หรือเขตฟลามส์ของ ประเทศเบลเยียม ฟลามส์ไม่เชิงเป็นภาษา แต่เป็นสำเนียงหนึ่งของ ภาษาดัตช์มาตรฐาน (Algemeen Nederlands) ภาษาดัตช์เป็นหนึ่งใน 3 ภาษาราชการของเบลเยียม ใช้สื่อสารทั่วไปใน ฟลานเดอร์ และบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สต็อกโฮล์ม

ต็อกโฮล์ม (Stockholm) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลทิศตะวันออกของประเทศสวีเดน มีประชากรในเขตเทศบาลสต็อกโฮล์ม 909,000 คน ถ้านับเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบทั้งหมดจะมีประชากรประมาณ 2.2 ล้านคน สต็อกโฮล์มเป็นที่ตั้งของรัฐบาลสวีเดน และที่ประทับของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของสวีเดน.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและสต็อกโฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1920

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1924

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1928

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1932

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1936

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1948

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1956

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1956 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1960

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1960 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1964

อลิมปิกฤดูร้อน 1964 หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 15 เป็นงานแข่งขันกีฬาหลายประเภทระหว่างประเทศจัดขึ้นในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 2 ถึง 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1968

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1968 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1972

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1976

บีเวอร์ ''Amik'' เป็นมาสคอตประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1980

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 19 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1984

5ตยตจนนนัพไ ซึ่งสหภาพโซเวียตได้คว่ำบาตรการแข่งขันในปีนี้ ไม่ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน ส่วนหนึ่งเพื่อแก้คืนที่สหรัฐอเมริกาไ นบ่แจม่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิคครั้งก่อนที่กรุงมอสโก ในปี ค.ศ. 1980 ส่วนหนึ่งเป็นห่วงความปลอดภัยของนักกีฬาจากประเทศตน แต่บุคคลบางกลุ่มเชื่อว่าสหภาพโซเวียตเกรงว่านักกีฬาของตนจะไม่ผ่านการทดสอบสารกระตุ้น ซึ่งจะทำให้ทั่วโลกรู้ถึงที่มาแห่งชัยชนะทางการกีฬาของตน นักกีฬาที่มีชื่อเสียงจากการแข่งขันในปีนี้ได้แก่ Carl Lewis จากสหรัฐอเมริกาโดยสามารถครอง 4 เหรียญทองจากการแข่งขัน Mary lou Retton ครองเหรียญทองยิมนาสติกมากที่สุด นอกจากนั้นยังมี Greg Louanis ซึ่งเป็นนักกีฬาคนแรกที่สามารถครองเหรียญทอง 2 เหรียญทองพร้อมกันจากการแข่งขัน Springbroad และ Platform diving.

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1988

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1992

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1996

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2000

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2004

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2008

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2016

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 (Jogos Olímpicos de Verão de 2016) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 28 หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ รีโอ 2016 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ซึ่งจัดในที่นครรีโอเดจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 ถึง 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 (2020年夏季オリンピック) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 29 (第三十二回オリンピック競技大会) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ โตเกียว 2020 เป็นมหกรรมกีฬานานาชาติที่สำคัญในประเพณีโอลิมปิก ควบคุมโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ซึ่งจัดในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1924

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 1924 (Jeux olympiques d'hiver de 1924) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 1 (Les Iers Jeux olympiques d'hiver) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 1 จัดขึ้น ณ เมืองชามอนี ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ 25 มกราคม - 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1924 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1928

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1932

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1932 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1948

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 5 ประจำปี..1948 (พ.ศ. 2491) (V Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 5 จัดขึ้น ณ เมืองเซนท์มอริทซ์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 30 มกราคม -8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1948 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1956

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1956 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1960

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1960 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1964

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1964 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1968

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 10 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1968 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1972

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1972 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1976

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 12 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1976 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1980

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 13 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1980 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1984

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 14 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1984 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1988

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 15 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1988 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1992

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1992 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1994

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1998

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 18 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 1998 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2002

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 19 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2002 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2006

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 20 ประจำปี..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2006 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2010

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21 (XXI Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21 จัดขึ้น ณ เมืองแวนคูเวอร์ แคนาดา ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ถึง 28 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2014

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 (XXII Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 22 จัดขึ้น ณ เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ระหว่างวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ถึง 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2018

กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 (2018년 동계 올림픽) หรือชื่อที่เป็นทางการ กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 23 (평창 동계 올림픽) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ พย็องชัง 2018 เป็นมหกรรมกีฬาฤดูหนาวที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งจัดขึ้น ณ เมืองพย็องชัง, จังหวัดคังว็อน ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 9 - 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2022

ระวังสับสนกับ พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 (XXIV Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ถึง 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010

อลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010 มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า โอลิมปิกเยาวชนสิงคโปร์ 2010 เป็นมหกรรมกีฬาระหว่างประเทศสำหรับเยาวชนซึ่งจัดขึ้นในนครรัฐสิงคโปร์ ตั้งแต่วันที่ 14 ถึง 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและโอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน 2010 · ดูเพิ่มเติม »

เมลเบิร์น

Melbourne's CBD has grown to straddle the Yarra River in three major precincts. The northern area is Melbourne's central business district (left) and Southbank (right) pictured. นครเมลเบิร์น เมลเบิร์น (Melbourne, ออกเสียงว่า /ˈmel.bən/ หรือ /ˈmæl.bən/) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศออสเตรเลีย รองจากนครซิดนีย์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ มีประชากรประมาณ 3,806,092 คน (พ.ศ. 2549) เมลเบิร์นเป็นเมืองหลวงของรัฐวิกตอเรีย เมลเบิร์นก่อตั้งใน พ.ศ. 2378 (ค.ศ. 1835).

ใหม่!!: คำปฏิญาณโอลิมปิกและเมลเบิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกผู้ตัดสินที่กล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกนักกีฬาผู้กล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »