โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปรากฏการณ์ 2012

ดัชนี ปรากฏการณ์ 2012

ปรากฏการณ์ 2012 ประกอบด้วยขอบเขตความเชื่อทางโลกาวินาศศาสตร์ว่าจะมีเหตุการณ์อันนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงหรือวินาศภัยฉับพลันเกิดขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2012Sitler 2006Defesche 2007 ซึ่งวันนั้นกล่าวกันว่าเป็นวันสิ้นสุดของวัฏจักรปฏิทินแบบนับยาวเมโสอเมริกา 5,125 ปี มีการเสนอข้อสนับสนุนทางดาราศาสตร์และสูตรพยากรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวันดังกล่าวออกมาเป็นจำนวนมาก แต่ทั้งหมดล้วนไม่ได้รับการยอมรับจากวิชาการกระแสหลัก การเปลี่ยนผ่านนี้ ขบวนการยุคใหม่ตีความว่า วันนั้นเป็นจุดเริ่มต้นของเวลาซึ่งโลกและพลโลกอาจมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือทางจิตวิญญาณในทางบวก และวันที่ 21 ธันวาคม..

21 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2555รัฐฟลอริดาวิทยาลัยดาร์ตมัธศิลาจารึกสากลศักราชหลุมดำอวสานวิทยาอักษรมายาคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสตำนานน้ำท่วมโลกปฏิทินก่อนเกรโกเรียนประเทศฮอนดูรัสนักดาราศาสตร์นาซานิบิรุแบ็กทันโซลาร์แม็กซิมัมไมเคิล ดี. โคลเอกภพเดอะการ์เดียน21 ธันวาคม

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2056 (ค.ศ. 1513) ในช่วงเทศกาล "ปัสกวาโฟลรีดา" (Pascua Florida) หรือช่วงเทศกาลอีสเตอร์ของชาวสเปน วันปัสกวาโฟลรีดาจัดขึ้นในวันที่ 2 เมษายนของทุกปี และยังเป็นวันหยุดราชการด้วย ฟลอริดาเป็นหนึ่งในเจ็ดรัฐที่ไม่เก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรม.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และรัฐฟลอริดา · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยดาร์ตมัธ

ตึกเบเกอร์ มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธ วิทยาลัยดาร์ตมัธ (Dartmouth College) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในไอวีลีกในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง แฮนโอเวอร์ ในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ และเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่ก่อตั้งก่อนช่วงการปฏิวัติอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2312 (ค.ศ. 1769) โดยเงินทุนก่อตั้งมหาวิทยาลัยส่วนหนึ่งมาจากชาวอินเดียนแดงเผ่าโมฮีแกน โดยในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 5,600 คน มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธมีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ และบริหารธุรกิจ (ประจำปี 2552 ได้ถูกจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บว่า ในด้านบริหารธุรกิจเป็นอันดับสองของประเท.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และวิทยาลัยดาร์ตมัธ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาจารึก

ลาจารึกของอียิปต์โบราณ ศิลาจารึก เป็นวรรณกรรมชนิดลายลักษณ์อักษรอย่างหนึ่ง อาศัยการบันทึกบนเนื้อศิลา ทั้งชนิดเป็นแผ่น และเป็นแท่ง โดยใช้โลหะแหลมขูดเนื้อศิลาให้เป็นตัวอักษร เรียกว่า จาร หรือ การจารึก ศิลาจารึกมีคุณค่าในเชิงบันทึกทางประวัติศาสตร์ ผู้จารึกหรือผู้สั่งให้มีศิลาจารึกมักจะเป็นผู้มีอำนาจ มิใช่บุคคลทั่วไป เนื้อหาที่จารึกมีความหลากหลายตามความประสงค์ของผู้จารึก เช่น บันทึกเหตุการณ์ บันทึกเรื่องราวในศาสนา บันทึกตำรับตำราการแพทย์และวรรณคดี เป็นต้น จารึกบนแท่งศิลานั้นมีความคงทน คงสภาพอยู่ได้นับพันๆ ปี ด้วยเหตุนี้ นักประวัติศาสตร์และนักภาษาศาสตร์จึงสามารถสืบสานความรู้ย้อนไปได้นับพันๆ ปี โดยเฉพาะความรู้ด้านอักษร และภาษา ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา จารึกที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ ได้แก.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และศิลาจารึก · ดูเพิ่มเติม »

สากลศักราช

มัญศักราช ศักราชกลาง หรือ สากลศักราช (Common Era: CE) หรือ ปัจจุบันศักราช (Current Era: CE) เป็นระบบนับปี (ปีปฏิทิน) สำหรับปฏิทินเกรกอเรียนและปฏิทินจูเลียน ซึ่งนับปีตั้งแต่เริ่มยุคปัจจุบันเป็นต้นมา อันตรงกับคริสต์ศักราช (ค.ศ.) 1 ส่วนปีก่อนหน้านี้เรียกว่า ปีก่อนสามัญศักราช (before the Common/Current Era: BCE) ระบบสามัญศักราชสามารถใช้แทนระบบศักราชไดโอไนซัส (Dionysian era) ซึ่งแบ่งศักราชออกเป็น..

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และสากลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

หลุมดำ

มุมมองจำลองของหลุมดำด้านหน้าของทางช้างเผือก โดยมีมวลเทียบเท่าดวงอาทิตย์ 10 ดวงจากระยะทาง 600 กิโลเมตร หลุมดำ (black hole) หมายถึงเทหวัตถุในเอกภพที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้แต่แสง ยกเว้นหลุมดำด้วยกัน เราจึงมองไม่เห็นใจกลางของหลุมดำ หลุมดำจะมีพื้นที่หนึ่งที่เป็นขอบเขตของตัวเองเรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่ตำแหน่งรัศมีชวาร์สชิลด์ ถ้าหากวัตถุหลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ วัตถุจะต้องเร่งความเร็วให้มากกว่าความเร็วแสงจึงจะหลุดออกจากขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ แต่เป็นไปไม่ได้ที่วัตถุใดจะมีความเร็วมากกว่าแสง วัตถุนั้นจึงไม่สามารถออกมาได้อีกต่อไป เมื่อดาวฤกษ์ที่มีมวลมหึมาแตกดับลง มันอาจจะทิ้งสิ่งที่ดำมืดที่สุด ทว่ามีอำนาจทำลายล้างสูงสุดไว้เบื้องหลัง นักดาราศาสตร์เรียกสิ่งนี้ว่า "หลุมดำ" เราไม่สามารถมองเห็นหลุมดำด้วยกล้องโทรทรรศน์ใดๆ เนื่องจากหลุมดำไม่เปล่งแสงหรือรังสีใดเลย แต่สามารถตรวจพบได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ และคลื่นโน้มถ่วงของหลุมดำ (ในเชิงทฤษฎี โครงการแอลไอจีโอ) และจนถึงปัจจุบันได้ค้นพบหลุมดำในจักรวาลแล้วอย่างน้อย 6 แห่ง หลุมดำเป็นซากที่สิ้นสลายของดาวฤกษ์ที่ถึงอายุขัยแล้ว สสารที่เคยประกอบกันเป็นดาวนั้นได้ถูกอัดตัวด้วยแรงดึงดูดของตนเองจนเหลือเป็นเพียงมวลหนาแน่นที่มีขนาดเล็กยิ่งกว่านิวเคลียสของอะตอมเดียว ซึ่งเรียกว่า ภาวะเอกฐาน หลุมดำแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ หลุมดำมวลยวดยิ่ง เป็นหลุมดำในใจกลางของดาราจักร, หลุมดำขนาดกลาง, หลุมดำจากดาวฤกษ์ ซึ่งเกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์, และ หลุมดำจิ๋วหรือหลุมดำเชิงควอนตัม ซึ่งเกิดขึ้นในยุคเริ่มแรกของเอกภพ แม้ว่าจะไม่สามารถมองเห็นภายในหลุมดำได้ แต่ตัวมันก็แสดงการมีอยู่ผ่านการมีผลกระทบกับวัตถุที่อยู่ในวงโคจรภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น หลุมดำอาจจะถูกสังเกตเห็นได้โดยการติดตามกลุ่มดาวที่โคจรอยู่ภายในศูนย์กลางหลุมดำ หรืออาจมีการสังเกตก๊าซ (จากดาวข้างเคียง) ที่ถูกดึงดูดเข้าสู่หลุมดำ ก๊าซจะม้วนตัวเข้าสู่ภายใน และจะร้อนขึ้นถึงอุณหภูมิสูง ๆ และปลดปล่อยรังสีขนาดใหญ่ที่สามารถตรวจจับได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่โคจรอยู่รอบโลก การสำรวจให้ผลในทางวิทยาศาสตร์เห็นพ้องต้องกันว่าหลุมดำนั้นมีอยู่จริงในเอกภพ แนวคิดของวัตถุที่มีแรงดึงดูดมากพอที่จะกันไม่ให้แสงเดินทางออกไปนั้นถูกเสนอโดยนักดาราศาสตร์มือสมัครเล่นชาวอังกฤษ จอห์น มิเชล ในปี 1783 และต่อมาในปี 1795 นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ปีแยร์-ซีมง ลาปลาส ก็ได้ข้อสรุปเดียวกัน ตามความเข้าใจล่าสุด หลุมดำถูกอธิบายโดยทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ซึ่งทำนายว่าเมื่อมีมวลขนาดใหญ่มากในพื้นที่ขนาดเล็ก เส้นทางในพื้นที่ว่างนั้นจะถูกทำให้บิดเบี้ยวไปจนถึงศูนย์กลางของปริมาตร เพื่อไม่ให้วัตถุหรือรังสีใดๆ สามารถออกมาได้ ขณะที่ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไปอธิบายว่าหลุมดำเป็นพื้นที่ว่างที่มีความเป็นภาวะเอกฐานที่จุดศูนย์กลางและที่ขอบฟ้าเหตุการณ์บริเวณขอบ คำอธิบายนี่เปลี่ยนไปเมื่อค้นพบกลศาสตร์ควอนตัม การค้นคว้าในหัวข้อนี้แสดงให้เห็นว่านอกจากหลุมดำจะดึงวัตถุไว้ตลอดกาล แล้วยังมีการค่อย ๆ ปลดปล่อยพลังงานภายใน เรียกว่า รังสีฮอว์คิง และอาจสิ้นสุดลงในที่สุด อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับหลุมดำที่ถูกต้องตามทฤษฎีควอนตัม.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และหลุมดำ · ดูเพิ่มเติม »

อวสานวิทยา

อวสานวิทยา หรือ โลกาวินาศศาสตร์ (Eschatology) เป็นการศึกษาเหตุการณ์ที่จะเป็นจุดสิ้นสุดของประวัติศาสตร์โลก หรือชะตากรรมสุดท้ายของมนุษยชาติ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงการสิ้นสุดของทั้งจักรวาล.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และอวสานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรมายา

อักษรมายา (Mayan script) อารยธรรมมายาอยู่ในช่วง..

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และอักษรมายา · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ. 1451 เสียชีวิตวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506) เป็นนักทำแผนที่ นักสำรวจ นักเดินเรือ และพ่อค้า เชื่อกันว่าน่าจะเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว "Christopher Columbus." Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานน้ำท่วมโลก

''The Deluge'' (น้ำท่วมใหญ่) โดย กุสตาฟว์ ดอเร ตำนาน น้ำท่วมโลกครั้งใหญ่ ที่ทำให้เกิดโดยพระเจ้าหรือเทพเจ้า เพื่อทำลายล้างอารยธรรม โดยเป็นการลงโทษความบาปของมนุษย์ เพื่อเริ่มต้นอารยธรรมใหม่ ๆ ที่ส่งผลมายังปัจจุบัน ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เป็นประเด็นที่ปรากฏอยู่แพร่หลายในตำนานของวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และตำนานน้ำท่วมโลก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินก่อนเกรโกเรียน

ปฏิทินก่อนเกรโกเรียน เป็นการต่อปฏิทินเกรโกเรียนย้อนหลังไปในอดีตก่อนการใช้ปฏิทินเกรโกเรียนอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และปฏิทินก่อนเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

นักดาราศาสตร์

''กาลิเลโอ'' ผู้ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นบิดาของนักดาราศาสตร์ยุคใหม่ นักดาราศาสตร์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับดาราศาสตร์หรือฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แต่เดิมมาในอดีตกาล นักดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ หรือนักปรัชญา มักจะเป็นบุคคลคนเดียวกัน เพราะเป็นผู้สืบหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ ต่อมาผู้ที่ให้ความสนใจกับปรากฏการณ์บนท้องฟ้าเป็นพิเศษ จึงเรียกเฉพาะเจาะจงไปว่าเป็น "นักดาราศาสตร์" หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และนักดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นิบิรุ

นิบิรุ (Nibiru บ้างก็สะกดว่า Neberu) เป็นชื่อทางโหราศาสตร์ของดาวพฤหัสบดีในวัฒนธรรมบาบิโลเนีย เป็นคำในภาษาอัคคาเดียน มีความหมายว่า "จุดตัด" หรือ "จุดหักเห" โดยมากใช้กับแม่น้ำ ในการศึกษาดาราศาสตร์ของชาวบาบิโลน คำว่า นิบิรุ (สะกดในอักษรคูนิฟอร์มว่า dné-bé-ru or MULni-bi-rum) ใช้ในความหมายถึงจุดสูงสุดของสุริยะคาบ เช่น จุดครีษมายันกับกลุ่มดาวที่เกี่ยวข้อง หลักฐานเกี่ยวกับจุด นิบิรุ มีบรรยายอยู่ในจารึกแผ่นที่ 5 ของมหากาพย์ว่าด้วยการสร้างโลก Enûma Eliš ดังนี้ เนื่องจากเป็นตำแหน่งสูงสุดบนเส้นทางโคจรของดาวเคราะห์ นิบิรุ จึงถูกมองว่าเป็นที่นั่งของ summus deus ผู้ไล่ต้อนดวงดาวไปเหมือนกับฝูงแกะ เทียบได้กับ มาร์ดุค ในตำนานของบาบิโลน.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และนิบิรุ · ดูเพิ่มเติม »

แบ็กทัน

แบ็กทัน (baktun หรือ b'ak'tun) เป็นวัฏจักรยาว 20 คาทันของปฏิทินแบบนับยาวมายา ประกอบด้วย 144,000 วัน หรือตรงกับ 394.25 ปีทางสุริยคติ ยุคคลาสสิกของอารยธรรมมายาเกิดขึ้นระหว่างแบ็กทันที่ 8 และที่ 9 ของวัฏจักรแบ็กทันปัจจุบัน แบ็กทันปัจจุบัน (คือ แบ็กทันที่ 13) จะสิ้นสุดลงหรือวนมาบรรจบเมื่อ 13.0.0.0.0 (21 ธันวาคม ค.ศ. 2012 คำนวณจากความสัมพันธ์กันกับเวลามาตรฐานกรีนิช) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแบ็กทันที่ 14 อันเป็นคำที่มักจะใช้กันในหมู่มายันนิสต.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และแบ็กทัน · ดูเพิ่มเติม »

โซลาร์แม็กซิมัม

มวัฏจักรสุริยะล่าสุด โซลาร์แม็กซิมัม (solar maximum) หรือ โซลาร์แม็กซ์ (solar max) เป็นช่วงเวลาที่มีปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์สูงที่สุดในวัฏจักรสุริยะ ระหว่างโซลาร์แม็กซิมัม จุดดับบนดวงอาทิตย์จะปรากฏ โซลาร์แม็กซิมัมเป็นช่วงเวลาที่เส้นสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์บิดเบี้ยวไปมากที่สุดเนื่องจากสนามแม่เหล็กบนเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์หมุนด้วยอัตราเร็วกว่าขั้วดวงอาทิตย์เล็กน้อย วัฏจักรสุริยะแต่ละวัฏจักรกินเวลาเฉลี่ย 11 ปี โดยผลที่ได้จากการสังเกตพบว่าอยู่ระหว่าง 9 ถึง 14 ปีในวัฏจักรสุริยะใ.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และโซลาร์แม็กซิมัม · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ดี. โคล

มเคิล ดี.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และไมเคิล ดี. โคล · ดูเพิ่มเติม »

เอกภพ

อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ที่ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน เอกภพ หรือ จักรวาล โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้งดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาราจักร สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และสสารและพลังงานทั้งหมด การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9,999 ล้านปีแสง นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ทฤษฎีบิกแบงเป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13,700 ล้านปีก่อน มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับพหุภพ ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของเอกภพ แผนภาพตำแหน่งของโลกในสถามที่ต่างๆของเอก.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะการ์เดียน

อะการ์เดียน (The Guardian) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันฝ่ายซ้ายกึ่งสายกลางแห่งชาติอังกฤษ ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และเดอะการ์เดียน · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปรากฏการณ์ 2012และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ปรากฎการณ์ 2012

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »