โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ดัชนี ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

132 ความสัมพันธ์: บริเตนใหญ่บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันชาร์เลอมาญชาวแฟรงก์ชาวแองโกล-แซกซันชาวแซกซันชาวไวกิงชนชั้นทางสังคมชนชั้นขุนนางชนเดนส์ฟรีเซียนพ.ศ. 1762พ.ศ. 2352พระสันตะปาปาพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ดพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพระเจ้าฮาร์ธาคนุตพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตพระเจ้าคนุตมหาราชพระเจ้าแอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีพรุกรีนแลนด์กลุ่มชนเจอร์แมนิกกวางมูสกวางแดงกวางเรนเดียร์กอลการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันการพิจารณาคดีโดยใช้วิธีทรมานภาษาอังกฤษเก่าภาษาเดนมาร์กภาคคริสตจักรมรณสักขีในศาสนาคริสต์มหากาพย์มิชชันนารีมนุษย์พรุพีตมนุษย์โทลลุนด์ยอร์กยุคหินเก่ายุโรปตะวันตกยุโรปเหนือรอสกิลด์รัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรอังกฤษ...ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ราชอาณาจักรเดนมาร์กราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์กลุนด์ศาสนาคริสต์สมัยกลางสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสหประชาชาติสันนิบาตฮันเซอสารานุกรมบริตานิกาสงครามกลางเมืองสงครามครูเสดสงครามโลกครั้งที่สองสแกนดิเนเวียหมูป่าหมู่เกาะแฟโรอภิชนาธิปไตยออทโทที่ 1 มหาราชอักษรรูนอัศวินทิวทอนิกฮัมบวร์คฮ็อลชไตน์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิลจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธาจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิเยอรมันจักรวรรดิเคียฟรุสธงชาติเดนมาร์กทรอนด์เฮมทะเลบอลติกทะเลเหนือทันดราดัชชีชเลสวิจดัชชีพอเมอเรเนียคอนสแตนติโนเปิลคาบสมุทรจัตแลนด์ประวัติศาสตร์ยุโรปประเทศฝรั่งเศสประเทศยูเครนประเทศรัสเซียประเทศสกอตแลนด์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสวีเดนประเทศสเปนประเทศอังกฤษประเทศอิตาลีประเทศนอร์เวย์ประเทศโปรตุเกสประเทศไอร์แลนด์ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศเบลเยียมประเทศเยอรมนีประเทศเอสโตเนียประเทศเดนมาร์กประเทศเนเธอร์แลนด์ปลาเฮร์ริงนอร์ม็องดีนาซีเยอรมนีแม่น้ำนีเปอร์แม่น้ำไรน์แม่น้ำเทมส์แร่โรมโรมันคาทอลิกโคเปนเฮเกนเบรเมินเบวูล์ฟเกษตรกรรมเกาะนิวฟันด์แลนด์เกาะเชลลันด์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเทพปกรณัมนอร์สเดนลอว์เคนต์ ขยายดัชนี (82 มากกว่า) »

บริเตนใหญ่

ริเตนใหญ่ (Great Britain) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะบริติช ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของภาคพื้นทวีปยุโรป มีเกาะไอร์แลนด์ตั้งอยู่ทางตะวันตก เกาะบริเตนใหญ่เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป ล้อมรอบด้วยเกาะเล็กนับร้อยเกาะ บริเตนใหญ่เนื้อที่ส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักร เป็นที่ตั้งของอังกฤษ สกอตแลนด์ และเวลส์ บริเตนใหญ่เป็นเกาะที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากเกาะชวาและเกาะฮนชู คำว่าบริเตนใหญ่บางครั้งใช้ในความหมายของสหราชอาณาจักร ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของอังกฤษและสกอตแลนด์ในช่วงพ.ศ. 2250–2344 ก่อนที่นอร์เทิร์นไอร์แลนด์จะเข้าร่วม เป็นสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และนอร์เทิร์นไอร์แลน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน

ันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxon Chronicle) เป็นชุดหนังสือรายปีที่เขียนด้วยภาษาอังกฤษเก่า เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาวแองโกล-แซกซัน เขียนขึ้นราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 อาจจะที่เวสเซ็กซ์ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช หลังจากนั้นต้นฉบับก็ถูกส่งไปตามอารามต่างๆ ทั่วอังกฤษ แต่ละอารามต่างก็แก้ไขเพิ่มเติมต่อมาเรื่อย ๆ ในกรณีหนึ่งบันทึกถูกเพิ่มเติมมาจนถึงปี ค.ศ. 1154 ในปัจจุบันบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซันมีเหลืออยู่ 9 ฉบับทั้งสมบูรณ์และเหลือแต่บางส่วน คุณค่าของแต่ละฉบับก็ต่างกันใน 9 ฉบับนี้ไม่มีฉบับใดที่เป็นฉบับดั้งเดิมแท้ ๆ ฉบับที่เก่าที่สุดสันนิษฐานกันว่าเริ่มเขียนราวปลายรัชสมัยของพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช และฉบับล่าสุดเป็นฉบับที่เขียนที่มหาวิหารปีเตอร์บะระหลังจากไฟใหม้อารามในปี ค.ศ. 1116 เนึ้อหาของบันทึกเป็นการบันทึกเหตุการณ์ประจำปี เหตุการณ์ปีแรกที่สุดที่บันทึกคือปี 60 ก่อนคริสต์ศักราชมาจนถึงปีที่เขียน ต่อจากนั้นเนื้อหาก็เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของการเขียน บันทึกต่าง ๆ เหล่านี้เรียกรวมกันว่า “บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน” เนื้อหาของบันทึกไม่เป็นกลางนักในบางบันทึกเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเอกสารจากสมัยกลางอื่น ๆ จะพบว่าผู้เขียนละเว้นเหตุการณ์บางเหตุการณ์ หรือเขียงจากมุมมองของผู้เขียน หรือบางฉบับก็จะแตกต่างจากฉบับอื่นเมื่อกล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันหรือข้อมูลที่บันทึกขัดแย้งกันเอง แต่เมื่อพิจารณาโดยทั่วไปแล้วพงศาวดารเป็นหลักฐานชิ้นที่สำคัญที่สุดทางประวัติศาสตร์ระหว่างสมัยโรมันหมดอำนาจในอังกฤษไปจนถึงการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน ข้อมูลที่บันทึกในพงศาวดารไม่พบในเอกสารอื่นใด นอกจากนั้นบันทึกยังเป็นเอกสารชิ้นสำคัญของประวัติศาสตร์ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะฉบับที่เขียนที่ปีเตอร์บะระซึ่งเป็นตัวอย่างแรกที่สุดของภาษาอังกฤษสมัยกลาง เจ็ดในเก้าฉบับปัจจุบันเก็บรักษาไว้หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (British Library) อึกสองฉบับอยู่ที่หอสมุดบอดเลียนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและวิทยาลัยคอร์พัสคริสติของมหาวิทยาลัยเคมบร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและบันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์เลอมาญ

ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชาร์เลอมาญ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชาวแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแองโกล-แซกซัน

ราชอาณาจักรแองโกล-แซกซัน ราว ค.ศ. 600 หมวกนักรบที่พบในซัตตันฮูที่อาจจะเป็นของเรดวอลดแห่งอีสแองเกลีย (Raedwald of East Anglia) (ราว ค.ศ. 625) ออกแบบตามแบบหมวกนักรบของโรมันและตกแต่งแบบหมวกนักรบของสวีเด็นที่ทำในสมัยเดียวกันที่โอลด์อุพพ์ซาลา แองโกล-แซกซัน (Anglo-Saxons) เป็นคำที่ใช้เรียกชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้และตะวันออกของสหราชอาณาจักรระหว่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 จนกระทั่งถึงการรุกรานของนอร์มัน ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชาวแองโกล-แซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแซกซัน

รูปแกะนูนแซกซันของ "irminsul" ที่เชื่อกันว่าเชื่อมระหว่างโลกกับสวรรค์ที่เอ็กซ์เทิร์นชไตเนอ (Externsteine) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซัน (Saxon; Sachsen; ละติน: Saxones) คือกลุ่มชนเผ่าเจอร์แมนิก ในปัจจุบันเป็นบรรพบุรุษของชนทางภาคเหนือของประเทศเยอรมนีที่เรียกว่าชาวเยอรมัน, ชนทางภาคตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาวดัตช์ และชนทางภาคใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าชาวอังกฤษ ที่ตั้งถิ่นฐานเดิมที่สุดเท่าที่ทราบของชาวแซกซันคือบริเวณทางตอนเหนือของอัลบินเจียในบริเวณฮ็อลชไตน์ (Holstein) ทางตอนเหนือสุดของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซันมีบทบาทสำคัญในการตั้งถิ่นฐานในอังกฤษโดยเฉพาะทางภาคใต้ที่ประชาชนที่อยู่อาศัยในปัจจุบันเชื่อกันว่าสีบเชี้อสายมาจากชาวแซกซันโบราณ ระหว่างสองร้อยปีที่ผ่านมาชาวแซกซันก็ไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกา และในบริเวณที่เป็นสหภาพโซเวียตแต่เดิม ซึ่งในบางชุมชน ชาวแซกซันยังรักษาประเพณีและภาษาของตนที่เรียกกันทั่วไปว่า "ชาวเยอรมัน" และ "ชาวดัตช์" ความมีอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวแซกซันที่มีต่อบริเวณสแกนดิเนเวีย บริเวณบอลติก และต่อชาวโพเลเบียและชาวพอเมอเรเนียซึ่งเป็นชนสลาฟตะวันตก เป็นผลมาจากเส้นทางการค้าในยุคกลางของสันนิบาตฮันเซียติก ทอเลมีเป็นนักภูมิศาสตร์กรึกคนแรกที่กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานของชาวแซกซันยุคก่อนคริสเตียนว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนทางใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์, แคว้นแซกโซนีเก่า, และบางส่วนทางตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาวแซกซันเป็นส่วนหนึ่งของผู้รุกรานมณฑลบริตันนิอา (Britannia) ของจักรวรรดิโรมัน ชนเผ่าหนึ่งของชาวเจอร์แมนิกที่รุกรานคือ ชาวแองเกิล ซึ่งเมื่อรวมกับ "แซกซัน" จึงกลายเป็นคำว่า "แองโกล-แซกซัน" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชาวแซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นทางสังคม

นชั้นทางสังคม หรือเรียกเพียง ชนชั้น เป็นกลุ่มมโนทัศน์ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์และทฤษฎีการเมืองซึ่งมีศูนย์กลางที่แบบจำลองการจัดชั้นภูมิทางสังคมซึ่งบุคคลถูกจัดอยู่ในกลุ่มหมวดหมู่สังคมลำดับชั้น ชนชั้นสามัญที่สุด คือ ชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนชั้นล่าง ชนชั้นเป็นวัตถุสำคัญแห่งการวิเคราะห์สำหรับนักสังคมวิทยา นักรัฐศาสตร์ นักมานุษยวิทยาและนักประวัติศาสตร์สังคม อย่างไรก็ดี ไม่มีการเห็นพ้องต้องกันว่านิยามที่ดีที่สุดของคำว่า "ชนชั้น" คืออะไร และคำนี้มีหลายความหมายบริบท ในสำนวนพูดทั่วไป คำว่า "ชนชั้นทางสังคม" โดยทั่วไปพ้องกับ "ชนชั้นทางสังคม-เศรษฐกิจ" ซึ่งนิยามว่าเป็น "บุคคลที่มีสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจหรือการศึกษาเท่ากัน" เช่น ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นวิชาชีพอุบัติใหม่ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 คำว่า "ชนชั้น" เริ่มเป็นวิธีหลักในการจัดระเบียบสังคมเป็นการแบ่งลำดับชั้นแทนการจำแนกประเภทอย่างฐานันดร ยศและลำดับ ซึ่งสัมพันธ์กับการให้ความสำคัญกับคุณลักษณะที่ตกทอดมาลดลงโดยทั่วไป และให้ความสำคัญกับความมั่งคั่งและรายได้เพิ่มขึ้นเป็นตัวชี้วัดฐานะในลำดับชั้นทางสังคม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชนชั้นทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นขุนนาง

นชั้นขุนนางในโปแลนด์ ช่วงค.ศ. 1697-1795 งานเลี้ยงของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในออสเตรีย ค.ศ. 1904 ชนชั้นขุนนาง (nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่างๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นปกครอง แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป ขุนนางจีนสมัยราชวงศ์หมิง แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศัก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชนชั้นขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

ชนเดนส์

นเดนส์ (Danes) เป็นชนเจอร์มานิคที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางใต้ของสวีเดนในปัจจุบันและเกาะของเดนมาร์กและต่อมาในคาบสมุทรจัตแลนด์ และกล่าวถึงโดยจอร์แดนนักประวัติศาสตร์ชาวโรมันในหนังสือ “Getica”, โดยนักปราชญ์โพรโคเพียส (Procopius) และโดยนักบุญเกรกอรีแห่งทัวร์ส ในการบรรยายถึงกลุ่มชนสแกนด์ซา (Scandza) ในสแกนดิเนเวียจอร์แดนกล่าวถึงชน “Dani” ว่าเป็นกลุ่มเดียวกับ “Suetidi” (ชนสวีด (สวีเดน) หรือ “Svitjod”?) และเป็นกลุ่มชนที่ขับไล่และยึดที่ดินของชน “Heruli” เสวน แอกเกเสน (Svend Aggesen) นักประพันธ์จากคริสต์ศตวรรษที่ 12 กล่าวถึงกษัตริย์แดนผู้ที่เป็นที่มาของชื่อชนกลุ่มนี้ “เดนส์”.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและชนเดนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีเซียน

ฟรีเซียน (Frisians) คือชาติพันธุ์หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามริมฝั่งทะเลของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนี ส่วนใหญ่อยู่กันหนาแน่นในจังหวัดฟรีสแลนด์ และโกรนิงเกนในเนเธอร์แลนด์ และในบริเวณฟรีเซียตะวันออก และ ฟรีเซียเหนือในเยอรมนี ฟรีเซียนตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่เรียกว่าฟรีเซี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและฟรีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1762

ทธศักราช 1762 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพ.ศ. 1762 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ (William I of England) หรือพระเจ้าวิลเลียมผู้พิชิต (William the Conqueror) หรือพระเจ้าวิลเลียมแห่งนอร์ม็องดี (William II of Normandy) หรือบ้างเรียก พระเจ้าวิลเลียมลูกนอกสมรส (William the Bastard) พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ประสูติเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1027 (พ.ศ. 1570) และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1087 (พ.ศ. 1630) ทรงเป็นลูกนอกสมรสของโรเบิร์ตที่ 2 ดยุกแห่งนอร์ม็องดีและเฮอร์เลวา เดิมทรงมีฐานะเป็นดยุกแห่งนอร์ม็องดีในฝรั่งเศส เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1066 (พ.ศ. 1609) หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขีสิ้นพระชนม์เมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด

มเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด หรือ สมเด็จพระเจ้าสเวนที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (Sweyn I Forkbeard หรือ Sweyn Forkbeard) (ราว ค.ศ. 960 - ค.ศ. 1014) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ราชอาณาจักรนอร์เวย์ และ ราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ราว ค.ศ. 960 ในประเทศเดนมาร์กปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าฮารัลด์ที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (ฮาราลด์ บลูทูธ) และ กิริธ โอลาฟสดอทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับกันฮิลด์แห่งเว็นเด็นและต่อมาอาจจะกับซิกริดผู้ทรนง และทรงราชย์บัลลังก์เดนมาร์กระหว่างค.ศ. 986 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014, ราชย์บัลลังก์นอร์เวย์ระหว่างค.ศ. 999 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 และ ราชย์บัลลังก์อังกฤษระหว่างค.ศ. 1014 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด ทรงมีหลายพระนาม ในพงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน (Anglo-Saxon Chronicles) ใช้ “Sven the Dane” หรือ “Swegen” หรือ “Tuck”; ในภาษานอร์เวย์โบราณ “Sveinn Tjúguskegg”; ในภาษานอร์เวย์ “Svein Tjugeskjegg”; ในภาษาสวีเดน “Sven Tveskägg”; ในภาษาเดนมาร์ก “Svend Tveskæg” จาก “Tjugeskæg” เดิม หรือ “Tyvskæg” พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดทรงเป็นผู้นำไวกิงและเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 1พระราชบิดาเสด็จสวรรคตราวปลายปี ค.ศ. 986 หรือต้นปี ค.ศ. 987 สเวน ฟอร์คเบียร์ดก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งเดนมาร์ก ในปี ค.ศ. 1000 ทรงเป็นพันธมิตรกับ Trondejarl Erik of Lade ซึ่งทำให้ได้ครองราชอาณาจักรนอร์เวย์เกือบทั้งหมด และเมื่อไม่นานก่อนที่จะเสด็จสวรรคตก็ได้รับชัยชนะต่ออังกฤษและได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษในปี ค.ศ. 1013 ในเดือนสุดท้ายก่อนที่จะเสด็จสวรรคตเป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิทะเลเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 871 พระเจ้าอัลเฟรดทรงมีชื่อเสียงในการป้องกันราชอาณาจักร จากการรุกรานของชาวไวกิงจากเดนมาร์ก และเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษพระองค์เดียวที่รับสมญานามว่า “มหาราช” พระเจ้าอัลเฟรดทรงเป็นกษัตริย์แห่งแซกซันตะวันตกพระองค์แรก ที่ทรงแสดงพระองค์ว่าเป็นกษัตริย์แห่งชาวแองโกล-แซกซัน ทรงเป็นผู้มีการศึกษาดี และทรงส่งเสริมการศึกษาและปรับปรุงทางด้านกฎหมายในราชอาณาจักรและระบบการทหาร พระราชประวัติของพระองค์ถูกกล่าวถึงในงานเขียนของแอสเซอร์ (Asser) นักปราชญ์ชาวเวล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาร์ธาคนุต

ระเจ้าฮาร์ธาคนุต หรือ พระเจ้าคนุตที่ 3 แห่งเดนมาร์ก (Harthacanute หรือ Canute the Hardy หรือ Hardecanute; Hörthaknútr หรือ Hardeknud) (ค.ศ. 1018 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ และ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สมเด็จพระเจ้าฮาร์ธาคนุต เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 1018 เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคนุตมหาราช และ เอ็มมาแห่งนอร์ม็องดี สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ และทรงราชบัลลังก์เดนมาร์กระหว่างปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1042 และราชบัลลังก์อังกฤษระหว่างวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตได้รับราชบัลลังก์เดนมาร์กเมื่อปี ค.ศ. 1035 หลังจากที่พระราชบิดาพระเจ้าคนุตมหาราชเสด็จสวรรคต แต่การรุกรานของพระเจ้าแม็กนัสที่ 1 แห่งนอร์เวย์ทำให้ไม่ทรงสามารถมารับราชบัลลังก์อังกฤษได้ ทางอังกฤษจึงตกลงยกพระราชบัลลังก์ให้ฮาโรลด์ แฮร์ฟุตพระเชษฐาต่างพระมารดาผู้เป็นพระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าคนุตมหาราชเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชั่วคราว แต่พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตทรงยึดราชบัลลังก์เป็นของพระองค์เองในปี ค.ศ. 1037 ฮาร์ธาคนุต “ถูกทิ้งเพราะไปอยู่เสียไกลในเดนมาร์ก”The Anglo-Saxon Chronicle — และเอ็มมาแห่งนอร์ม็องดีพระราชมารดาของฮาร์ธาคนุตผู้ที่ประทับอยู่ที่วินเชสเตอร์กับกองทหารของฮาร์ธาคนุตก็ทรงถูกบังคับให้หนีไปบรูจส์ (Bruges) ในฟลานเดอร์ส พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงสงบศึกกับทางสแกนดิเนเวียด้วยสนธิสัญญาที่ทรงทำกับพระเจ้าแม็กนัสราวปี ค.ศ. 1038 หรือ ค.ศ. 1039 โดยตกลงกันว่าถ้าคนหนี่งคนใดตายดินแดนของผู้ที่ตายไปก็จะตกไปเป็นของผู้ที่มีชีวิตอยู่ หลังจากนั้นพระเจ้าฮาร์ธาคนุตก็เตรียมการรุกรานอังกฤษเพื่อที่จะไปปลดพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตจากราชบัลลังก์ แต่พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตเสด็จสวรรคตเสียก่อนเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตจึงได้รับการอัญเชิญจากอังกฤษ ทรงขึ้นฝั่งอังกฤษที่แซนด์วิชในเค้นท์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1040 พร้อมกับเรือรบ 62 ลำ เมื่อเสด็จมาถึงก็มีพระราชโองการให้ขุดร่างของพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตขึ้นมาแล้วเอาไปโยนทิ้ง พระเจ้าฮาร์ธาคนุตเป็นพระมหากษัตริย์ที่โหดร้ายและไม่เป็นที่นิยม ทรงเรียกเก็บภาษีอย่างหนักเพื่อที่ทรงใช้ในการบำรุงกองทัพเรือของพระองค์ ในปี ค.ศ. 1041 ชาววูสเตอร์สังหารทหารสองคนของพระเจ้าฮาร์ธาคนุตที่มาเก็บภาษี พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงตอบโต้โดยการเผาเมือง เกี่ยวกับเรื่องภาษีมีตำนานเล่ากันว่าเลดี้โกไดวาเปลือยร่างขี่ม้ารอบเมืองโคเวนทรีเพื่อเรียกร้องให้เอิร์ลลดภาษีที่พระเจ้าฮาร์ธาคนุตสั่งให้เก็บ พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน (Anglo-Saxon Chronicle) กล่าวถึงพระองค์อย่างผ่านๆ ว่าไม่ทรงประสบความสำเร็จอะไรในฐานะพระเจ้าแผ่นดินระหว่างเวลาที่ทรงครองราชย์ นอกจากนั้นก็ยังกล่าวว่าในปี ค.ศ. 1041 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงละเมิดสัญญาและทรยศต่อเอิร์ลเอดวูลฟแห่งนอร์ทธัมเบรียผู้อยู่ในความคุ้มครองของพระองค์ ในปี ค.ศ. 1041 พระเจ้าฮาร์ธาคนุตทรงอัญเชิญพระอนุชาต่างพระบิดาสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ กลับจากการลี้ภัยในนอร์ม็องดีมาอยู่ในราชสำนักของพระองค์และคงคิดจะตั้งเอ็ดเวิร์ดให้เป็นรัชทายาทด้วย พระเจ้าฮาร์ธาคนุตมิได้ทรงเสกสมรสและไม่มีพระราชโอรสธิดา แต่ก็มีข่าวลือว่ามีพระโอรสนอกสมรส วิลเลียม คนุต พระเจ้าฮาร์ธาคนุตเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1042 ที่แลมเบ็ธ พระบรมศพถูกฝังไว้ที่วินเชสเตอร์ที่เดียวกับพระราชบิดาและพระราชมารดา เอ็ดเวิร์ดขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ ฟื้นฟูราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของแซ็กซอน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าฮาร์ธาคนุต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน (Harold Godwinson หรือ Haraldur Guðinason) (ราว ค.ศ. 1022 – 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์และพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1022 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของกอดวิน เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ และ กีธา ธอร์เคลสเดิทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับเอลด์จิธ สวอนเน็ค และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1066 จนทรงถูกสังหารในยุทธการเฮสติงส์ แบตเติล เมื่อทรงพยายามต่อต้านกองทัพของดยุคแห่งนอร์มังดีที่ยกมารุกรานอังกฤษ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 หลังจากที่พระเจ้าฮาโรลด์เสด็จสวรรคต สภาวิททันก็ประกาศให้สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง ขึ้นครองราชสมบัติต่อมาแต่มิได้ทรงสวมมงก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต (Harold Harefoot หรือ Harold I) (ราว ค.ศ. 1015 – 17 มีนาคม ค.ศ. 1040) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ระหว่าง วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1035 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1040 พระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุตเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1015 เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช และ เอลกิฟูแห่งนอร์ทแธมตัน แต่ความเชื่อที่ว่าเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าคานูทจริงก็ไม่เป็นที่แน่นอนThe Anglo-Saxon Chronicle, 1035-40, M. Swanton translation (1996).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าฮาโรลด์ แฮร์ฟุต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคนุตมหาราช

ระเจ้าคนุตมหาราช (Canute the Great หรือ Cnut the Great; นอร์สโบราณ: Knútr inn ríki; Knut den mektige; Knut den Store; Knud den Store) หรือ คานุต กษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ปี..1016 เดนมาร์ตั้งแต่ปี..1018 และสวีเดนตั้งแต่ปี..1028 พระองค์เริ่มต้นชีวิตวัยหนุ่มด้วยการเป็นนักรบไวกิ้งและกลายเป็นผู้ปกครองของจักรวรรดิที่ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดประกอบด้วยอังกฤษ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และส่วนหนึ่งของสวีเดน คานุตรุกรานอังกฤษในปี..1013 ร่วมกับพระราชบิดา สเวน กษัตริย์แห่งเดนมาร์ก หลังการสวรรคตของสเวนในปี..1014 พระองค์ได้รับการยกย่องเป็นกษัตริย์โดยกองกำลังไวกิ้ง คานุตปราบเอ็ดมุนด์ที่ 2 จอมพลังที่อาสซานดุน เอสเซ็กซ์ ในปี..1016 พระองค์กับเอ็ดมุนด์จอมพลังแยกอังกฤษออกจากกัน คานุตได้ปกครองเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียจนกระทั่งพระองค์ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมดหลังการสวรรคตของเอ็ดมุนด์ พระองค์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์แห่งเดนมาร์กต่อจากพระเชษฐา ฮารัลด์ ในปี..1018 ทรงบังคับให้พระเจ้าแมลคอล์มถวายความจงรักภักดีด้วยการรุกรานสก็อตแลนด์ในช่วงราวปี..1027 และพิชิตนอร์เวย์ในปี..1028 พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยพระโอรสนอกกฎหมาย แฮโรลด์ที่ 1 ภายใต้การปกครองของคานุต การค้าของอังกฤษเจริญรุ่งเรืองขึ้น และพระองค์ได้รับความนิยมจากไพร่ฟ้าชาวอังกฤษจากการส่งทหารกลับเดนมาร์ก ทว่าจักรวรรดิทะเลเหนือที่ประกอบด้วยเดนมาร์ก อังกฤษ และนอร์เวย์ล่มสลายหลังการสวรรคตของพระองค์ ทรงถูกฝังที่วินเชสเตอร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าคนุตมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอเธล์เรดที่ 2 แห่งอังกฤษ (Ethelred II หรือ Ethelred the Unready หรือ Aethelred the Unready) (ราว ค.ศ. 968- 23 มิถุนายน ค.ศ. 1016) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอเธล์เรดที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 968 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์แห่งอังกฤษ และ เอลฟรีดา สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (Ælfthryth) ทรงเสกสมรสกับเอลจิฟูและต่อมาเอ็มมาแห่งนอร์มังดี สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 978 ถึงปี ค.ศ. 1013 และจากปี ค.ศ. 1014 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1016 เหตุการณ์สำคัญส่วนใหญ่ในรัชสมัยของพระองค์คือการต่อสู้กับไวกิงที่มารุกรานอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าแอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง (Anglo-Saxon period to refer to male members of the royal family) (ราว ค.ศ. 1051 – ค.ศ. 1126) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิงเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1051 ในประเทศฮังการีปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัย ผู้เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ และ อากาธา พระเจ้าเอ็ดการ์ เป็นพระนัดดาของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ “Ironside” ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1066 จนถึงวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1066 พระเจ้าเอ็ดการ์ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “เอ็ดการ์ผู้นอกกฎหมาย” (Edgar the Outlaw) หรือ “เอ็ดการ์ที่ 2” ทรงเป็นกษัตริย์เวสต์แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชวงศ์เซอร์ดิค ทรงได้รับการประกาศให้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษแต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ เมื่อเอ็ดเวิร์ดผู้ลี้ภัยสิ้นพระชนม์เมื่อปี ค.ศ. 1057 เอ็ดการ์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นรัชทายาทโดยนิตินัยโดยพระอัยกา สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ แต่เอ็ดการ์ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าที่จะครองราชสมบัติและสามารถป้องกันประเทศที่มึเค้าการรุกรานของฝรั่งเศสโดย ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ดังนั้นเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตสภาวิททันจึงเลือก ฮาโรลด์ กอดวินสัน ผู้เป็นน้องเขยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเป็นสมเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จสวรรคตที่ยุทธการเฮสติงส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 เอ็ดการ์จึงได้รับการประกาศให้เป็น สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 โดยสภาวิททันในลอนดอน แต่มิได้ทรงรับการสวมมงกุฏ พระเจ้าเอ็ดการ์ถูกส่งตัวให้ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 ราวหกถึงแปดอาทิตย์ต่อมาเมื่อพระชนมายุได้ 14 หรือ 15 พรรษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าเอ็ดการ์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ หรือ เอ็ดมันด์ ไอรอนไซด์ (Edmund II หรือ Eadmund II หรือ Edmund Ironside) (ราว ค.ศ. 988–ค.ศ. 993–ค.ศ. 993 - 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1016) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ เสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 988–ค.ศ. 993 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเอเธลเรดที่ 2 แห่งอังกฤษ และ เอลกิฟูแห่งยอร์ค พระเจ้าเอ็ดมันด์ทรงได้รับขนานพระนามว่า “ไอรอนไซด์” (Ironside) เพราะความสามารถในการต่อต้านการรุกรานของเดนมาร์กโดยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช ทรงเสกสมรสกับอีดิธแห่งอีสแองเกลีย และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1016 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1016 ที่กลาสตันบรี อังกฤษ พระบรมศพตั้งอยู่ที่ แอบบีกลาสตันบรี ซึ่งปัจจุบันตัวแอบบีถูกทำลายจนสิ้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี หรือนักบุญเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี (Edward the Confessor หรือ Saint Edward the Confessor) (ราว ค.ศ. 1003/1004 – 4 มกราคม ค.ศ. 1066) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์เวสเซ็กซ์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี · ดูเพิ่มเติม »

พรุ

รุ Lütt-Witt Moor ในเยอรมนี พรุ หรือ ที่ลุ่มสนุ่น (Bog หรือ quagmire หรือ mire) เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำประเภทหนึ่งที่เป็นที่สะสมของพีตซึ่งเป็นซากสะสมของพืชที่ตายแล้วที่มักจะเป็นมอสส์ แต่ก็อาจจะเป็นไลเคนก็ได้ในบริเวณอากาศอาร์กติก พรุเกิดขึ้นเมื่อน้ำบนผิวดินเป็นกรดที่อาจจะเป็นเพราะน้ำบาดาลเป็นกรด หรือในบริเวณที่เป็นน้ำที่มาจากฝน น้ำที่ไหลออกจากพรุจะมีสีน้ำตาลที่เกิดจากการละลายแทนนินของพีต พรุมีความสำคัญต่อความหลากหลายทางชีว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและพรุ · ดูเพิ่มเติม »

กรีนแลนด์

กรีนแลนด์ (Kalaallit Nunaat; Grønland เกฺรินลันฺด) เป็นดินแดนทางเหนือสุดของโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอาร์กติกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ประมาณ 2,175,900 ตารางกิโลเมตร มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของประเทศเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกรีนแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกลุ่มชนเจอร์แมนิก · ดูเพิ่มเติม »

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกวางมูส · ดูเพิ่มเติม »

กวางแดง

กวางแดง (Red Deer) เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ตามอนุกรมวิธาน กวางแดงมีถิ่นอาศัยในทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส เอเชียน้อย บางส่วนทางตะวันตกของเอเชีย และเอเชียกลาง สามารถพบในเทือกเขาแอตลาสระหว่างประเทศโมร็อกโกและประเทศตูนิเซียทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา เป็นกวางเพียงชนิดเดียวที่อาศัยอยู่ในแอฟริกา มีการนำกวางแดงไปยังพื้นที่ส่วนอื่นบนโลก ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศนิวซีแลนด์ และ ประเทศอาร์เจนตินา ในหลายส่วนของโลกกินเนื้อของกวางแดงเป็นอาหาร กวางแดงเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีกระเพาะ 4 ห้อง กีบเท้าคู่ ตัวผู้สูง 175 - 230 ซม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกวางแดง · ดูเพิ่มเติม »

กวางเรนเดียร์

กวางเรนเดียร์ หรือ กวางแคริบู (Reindeer, Caribou) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่จำพวกกวาง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rangifer มีนิสัยดุร้าย มีลักษณะคล้ายคลึงกับกวางเอลก์ จัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใหญ่ที่สุดของแคนาเดียนทุนดรา ตัวเมียมีน้ำหนักประมาณ 60–170 กิโลกรัม ส่วนสูงประมาณ 162– 205 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่า มีน้ำหนักประมาณ 100–318 กิโลกรัม ส่วนสูงประมาณ 180–214 เซนติเมตร หางยาวประมาณ 14– 20 เซนติเมตร ตัวผู้ที่มีอายุมากจะผลิเขาในเดือนธันวาคม ตัวผู้ที่อายุน้อยจะผลิเขาในฤดูใบไม้ผลิ ส่วนตัวเมียจะผลิเขาในฤดูร้อน เขาแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เขาที่อยู่สูงกว่า และเขาที่อยู่ต่ำกว่า เขากวางเรนเดียร์ตัวผู้ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากกวางมูส คือ กว้างประมาณ 100 เซนติเมตร ยาวประมาณ 135 เซนติเมตร ถือเป็นกวางที่มีขนาดเขาใหญ่ที่สุดในโลก ขนตามลำตัวยามปกติจะมีสีน้ำตาล แต่เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ขนจะเปลี่ยนไปเป็นสีอ่อนขึ้น หรือสีขาว กวางเรนเดียร์ มีกีบเท้าที่แยกออกเป็น 2 ง่ามชัดเจน ใช้สำหรับว่ายน้ำ โดยว่ายได้เร็วถึง 10 กิโลเมตร/ชั่วโมง และเมื่อเดินกระดูกตรงข้อเท้าและเส้นเอ็นจะทำให้เกิดเสียงไปตลอด สันนิษฐานว่ามีไว้เพื่อติดต่อกับระหว่างฝูงในยามที่อยู่ในที่ ๆ ภาวะวิสัยมองเห็นไม่ชัด เช่น ยามเมื่อหิมะตกหนัก เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวในโลกที่สามารถมองเห็นรังสีอัลตราไวโอเลตได้TUNDRA, "Wildest Arctic".

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกวางเรนเดียร์ · ดูเพิ่มเติม »

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและกอล · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน

ผ้าปักบายู (Bayeux Tapestry) แสดงศึกเฮสติงส์และเหตุการณ์ที่นำมาสู่เหตุการณ์ที่ว่า ชัยชนะของชาวนอร์มันต่ออังกฤษ หรือ การรุกรานของชาวนอร์มัน (ภาษาอังกฤษ: Norman conquest of England) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1066 โดยการรุกรานราชอาณาจักรอังกฤษที่นำโดยดยุคแห่งนอร์มังดี และชัยชนะที่ได้รับที่ศึกเฮสติงส์ (Battle of Hastings) ผลของสงครามคือการปกครองของชาวนอร์มันในอังกฤษ เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญๆ หลายอย่างในประวัติศาสตร์อังกฤษ ชัยชนะของชาวนอร์มันทำให้อังกฤษเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างอังกฤษและผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรปโดยการนำเจ้านายนอร์มันเข้ามาปกครองบริหารอังกฤษซึ่งทำให้ลดอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียลง ชัยชนะทำให้เกิดราชวงศ์ที่มีอำนาจมากที่สุดราชวงศ์หนึ่งในยุโรปรวมทั้งการก่อตั้งระบบการปกครองที่มีระเบียบแบบแผน และชัยชนะเปลี่ยนแปลงภาษาและวัฒนธรรมอังกฤษและเป็นพื้นฐานของความเป็นคู่แข่งระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศสที่ต่อเนื่องกันมาเป็นพักๆ ร่วมพันปี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

การพิจารณาคดีโดยใช้วิธีทรมาน

ปีเตอร์ บาร์โทโลมิว (Peter Bartholomew) พิสูจน์ตนเองโดยการทรมานด้วยไฟโดย กุสตาฟว์ ดอเร (Gustave Doré) รูปแกะนูนแสดงภาพพระชายาของจักรพรรดิไฮน์ริคที่ 2 ทรงพิสูจน์พระองค์เองว่าไม่ทรงมีชู้จริงโดยการเดินบนคันไถร้อน นักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิพิสูจน์ความศรัทธาต่อคริสต์ศาสนาโดยการลุยไฟต่อหน้าสุลต่าน ภาพเขียนจากคริสต์ทศวรรษ 1400 ของปาฏิหาริย์ Fanjeaux ที่หนังสือคาธาร์สและหนังสือโรมันคาทอลิกพิสูจน์ด้วยไฟที่ไม่ยอมไหม้หนังสือโรมันคาทอลิกสามครั้ง การพิจารณาคดีโดยการทรมาน หรือ การพิสูจน์ความบริสุทธิ์ (Trial by ordeal) เป็นการตัดสินหรือการพิสูจน์การผิดหรือไม่ผิดโดยการทรมานผู้ถูกกล่าวหา หรือการพิสูจน์ตนเองด้วยว่าถูกหรือผิดโดยการทรมานตนเอง ถ้าผ่านการทรมานโดยไม่มีการบาดเจ็บหรือบาดเจ็บแต่ก็เพียงเล็กน้อยและหายเร็วก็เท่ากับเป็นการพิสูจน์ว่าผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้พิสูจน์ตนเองเป็นผู้บริสุท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและการพิจารณาคดีโดยใช้วิธีทรมาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษเก่า

ษาอังกฤษเก่า (Ænglisc, Anglisc, Englisc; Old English ย่อว่า OE) หรือ ภาษาแองโกล-ซัคเซิน (Anglo-Saxon) เป็นภาษาอังกฤษยุคแรก ที่พูดกันในบริเวณที่ปัจจุบันคือแคว้นอิงแลนด์ อังกฤษและสกอตแลนด์ตอนใต้ ในระหว่าง กลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 นับเป็นภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก ด้วยเหตุนี้ จึงมีความคล้ายคลึงกับภาษาฟริเซียนเก่า (Old Frisian) และภาษาแซกซันเก่า (Old Saxon) นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์กับภาษานอร์สเก่า (Old Norse) และเชื่อมโยงไปถึงภาษาไอซ์แลนด์ปัจจุบัน (modern Icelandic) ด้วย ไวยกรณ์ของภาษาอังกฤษเก่ามีความใกล้เคียงกับไวยกรณ์ของภาษาเยอรมันสมัยใหม่ กล่าวคือ คำนาม คำวิเศษณ์ คำสรรพนาม และคำกริยา มีการผันเปลี่ยนรูปข้างท้ายของคำอยู่หลากหลายแบบ และการลำดับคำในประโยคก็มีอิสระมากกว่า ตัวอักษรของภาษาอังกฤษเก่าแค่เดิมเป็นระบบอักษรรูน (runic system) แต่ถูกแทนที่ด้วยอักษรละตินนับแต่ศตวรรษที่ 9 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษเก่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีการใช้งานตลอดระยะเวลาประมาณ 700 ปี นับตั้งแต่ชนแองโกล-แซ็กซอนอพยพเข้ามายังเกาะบริเตน สร้างอิงแลนด์ขึ้น ในคริสต์ศวรรษที่ 5 จนถึงระยะเวลาหลังพวกนอร์มันบุกรุกเข้าไปเมื่อ ค.ศ. 1066 หลังจากนั้นภาษาอังกฤษก็เคลื่อนเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่สำคัญ ในยุคแรกๆ นี้ ภาษาอังกฤษเก่าได้ผสมกลมกลืนเข้ากับภาษาอื่นๆ ที่มีการติดต่อด้วย เช่น ภาษาเคลติก (Celtic) และภาษาถิ่นสองภาษาของภาษานอร์สเก่า (บรรพบุรุษของภาษาแดนิชในปัจจุบัน) จากการบุกรุกของพวกไวกิงจากทางเดนมาร์ก ซึ่งเข้ามาครอบครองและปกครองอาณาเขตในอิงแลนด์ตอนเหนือและตะวันออก หลังจากชาวนอร์แมนยกทัพเข้าชิงอังกฤษจากกษัตริย์แซ็กซอนมาปกครองได้ ใรปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและภาษาอังกฤษเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเดนมาร์ก

ษาเดนมาร์ก (dansk แดนฺสฺก) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ(หรือภาษาสแกนดิเนเวีย) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก สาขาของภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาราชการภาษาเดียวของเดนมาร์ก และเป็นภาษาราชการหนึ่งในสองภาษาของเกาะกรีนแลนด์และหมู่เกาะแฟโร ซึ่งมีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองของเดนมาร์ก นอกจากนี้ภาษาเดนมาร์กยังพูดกันในหมู่ชนกลุ่มน้อยทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ในประเทศไอซ์แลนด์ ภาษาเดนมาร์กเป็นภาษาต่างประเทศภาษาที่สอง(ต่อจากภาษาอังกฤษ)ที่มีการเรียนการสอนกันในสถาบันการศึกษาแพร่หลายที.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและภาษาเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาคคริสตจักร

ริสตจักร (ecclesiastical province) หรือ แขวงฝ่ายพระศาสนจักร เป็นเขตปกครองของศาสนาคริสต์ พบในนิกายโรมันคาทอลิก แองกลิคัน และคริสตจักรตะวันออก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและภาคคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขีในศาสนาคริสต์

การทรมานของนักบุญเอรัสมุส โดยเดียริค เบาท์ ราวปี ค.ศ. 1458 ในศาสนาคริสต์ มรณสักขี (martyr) หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนที่ถูกทรมานจนตายหรือถูกฆ่าหรือถูกลงโทษให้ประหารชีวิตเพราะความเชื่อ ในศาสนาคริสต์ยุคแรกมีผู้ถูกทรมานและฆ่าด้วยความทรมานต่างๆเช่นถูกขว้างด้วยก้อนหินให้ตาย ถูกตรึงกางเขน ถูกเผาทั้งเป็น และอื่น ๆ คำว่า “martyr” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “พยาน” การฆ่าเช่นนี้เป็นผลจากการพยายามกำจัดคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการ (การเบียดเบียนทางศาสนา) เช่นในสมัยจักรวรรดิโรมันก่อนที่คริสต์ศาสนาจะเป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมาย คริสต์ศาสนิกชนคนแรกที่เป็นมรณสักขีคือนักบุญสเทเฟนที่บันทึกไว้ใน ถูกขว้างด้วยก้อนหินจนถึงแก่ชีวิตเพราะศรัทธาในพระเยซูว่าเป็นพระเมสสิยาห์ และยังคงมีคริสต์ศาสนิกชนอีกหลายคนที่ถูกฆ่านอกจากนักบุญสเทเฟน ตามที่นักบุญเปาโลอัครทูตกล่าวว่ามีการขู่จะฆ่าสาวกของพระเยซูในเวลานั้นหลายครั้ง ในคริสต์ศตวรรษต่อมาก็มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการอีกหลายครั้งเช่นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตหรือเป็น “พวกนิยมพระสันตะปาปา” (Papists).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์

มหากาพย์ (Epic poetry) คือ วรรณคดีที่เล่าเรื่องราวของวีรบุรุษหรือวัฒนธรรม มักเป็นเรื่องที่เก่าแก่ มีโครงเรื่องซับซ้อนและยาว ตัวละครมากมาย และได้รับการยกย่อง มหากาพย์โดยมากในเอเชีย จะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อหรือศาสนาของชาตินั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและมหากาพย์ · ดูเพิ่มเติม »

มิชชันนารี

มิชชันนารีคาทอลิกคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสกำลังอำลาญาติพี่น้อง ก่อนออกเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ยังดินแดนตะวันออกไกล มิชชันนารี (missionary) คือ สมาชิกองค์การทางศาสนา ที่ถูกส่งไปยังต่างแดนเพื่อทำการประกาศข่าวดีและรับใช้พระผู้เป็นเจ้าหรือศาสนจักร ในงานด้านการศึกษา การรู้หนังสือ ความยุติธรรมทางสังคม สาธารณสุข และการพัฒนาเศรษฐกิจThomas Hale 'On Being a Missionary' 2003, William Carey Library Pub, ISBN 0-87808-255-7 คำว่า "มิชชัน" มาจากภาษาละติน missionem ซึ่งแปลว่า การส่งออกไป มิชชันนารีมักทำงานรวมกันเป็นองค์กรเรียกว่า มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ มิสซัง (โรมันคาทอลิก) และเรียกสำนักงานของมิชชันนารีว่า ศูนย์มิชชัน (โปรเตสแตนต์) หรือ สำนักมิสซัง (โรมันคาทอลิก).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและมิชชันนารี · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์พรุพีต

มนุษย์ลินเดาว์ที่พบในเชสเชอร์ในอังกฤษ มนุษย์พรุพีต (Bog body หรือ bog people) คือร่างของมนุษย์ที่ได้รับการรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ดีโดยธรรมชาติที่พบในพรุพีตทางตอนเหนือของยุโรปและเกาะบริติช ร่างของมนุษย์ที่ตายในพรุพีตไม่เหมือนกับร่างของมนุษย์โบราณอื่นๆ ตรงที่ร่างที่ตายในพรุพีตจะยังคงมีหนังและอวัยวะภายในอยู่ เพราะได้รับการรักษาไว้โดยสภาพแวดล้อมที่มีคุณสมบัติพิเศษ สภาพแวดล้อมดังกล่าวก็รวมทั้งน้ำที่เป็นค่อนข้างเป็นกรด, อุณหภูมิที่ต่ำ และบรรยากาศที่ขาดออกซิเจน ปัจจัยดังกล่าวนี้ทำให้ผิวของผู้เสียชีวิตออกเป็นสีน้ำตาลแดงจัด แม้ว่าหนังจะอยู่ในสภาพดีแต่กระดูกจะไม่มีเหลืออยู่ เพราะกรดจากพีตทำการละลายแคลเซียมฟอสเฟตในกระดูก นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันด็อคเตอร์อัลเฟรด ดีคจัดทำสารบรรณของมนุษย์ที่เสียชีวิตในพรุพีตที่พบทางทางตอนเหนือของยุโรปได้ถึงกว่า 1850 ร่างในปี ค.ศ. 1965 เกือบทุกร่างที่พบเป็นร่างที่มีอายุมาตั้งแต่ยุคเหล็ก และหลายร่างดูเหมือนว่าจะถูกสังหาร และจัดวางไว้ในพรุในรูปแบบการวางที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งทำให้สันนิษฐานได้ว่าอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม ที่นักโบราณคดีหลายท่านเชื่อกันว่าร่างเหล่านี้อาจจะเป็นของผู้ที่ถูกฆ่าเพื่อการสังเวยตามประเพณีเพกันของชนเจอร์มานิคในสมัยยุคเหล็ก ตัวอย่างสำคัญๆ ก็ได้แก่มนุษย์โทลลุนด์ที่พบที่เดนมาร์ก และ มนุษย์ลินเดาว์ของอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและมนุษย์พรุพีต · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์โทลลุนด์

มนุษย์โทลลุนด์ ใบหน้าของ “มนุษย์โทลลุนด์” ที่ยังคงอยู่ในสภาพดีจนเข้าใจกันว่าเป็นร่างของเหยื่อฆาตกรรมที่เพิ่งจะเกิดขึ้น มนุษย์โทลลุนด์ (Tollund Man) เป็นมัมมีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่เรียกว่ามนุษย์พรุพีต มนุษย์โทลลุนด์เป็นร่างของชายที่มีชีวิตอยู่ราวระหว่างศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศตวรรษ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ในสแกนดิเนเวียจัดอยู่ในสมัยยุคเหล็กโรมัน ร่างของมนุษย์โทลลุนด์ที่พบใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและมนุษย์โทลลุนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์ก

อร์ก (York) เป็นนครที่ยังมีกำแพงเมืองโบราณล้อมรอบที่ตั้งอยู่ในนอร์ธยอร์กเชอร์ในภูมิภาคยอร์กเชอร์และแม่น้ำฮ้มเบอร์ของอังกฤษ นครยอร์กตั้งอยู่ในบริเวณที่แม่น้ำอูสและแม่น้ำฟอสส์ ยอร์กเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีบทบาทมาเกือบตลอด 2,000 ปีที่ก่อตั้งมา เมืองยอร์กก่อตั้งเป็นเมืองป้อมปราการเอบอราคุม (Eboracum) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินเก่า

ชาวพาลีโออินเดียน (Paleo-Indians) กำลังล่า Glyptodon ที่ถูกล่าจนศูนย์พันธุ์สองพันปีหลังมุษย์มาถึงอเมริกาใต้ Cave of Altamira and Paleolithic Cave Art of Northern Spain ยุคหินเก่า (Paleolithic) เป็น ช่วงเวลาก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ มีจุดเด่นอยู่ที่การพัฒนาเครื่องมือหินยุคแรกเริ่ม และครอบคลุมประมาณ 95% ของเทคโนโลยีก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่การใช้เครื่องมือหินครั้งแรก คาดว่าโดย ''Homo habilis'' เมื่อ 2.6 ล้านปีก่อน จนถึงปลายสมัยไพลสโตซีนประมาณ 10,000 ปีก่อนปัจจุบันToth, Nicholas; Schick, Kathy (2007).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและยุคหินเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปเหนือ

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือ ประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ - 71 องศาเหนือ ประกอบไปด้วยประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ซึ่งได้แก่ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,502,7863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย (ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษ และบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)เ่รรร หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รอสกิลด์

รอสกิลด์ (Roskilde) เป็นเมืองสำคัญในเทศบาลรอสกิลด์ ตั้งอยู่บนเกาะเชลลันด์ ประเทศเดนมาร์ก ตั้งอยู่ตรงปากทางเข้ารอสกิลด์ฟยอร์ด เป็นเมืองโบราณตั้งแต่ในยุคไวกิง เคยเป็นเมืองหลวงของประเทศตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรอสกิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์

ลสวิช-ฮ็อลชไตน์ (Schleswig-Holstein) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของเยอรมนี มีเมืองคีลเป็นเมืองหลวง เมืองสำคัญ ได้แก่ เมืองลือเบค เป็นทั้งเมืองโบราณที่ได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ยังเป็นเมืองท่าสำคัญชายฝั่งทะเลบอลติก และเป็นเมืองท่องเที่ยวชายทะเลที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญ

มหากฎบัตร (Magna Carta) รัฐธรรมนูญ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบั..2525 ให้ความหมายว่า "รัฐธรรมนูญ" คือกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ ในความหมายอย่างแคบ "รัฐธรรมนูญ" กฎหมายฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับซึ่งรวบรวมกฎเกณฑ์การปกครองประเทศขึ้นไว้ และไม่ใช่สิ่งเดียวกับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะ "กฎหมายรัฐธรรมนูญ" มีความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีก็ได้ รัฐธรรมนูญในปัจจุบันนั้น มีทั้งเป็นลักษณะลายลักษณ์อักษร และลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยที่ลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากจะใช้หลักของจารีต ประเพณีการปกครองแล้ว กฎหมายทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ย่อมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญด้วย ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอังกฤษ

ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและราชอาณาจักรอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ (Wessex หรือ Westseaxe (ภาษาอังกฤษเก่า)) เวสเซ็กซ์ หรือ “แซ็กซอนตะวันตก” เป็นอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนของแซ็กซอนตะวันตกทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนอังกฤษรวมตัวกันเป็นประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ภายใต้ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หลังจากสมัยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชเวสเซ็กซ์ก็มีฐานะเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ตั้งแต..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและราชอาณาจักรเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเดนมาร์ก

ราชอาณาจักรเดนมาร์ก คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาคมที่ประกอบด้วยส่วนที่เป็นอิสระต่อกันสามส่วน:เดนมาร์กทางตอนเหนือของยุโรป, หมู่เกาะแฟโรในมหาสมุทรแอตแลนติก และ กรีนแลนด์ ใน อเมริกาเหนือ โดยมีเดนมาร์กเป็นดินแดนศูนย์กลางที่เป็นที่ตั้งของสถาบันทางด้านการยุติธรรม, การปกครอง และ การบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในเครือราชอาณาจักรเดนมาร์กเรียกว่า "Rigsfællesskabet" พระประมุขพระองค์ปัจจุบันของราชอาณาจักรเดนมาร์กคือ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 ในบรรดาสมาชิกทั้งสามก็มีแต่เดนมาร์กเท่านั้นที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและราชอาณาจักรเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก จะดำรงพระอิศริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก" ถ้าพระประมุขเป็นสตรี คู่อภิเษกสมรสจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายพระราชสวามี ในระหว่างที่ยังเป็นสหภาพคาลมาร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ลุนด์

ลุนด์ (Lund) เป็นเมืองในเขตสโกเน ประเทศสวีเดน มีประชากร 82,800 คน ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและลุนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตฮันเซอ

ทางอากาศของลือเบค "''ราชินีแห่งฮันเซ่อ''" สันนิบาตฮันเซอ (Hanseatic League) และรู้จักในชื่อ ฮันเซอ (Hanse) หรือ ฮันซา (Hansa) ด้วย คือกลุ่มพันธมิตรทางทหารของเมืองการค้าและสมาคมพ่อค้าที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรักษาเอกสิทธิ์ในการค้าขายตามชายฝั่งทะเลของยุโรปเหนือตั้งแต่ทะเลบอลติกไปจนถึงทะเลเหนือ และบนแผ่นดินใหญ่ ในสมัยยุคกลางตอนปลายไปจนถึงสมัยใหม่ตอนต้น (ราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 17) เมืองฮันเซอมีระบบกฎหมายและการป้องกันที่เป็นของตนเองและระบบความช่วยเหลือระหว่างกันและกัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสันนิบาตฮันเซอ · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสงครามครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวีย

แกนดิเนเวีย (Scandinavia; Skandinavia; Skandinavien) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ มีศูนย์กลางอยู่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดิมว่า มณฑลสกาเนียน (Scanian Province) ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนอร์ดิก เช่น ประเทศไอซ์แลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมีการพูดภาษานอร์เวย์โบราณและดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าฟินแลนด์จะมีความเกี่ยวข้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกริก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยู่กับบริบท กลุ่มนอร์ดิก นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

หมูป่า

หมูป่า เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ เป็นต้นสายพันธุ์ของหมูบ้านในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและหมูป่า · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแฟโร

หมู่เกาะแฟโร (Føroyar เฟอรยาร แปลว่า "เกาะแห่งแกะ") เป็นหมู่เกาะในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างสกอตแลนด์ นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ หมู่เกาะแฟโรเป็นเขตการปกครองตนเองของเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 โดยมีสถานภาพเหมือนกับกรีนแลนด์ มีอำนาจในการปกครองตนเองทุกด้าน ยกเว้นด้านการต่างประเทศและการทหาร (ไม่มีกองทัพ มีเพียงตำรวจและหน่วยลาดตระเวนชายฝั่งเท่านั้น) แต่อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะแฟโรก็มีตัวแทนเป็นของตนเองในคณะมนตรีนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและหมู่เกาะแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

อภิชนาธิปไตย

อภิชนาธิปไตย (ἀριστοκρατία aristokratía, มาจากคำว่า ἄριστος aristos "ที่ดีเลิศ" และ κράτος kratos "อำนาจ", aristocracy) เป็นระบอบการปกครองซึ่งอำนาจเป็นของพลเมืองอภิชนระดับล่าง คำว่า aristocracy มาจากภาษากรีก aristokratia หมายถึง "การปกครองโดยคนที่ดีที่สุด" (rule of the best) ณ เวลาที่คำดังกล่าวถือกำเนิดในกรีซโบราณ อภิชนาธิปไตยเข้าใจว่าเป็นการปกครองโดยพลเมืองเบื้องสูง และมักถูกเปรียบเชิงสนับสนุนราชาธิปไตย ในภายหลัง อภิชนาธิปไตยมักถูกมองว่าปกครองโดยคนกลุ่มน้อยที่มีอภิสิทธิ์ และตรงข้ามกับประชาธิปไต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและอภิชนาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ออทโทที่ 1 มหาราช

ออทโทที่ 1 มหาราช (Otto I. der Große) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก (ชื่อเรียกบริเวณที่เป็นประเทศเยอรมนีในยุคนั้น) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและออทโทที่ 1 มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูน

รึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone อักษรรูน หรือ อักษรรูนิก ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ในภาษาเยอรมันเก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้อักษรละตินและอักษรอีทรัสคัน จารึกอักษรรูนที่เก่าที่สุดพบราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและอักษรรูน · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินทิวทอนิก

ณะภราดรบ้านนักบุญมารีย์เยอรมันในเยรูซาเล็ม (Ordo domus Sanctæ Mariæ Theutonicorum Hierosolymitanorum) หรือชื่อสามัญว่า คณะทิวทอนิก (หรือ คณะเยอรมันในปัจจุบัน) เป็นคณะอัศวินสมัยกลางของเยอรมนี และในสมัยปัจจุบันกลายเป็นคณะศาสนาคาทอลิกเต็มตัว ก่อตั้งขึ้นราว ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและอัศวินทิวทอนิก · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมบวร์ค

ัมบวร์ค (Hamburg) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเยอรมนี รองลงมาจาก เบอร์ลิน และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 8 ของยุโรป โดยมีประชากรอาศัยอยู่ในเมืองฮัมบวร์คมากกว่า 1.8 ล้านคน ในขณะที่รวมปริมณฑลรอบ ๆ ไปด้วยแล้วจะทำให้ นครฮัมบวร์คมีประชากรทั้งสิ้น 5 ล้านคน ท่าเรือฮัมบวร์คเป็นท่าเรือสำคัญ ซึ่งนับเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป และใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของโลก พื้นที่ท่าเรือส่วนใหญ่เป็นบริเวณปลอดภาษี ฮัมบวร์ค ถือเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญและถือเป็นหนึ่งใน เมืองที่รวยที่สุดในยุโรปและเป็นเขตเมือง อุตสาหกรรมที่แห่งหนึ่งที่สำคัญของ เยอรมันมีบริษัท ห้างร้านที่สำคัญ ๆ ของเยอรมนี อยู่ที่เมืองนี้ และที่สะคัญ ฮัมบวร์คได้รับการศูนย์กลางทางการเงินที่สำคัญมานานหลายศตวรรษและเป็นที่ตั้งของธนาคารที่เก่าแก่ในประเทศเยอรมันคือ ธนาคารแบร์มเบริก ธนาคารนองจากนนี้ ฮัมบวร์คยังเป็น เมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศจากการจัดอันดับโดยได้อันดับที่ ที่ 17 ของโลกในปี 2555 และในปี 2553 ก็ได้อันดับที่ 10 ชื่ออย่างเป็นทางการของฮัมบวร์คคือ นครอิสระและฮันเซียติกแห่งฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Freie und Hansestadt Hamburg) คำว่าฮันเซียติกนั้นหมายถึงการเป็นสมาชิกสันนิบาตฮันเซียติกของฮัมบวร์คตั้งแต่ยุคกลาง และบ่งบอกว่าฮัมบวร์คมีฐานะเป็นนครรัฐ ถือเป็น 1 ใน 16 รัฐสหพันธ์ของเยอรมนี ฮัมบวร์คอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์นั้นอยู่ระหว่างสแกนดิเนเวียกับพื้นทวีปยุโรป ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลบอลติก ปัจจุบันฮัมบวร์คเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติ และศูนย์กลางวัฒนธรรมของเยอรมนีทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและฮัมบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ฮ็อลชไตน์

มุทรจัตแลนด์และทางตอนเหนือสุดของเยอรมนีแสดงบริเวณชเลสวิจและโฮลชไตน์ในรัฐชเลสวิจ-โฮลชไตน์ของเยอรมนีปัจจุบัน ฮ็อลชไตน์ (Holstein) เป็นแคว้นระหว่างแม่น้ำเอลเบและแม่น้ำไอเดอร์ ที่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐชเลสวิจ-โฮลชไตน์ทางตอนเหนือสุดของเยอรมนี เดิมฮ็อลชไตน์เป็น “เคาน์ตีฮ็อลชไตน์” (Grafschaft Holstein) และต่อมาเป็น “ดัชชีฮ็อลชไตน์” (Herzogtum Holstein) และเป็นดินแดนบริวารทางตอนเหนือสุดของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ประวัติของฮ็อลชไตน์มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับประวัติศาสตร์ของดัชชีชเลสวิจของราชอาณาจักรเดนมาร์ก ฮ็อลชไตน์มีเมืองหลวงอยู่ที่คีล “ฮ็อลชไตน์” มาจากคำว่า “Holcetae” ซึ่งเป็นภาษาชาวแซกซันที่อาดัมแห่งเบรเมินกล่าวถึง ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนฝั่งเหนือของแม่น้ำเอลเบ ทางตะวันตกของฮัมบูร์ก ที่แปลว่า “คนป่า”.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและฮ็อลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล

ักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล หรือ จักรพรรดิบอลด์วินที่ 9 เคานท์แห่งฟลานเดอร์ส หรือ หรือ จักรพรรดิบอลด์วินที่ 6 เคานท์แห่งเอโนต์ (Baldwin I of Constantinople หรือ Baldwin IX Count of Flanders หรือ Baldwin VI Count of Hainaut) (กรกฎาคม ค.ศ. 1172 – ราว ค.ศ. 1205) บอลด์วินทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิลระหว่างปี ค.ศ. 1204 จนถึงปี ค.ศ. 1205 นอกจากนั้นก็ยังเป็นเคานท์แห่งฟลานเดอร์สระหว่างปี ค.ศ. 1194 จนถึงปี ค.ศ. 1205 และ เคานท์แห่งเอโนต์ระหว่างปี ค.ศ. 1195 จนถึงปี ค.ศ. 1205 บอลด์วินเป็นผู้มีบทบาทสำคัญที่สุดผู้หนึ่งในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 ที่มีผลทำให้ยึดคอนสแตนติโนเปิล, การพิชิตส่วนใหญ่ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ และการก่อตั้งจักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิล หรือที่รู้จักกันว่า “โรมาเนีย” (ไม่ใช่ประเทศโรมาเนีย).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา

ักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา (Louis the Pious หรือ Louis the Fair หรือ Louis the Debonaire) (ค.ศ. 778 - 20 มิถุนายน ค.ศ. 840) เป็นกษัตริย์แห่งอากีแตน ตั้งแต่ ค.ศ. 781 และต่อมาก็เป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิแฟรงก์ และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ออทโท ผู้ทรงเริ่มครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ร่วมกับพระราชบิดาตั้งแต่งปี ค.ศ. 813 เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปีต่อมาลุดวิกก็ขึ้นครองราชย์ด้วยพระองค์เองจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 840 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ "ชาร์เลอมาญ" และ ฮิลเดอการ์ดแห่งวินซเกาว์ที่รอดชีวิตมาจนเจริญพระชันษาเป็นผู้ใหญ่ ระหว่างครองอาณาจักรอากีแตนลุดวิกก็รับหน้าที่ต่อสู้ป้องกันพรมแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ของจักรวรรดิแฟรงก์ พระองค์ทรงพิชิตดินแดนบาร์เซโลนาจากมุสลิมในปี ค.ศ. 801 และทรงสร้างเสริมอำนาจของแฟรงก์คืนในบริเวณปัมโปลนาและบาสก์ทางตอนใต้ของเทือกเขาพิเรนีสในปี ค.ศ. 813 เมื่อเป็นพระมหาจักรพรรดิลุดวิกก็ทรงเปิดโอกาสให้พระราชโอรส โลแธร์, เปแปง และ หลุยส์—มีส่วนร่วมในการปกครอง และทรงวางรากฐานการแบ่งดินแดนระหว่างพระราชโอรสทั้งสาม สิบปีแรกของรัชสมัยเป็นช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่นำมาซึ่งความโศรกเศร้าและน่าละอาย โดยเฉพาะในการทำการทารุณต่อพระนัดดาแบร์นาร์ดแห่งอิตาลี ที่พระองค์ทรงประกาศแสดงความเสียพระทัยต่อหน้าสาธารณชน ในคริสต์ทศวรรษ 830 จักรวรรดิก็ตกอยู่ในสภาวะของสงครามการเมือง ระหว่างพระราชโอรสของพระองค์เอง ซึ่งยิ่งเลวร้ายลงเมืองลุดวิกพยายามนำพระราชโอรสจากพระมเหสีองค์ที่สองชาร์ลส์เดอะบอลด์ (Charles the Bald) เข้ามาร่วมในแผนการสืบราชบัลลังก์ แม้ว่ารัชสมัยของลุดวิกจะจบลงด้วยดี บ้านเมืองกลับมาอยู่ในความสงบอีกครั้งหนึ่ง แต่ก็ไป็นรัชสมัยที่เมื่อเทียบกับรัชสมัยของพระราชบิดาแล้วก็ไม่รุ่งเรืองเท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรพรรดิหลุยส์ผู้ศรัทธา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Conrad II, Holy Roman EmperorBritannica online encyclopedia article on Conrad II (Holy Roman emperor)) (ราว ค.ศ. 990 - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1039) คอนราดทรงเป็นบุตรของไฮนริคแห่งเสปเยอร์ขุนนางขั้นรองในฟรังโคเนียและอเดลเลดแห่งอัลซาซ ซึ่งทำให้ทรงได้รับฐานันดรศักดิ์เป็นเคานท์แห่งสเปเยอร์ และ เวิร์มส์เมื่อยังทรงเป็นทารกเมื่อไฮนริคแห่งเสปเยอร์เสียชีวิตเมื่อมีอายุได้เพียง 20 ปี เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นพระองค์ก็ทรงเป็นที่รู้จักไกลออกไปจากบริเวณสเปเยอร์และเวิร์มส์ ฉะนั้นเมื่อสายแซกโซนีสิ้นสุดลงและตำแหน่งพรินซ์อีเล็คเตอร์แห่งราชอาณาจักรเยอรมนีว่างลง คอนราดก็ได้รับเลือกให้เป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Henry III, Holy Roman Emperor หรือ “the Black” หรือ “the Pious”) (29 ตุลาคม ค.ศ. 1017 - 5 ตุลาคม ค.ศ. 1056) เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ซาเลียน ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1046 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1056 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในจักรพรรดิคอนรัดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ กีเซลาแห่งชวาเบีย ไฮนริคได้รับการแต่งตั้งให้เป็นดยุกแห่งบาวาเรียในปี ค.ศ. 1026 หลังจากการเสียชีวิตของไฮน์ริชที่ 5 ดยุกแห่งบาวาเรีย เมื่อวันอีสเตอร..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Henry IV, Holy Roman EmperorBritannica online encyclopedia article on Henry IV (Holy Roman emperor)) (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1050 - 7 สิงหาคม ค.ศ. 1106) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีตั้งแต่ ค.ศ. 1056 และจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1084 จนกระทั่งทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1105 ไฮน์ริชทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่สามแห่งราชวงศ์ซาเลียนและเป็นพระมหากษัตริย์ผู้มีอำนาจและมีความสำคัญที่สุดพระองค์หนึ่ง รัชสมัยของพระองค์เป็นสมัยที่ทรงประสบข้อขัดแย้งเรื่องการสถาปนาสมณศักดิ์กับพระสันตปาปา และสงครามกลางเมืองกับผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อิตาลีและเยอรมนี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเคียฟรุส

ักรวรรดิเคียฟรุส (Кіеўская Русь, Ки́евская Русь, Ки́ївська Русь) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 880 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า “ชนรุส” โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย, และ ยูเครน รัชสมัยของวลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980–ค.ศ. 1015) และ พระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–ค.ศ. 1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” (Russkaya Pravda) ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิเคียฟรุสสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและจักรวรรดิเคียฟรุส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเดนมาร์ก

งชาติเดนมาร์ก หรือ "ธงแดนเนอบรอก" (Dannebrog, IPA) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีสีแดง มีรูปกางเขนแบบสแกนดิเนเวียสีขาวปลายจดขอบธง โดยที่ส่วนหัวของกางเขนนั้นอยู่ชิดกับทางด้านคันธง รูปกางเขนบนผืนธงดังกล่าว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนศาสนาคริสต์ ได้มีการนำไปปรับใช้ในธงของกลุ่มประเทศนอร์ดิก อันได้แก่ สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ หมู่เกาะโอลันด์ และหมู่เกาะแฟโร เช่นเดียวกับธงของกลุ่มเกาะเชตแลนด์และออร์คนีย์ของสกอตแลนด์ ในระหว่างที่ประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์รวมตัวเป็นสหภาพเดียวกันนั้น ธงแดนเนอบรอกยังได้ใช้เป็นธงชาติสำหรับนอร์เวย์ และยังคงมีการใช้ต่อมาโดยมีการดัดแปลงเล็กน้อย ตราบจนกระทั่งนอร์เวย์ได้เริ่มใช้แบบธงปัจจุบันในปี ค.ศ. 1821 ธงแดนเนอบรอกนับเป็นธงประจำรัฐชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งยังคงใช้อยู่โดยรัฐชาติที่เป็นอิสร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและธงชาติเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ทรอนด์เฮม

ทรอนด์เฮม (Trondheim) เป็นเมืองใน Sør-Trøndelag county ของนอร์เวย์ ก่อตั้งขึ้นเป็นเทศบาลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและทรอนด์เฮม · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและทะเลบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเหนือ

ภาพถ่ายทะเลเหนือและประเทศรอบ ๆ จากอวกาศ ทะเลเหนือ (North Sea) เป็นทะเลที่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ทางตะวันตกของนอร์เวย์และเดนมาร์ก ทางตะวันออกของเกาะบริเตนใหญ่ และทางตอนเหนือของเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส เป็นบริเวณส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก และติดกับทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 222,000 ตารางไมล์ หรือ 570,000 ตารางกิโลเมตร เหนือ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป เหนือ หมวดหมู่:ทะเลเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและทะเลเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทันดรา

ทันดราในกรีนแลนด์ ในทางภูมิศาสตร์กายภาพ ทันดรา หรือ ทุนดรา (tundra) เป็นชีวนิเวศชนิดหนึ่งที่การเติบโตของไม้ต้นถูกจำกัดด้วยอุณหภูมิต่ำและฤดูกาลเติบโตสั้น มีทันดราอยู่สามชนิด ทันดราอาร์กติก ทันดราแบบแอลป์ และทันดราแอนตาร์กติก ในทุนดรา พืชพรรณประกอบด้วยไม้พุ่มแคระ กก มอสและไลเคน มีไม้ต้นเติบโตประปรายในบริเวณทันดราบางแห่ง เขตรอยต่อระหว่างทันดราและป่าเรียก ระดับปลอดไม้ต้น (tree line หรือ timberline).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและทันดรา · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีชเลสวิจ

ัชชีแห่งชเลสวิจ (Duchy of Schleswig) หรือ ดัชชีแห่งจัตแลนด์ใต้ (Sønderjylland, Hertugdømmet Slesvig) เป็นดัชชีที่ตั้งครอบคลุมเนื้อที่ราว 60 ถึง 70 กิโลเมตรทางตอนใต้ของพรมแดนระหว่างเยอรมนี และ เดนมาร์ก ซึ่งเป็นบริเวณที่รู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า "Sleswick" (ซเลสวิค) ความสัมพันธ์ของบริเวณนี้อยู่ที่การขนส่งสินค้าระหว่างทะเลเหนือ และ ทะเลบอลติก ที่เชื่อมเส้นทางการค้าของรัสเซียกับเส้นทางการค้าตามลำแม่น้ำไรน์และฝั่งทะเลแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและดัชชีชเลสวิจ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีพอเมอเรเนีย

ัชชีพอเมอเรเนีย หรือ ดัชชีพอมเมิร์น (Herzogtum Pommern; Duchy of Pomerania) เป็นรัฐดัชชีที่ตั้งอยู่ในพอเมอเรเนียทางฝั่งทะเลตอนใต้ของทะเลบอลติก ที่ปกครองโดยดยุกแห่งตระกูลพอเมอเรเนีย (กริฟฟินส์) ก่อตั้งขึ้นจากดินแดนของวาร์ทิสลอว์ที่ 1 ดยุกแห่งชาวสลาฟพอเมอเรเนีย และได้รับการขยายดินแดนเพิ่มเติมต่อมาในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและดัชชีพอเมอเรเนีย · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรจัตแลนด์

คาบสมุทรจัตแลนด์ คาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเดนมาร์ก: Jylland; ภาษาเยอรมัน: Jütland) เป็นคาบสมุทรในทวีปยุโรป เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก (ภาคตะวันตกในส่วนที่ไม่ใช่เกาะ) และประเทศเยอรมนี (บริเวณจุดเหนือสุด) โดยมีทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก และทะเลเหนือทางด้านตะวันตก จัตแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและคาบสมุทรจัตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเฮร์ริง

ปลาเฮร์ริง (herring) เป็นชื่อสามัญของปลาหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupidae) คำว่า herring ในภาษาอังกฤษมาจากคำในภาษาเยอรมันสูงโบราณว่า heri แปลว่า "ฝูง" หรือ "เจ้าภาพ, เจ้าบ้าน" อันหมายถึง ลักษณะการรวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ของปลาจำพวกนี้ โดยมีสกุลต้นแบบคือ Clupea ปลาเฮร์ริงเป็นปลาจำพวกเดียวกับปลาซาร์ดีน มีรูปร่างคล้ายกับปลากะพงแต่รูปร่างเรียวยาวกว่า ความยาวโดยทั่วไป 14–18 เซนติเมตร ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในทะเลใกล้ชายฝั่งของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ รวมถึงชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ เป็นปลาที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ดำรงชีพด้วยการกินแพลงก์ตอนเหมือนปลาจำพวกอื่นในวงศ์เดียวกัน ปลาเฮร์ริงเป็นปลาที่ตกเป็นอาหารของปลาอื่นรวมถึงสัตว์ทะเลประเภทอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น โลมา, วาฬ หรือปลาฉลาม และเป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะของทวีปยุโรปจนเข้าไปอยู่ในวิถีชีวิตของผู้คน เป็นปลาเศรษฐกิจที่นิยมนำมาบริโภคและแปรรูป เช่น red herring ซึ่งเป็นปลาเฮร์ริงแห้งที่ผ่านการรมควันและหมักเกลือจนมีสีแดงอันเป็นที่มาของชื่อ และเป็นอาหารที่มีกลิ่นแรง นอกจากนี้ วลี red herring ยังเป็นสำนวนในภาษาอังกฤษซึ่งหมายถึง สิ่งหรือบุคคลที่ล่อหลอกให้เข้าใจผิด หรือการกระทำที่เบี่ยงเบนไปจากประเด็นหลัก ประเด็นสำคัญ เป็นต้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและปลาเฮร์ริง · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ม็องดี

นอร์ม็องดี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำนีเปอร์

แม่น้ำนีเปอร์ (Dnieper River ออกเสียง /ˈniːpər/) เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของยุโรปที่ยาวเป็นที่สี่ แม่น้ำนีเปอร์มีต้นสายจากธารน้ำแข็งที่เนินวัลไดในรัสเซีย ไหลผ่านประเทศรัสเซีย ประเทศเบลารุส และ ประเทศยูเครนไปยังสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนีเปอร์ในทะเลดำ โดยมีความยาวทั้งสิ้น 2,290 กิโลเมตร -- 485 กิโลเมตรในรัสเซีย, 595 กิโลเมตรในเบลารุส และอีก 1,095 กิโลเมตรในยูเครน ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งหมด 504000 ตารางกิโลเมตรที่ 289000 ตารางกิโลเมตรอยู่ในยูเครน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและแม่น้ำนีเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเทมส์

วิวทิวทัศน์แม่น้ำเทมส์มองจากลอนดอน แผนที่แม่น้ำเทมส์ในอังกฤษ แม่น้ำเทมส์ (River Thames - ออกเสียง: tɛmz) เป็นแม่น้ำใหญ่ที่ไหลในอังกฤษตอนใต้ และเป็นที่รู้จักมากที่สุดเพราะแม่น้ำไหลผ่านใจกลางกรุงลอนดอน นอกจากนี้ แม่น้ำยังไหลผ่านเมืองอื่น ๆ เช่น เมืองอ็อกซ์ฟอร์ด รีดดิง และ วินด์เซอร์ เป็นต้น หุบเขาเทมส์ ส่วนหนึ่งของอังกฤษ อยู่ตรงกลางแม่น้ำระหว่างออกซ์ฟอร์ด และ ลอนดอนตะวันตก ถูกตั้งชื่อตามแม่น้ำแห่งนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและแม่น้ำเทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แร่

ผลึกแร่ชนิดต่าง ๆ แร่ (Mineral) เป็นธาตุหรือสารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ด้วยกระบวนการทางอนินทรีย์ ส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีโครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนคงที่หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและแร่ · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โคเปนเฮเกน

ปนเฮเกน (Copenhagen; København เคอเปินเฮาน์) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเดนมาร์ก จำนวนประชากรในมีเมืองมีทั้งหมดประมาณ 500,000 คนและ เขตนครหลวงหรือเมโทรทั้งหมดประมาณ 1,200,000 คนเศษ กรุงโคเปนเฮเกนเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารประเทศ รัฐสภา รัฐบาลและเป็นที่ตั้งพระราชวังหลวงในพระราชวงศ์เดนมาร์ก โคเปนเฮเกนถือว่าเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งของยุโรป ก่อตั้งมาราว ๆ คริสต์ศตวรรษที่ 10 และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศในแถบสแกนดิเนเวี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและโคเปนเฮเกน · ดูเพิ่มเติม »

เบรเมิน

รเมิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการ เทศบาลนครเบรเมิน (Bremen; ชื่อทางการ Stadtgemeinde Bremen) เป็นเมืองสันนิบาตฮันเซียติกในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนี เป็นเมืองท่า ตั้งอยู่ตามแนวแม่น้ำเวเซอร์ ประมาณ 60 ก.ม. ทางใต้จากทางออกสู่ทะเลเหนือ เบรเมินเป็นหนึ่งในสองเมืองในรัฐเบรเมิน หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ นครสันนิบาตฮันเซียติกอิสระเบรเมิน (Freie Hansestadt Bremen) ซึ่งบอกความเป็นสมาชิกของสันนิบาตสันนิบาตฮันเซียติกในยุคกลาง) อีกเมืองหนึ่งคือ เบรเมอร์ฮาเฟิน (Bremerhaven) เบรเมินมีประชากร 545,983 คน (เมื่อ 1 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเบรเมิน · ดูเพิ่มเติม »

เบวูล์ฟ

ต้นฉบับเก่าแก่ของบทกวี ''เบวูล์ฟ'' หน้าแรก เบวูล์ฟ (Beowulf) เป็นบทกวีมหากาพย์เกี่ยวกับวีรบุรุษยุคอังกฤษโบราณแต่งโดยผู้ประพันธ์หลายคนที่ไม่ทราบชื่อ งานวรรณกรรมภาษาแองโกลแซกซอนชิ้นนี้คาดว่าแต่งขึ้นในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน (1958).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเบวูล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนิวฟันด์แลนด์

กาะนิวฟันด์แลนด์ (Newfoundland Island) เป็นเกาะขนาดใหญ่ของประเทศแคนาดา อยู่นอกชายฝั่งทางทิศตะวันออกของอเมริกาเหนือ ในมหาสมุทรแอตแลนติก รวมกับแลบราดอร์บนผืนแผ่นดินใหญ่เป็นรัฐหนึ่งของแคนาดา เดิมใช้ชื่อรัฐว่ารัฐนิวฟันด์แลนด์ จนกระทั่ง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเกาะนิวฟันด์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเชลลันด์

เกาะเชลลันด์ หรือ ซีแลนด์ (Sjælland; Zealand) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเดนมาร์ก (7,031 กม²) ใหญ่เป็นอันดับ 96 ของโลก และเป็นเกาะที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 35 ของโลก เมืองหลวงของประเทศ กรุงโคเปนเฮเกน ตั้งอยู่บนเกาะนี้ส่วนหนึ่ง เมืองสำคัญอื่นที่ตั้งอยู่บนเกาะนี้ได้แก่เมือง รอสกิลด์ และเฮลซิงเงอร์ หมวดหมู่:เกาะในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:เกาะเชลลันด์.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเกาะเชลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เทพปกรณัมนอร์ส

ทพเจ้าธอร์เข้าณรงค์ยุทธกับเหล่ายักษ์ เทพปกรณัมนอร์สหรือเทพปกรณัมสแกนดิเนเวียเป็นเทพปกรณัมของชนเจอร์แมนิกเหนือ และเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาเก่าแก่ของชาวนอร์สซึ่งเป็นความเชื่อพหุเทวนิยม และยังคงเล่าสืบเนื่องกันมาแม้ภายหลังจากชาวสแกนดิเนเวียหันมานับถือศาสนาคริสต์ จนกลายมาเป็นคติชาวบ้านสแกนดิเนเวียแห่งสมัยใหม่ เทพปกรณัมนอร์สเป็นการกระจายขึ้นเหนือสุดของเทพปกรณัมเจอร์มานิก โดยประกอบด้วยนิทานเทวดา และวีรบุรุษต่าง ๆ จากแหล่งที่มาจำนวนมากทั้งก่อนและหลังยุคเพกัน ซึ่งรวมถึงวรรณกรรมของชาวไอซ์แลนด์ที่เขียนขึ้นในสมัยกลาง หลักฐานทางโบราณคดีและประเพณีพื้นบ้าน เทพเจ้าองค์สำคัญในเทพปกรณัมนอร์ส ได้แก่ ธอร์เทพสายฟ้าผู้มีค้อนใหญ่เป็นอาวุธ โดยเป็นเทพนักรบผู้พิทักษ์มนุษยชาติ ฯ โอดิน เทพเจ้าพระเนตรเดียว ผู้ทรงขวนขวายหาความรู้ในโลกฐาตุทั้งหลาย และพระราชทานอักษรรูนให้แก่มนุษย์; เฟรยา (Freyja) เทพสตรีผู้ทรงสิริโฉม ผู้ใช้เวทมนตร์ (seiðr) และทรงฉลองพระองค์คลุมขนนก ผู้ทรงม้าเข้าสู่สมรภูมิเพื่อเลือกเอาดวงวิญญาณในหมู่ผู้ตาย; สคาดดี (Skaði) ยักขินีและเทวีแห่งการสกี ผู้อาศัยอยู่ท่ามกลางฝูงหมาป่าบนภูเขาในฤดูหนาว; นโยร์ด (Njörðr) เทพเจ้าทรงฤทธิ์ผู้อาจปราบได้ทั้งทะเลและไฟและยังประทานความมั่งคั่งและที่ดิน; เฟรย์ (Freyr) ผู้นำสันติภาพและความเพลิดเพลินสู่มนุษยชาติ ผ่านทางฤดูกาลและการกสิกรรม; อีดุนน์ (Iðunn) เทพเจ้าผู้ทรงรักษาแอปเปิลที่ให้ความเยาว์วัยชั่วนิรันดร์; เฮม์ดาลร์ (Heimdallr) เทพเจ้าลึกลับผู้ประสูติแต่มารดาเก้าตน ทรงสามารถฟังเสียงหญ้าโต มีพระทนต์เป็นทองคำ และมีเขาสัตว์ที่เป่าได้ดังกึกก้อง; และโยตุนโลกิ ผู้นำโศกนาฏกรรมมาสู่ทวยเทพโดยวางแผนให้บัลเดอร์ (Baldr) พระโอรสแห่งเทพเจ้าฟริกก์ ต้องตาย เป็นต้น เทพปกรณัมนอร์สจัดเหล่าเทพเจ้าออกเป็นสองกลุ่ม คือ พวกอัสร์ (Æsir) ซึ่งมีรากคำเดียวกับ "อสูร" ในภาษาสันสกฤต ได้แก่ พวกเทพเจ้าองค์สำคัญๆในเทพวิหารของนอร์ส (เช่น โอดิน, ธอร์, ฟริกก์, บัลเดอร์ ฯลฯ) พวกหนึ่ง และ พวกวาเน็น หรือวานร์ อันเป็นเหล่าเทพที่มีความเกี่ยวพันกับความอุดมสมบูรณ์ ปัญญาเฉลียวฉลาด ธรรมชาติ และการรู้อนาคตอีกพวกหนึ่ง ทั้งสองพวกเข้าทำสงครามกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ จนในที่สุดรู้ว่าตนมีอำนาจเท่าๆกัน นอกจากนี้ในโลกยังมีสัตว์และเผ่าในเทพนิยายอยู่อีกนานับประการ (เช่น ยักษ์, คนแคระ, เอลฟ์, และภูตในแผ่นดิน) จักรวาลวิทยาของนอร์สประกอบด้วยโลกเก้าโลก ซึ่งขนาบอิกดระซิล ต้นไม้แห่งเอกภพ โลกมนุษย์ในจักรวาลวิทยานอร์สมีชื่อเรียกว่า มิดการ์ นอกจากนี้ยังมีภพหลังความตายอยู่หลายภพซึ่งมีเทพเจ้าพิทักษ์รักษาอยู่แตกต่างกัน ในตำนานของนอร์สมีตำนานสร้างโลกอยู่หลายแบบ มีการทำนายว่าโลกเหล่านี้จะกำเนิดใหม่หลังเหตุการณ์แรกนะร็อก เมื่อเกิดการยุทธ์มโหฬารระหว่างเหล่าทวยเทพและฝ่ายศัตรู และโลกถูกเพลิงประลัยกัลป์หุ้มเพื่อถือกำเนิดใหม่ ที่นั่น เทพเจ้าที่เหลือรอดจะประชุม แผ่นดินจะเขียวอุดม และมนุษย์สองคนจะเพิ่มประชากรโลกอีกครั้ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเทพปกรณัมนอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เดนลอว์

“โกลด์:” บริเวณการปกครองของเดนส์ บริเวณการปกครองของเดนส์ หรือ บริเวณเดนลอว์ (Danelaw, Danelagh; Dena lagu; Danelov) ที่บันทึกใน “พงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน” เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์ของบริเวณในบริเตนใหญ่ที่ปกครองด้วยกฎหมายของ “เดนส์” ที่อยู่เหนืออิทธิพลของกฎของแองโกล-แซ็กซอน บริเวณบริเตนใหญ่ที่อยู่ใต้การปกครองของเดนส์ในปัจจุบันอยู่ในบริเวณทางเหนือและตะวันออกของอังกฤษ ที่มาของบริเวณการปกครองของเดนส์มาจากการขยายตัวของไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แม้ว่าคำนี้จะมิได้ใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวของไวกิงมาจากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในสแกนดิเนเวียที่ทำให้นักรบไวกิงมีความจำเป็นในการไปล่าทรัพย์สมบัติในอาณาบริเวณใกล้เคียงเช่นเกาะอังกฤษ นอกจากจะใช้ในการบรรยายบริเวณทางภูมิศาสตร์แล้ว “บริเวณการปกครองของเดนส์” ก็ยังหมายถึงชุดกฎหมายและคำจำกัดความที่ระบุในสนธิสัญญาระหว่างพระมหากษัตริย์อังกฤษสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชและขุนศึกชาวเดนส์กูธรัมผู้อาวุโส (Guthrum the Old) ที่เขียนขึ้นหลังจากกูธรัมพ่ายแพ้ต่อพระเจ้าอัลเฟรดในยุทธการเอธาดัน (Battle of Ethandun) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเดนลอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เคนต์

นต์ (Kent) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร และเป็นหนึ่งใน “มณฑลรอบนครลอนดอน” (Home Counties) เคนต์มีเขตแดนติดกับอีสต์ซัสเซ็กซ์, เซอร์รีย์ และนครลอนดอนและปริมณฑล และมีปากแม่น้ำเทมส์ขวางกับเอสเซ็กซ์ มณฑลภูมิศาสตร์เคนต์ประกอบด้วยเทศบาลมณฑลเคนต์ และรัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวของเมดเวย์ เคนต์ตั้งอยู่ไม่ไกลจากฝรั่งเศสที่แยกโดยช่องแคบอังกฤษและครึ่งทางระหว่างอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษl เคนต์แบ่งการปกครองเป็นสิบสามแขวง: เซเวนโอกส์, ดาร์ทฟอร์ด, เกรฟแชม, ทันบริดจ์และมอลลิง, เมดเวย์, เมดสตัน, ทันบริดจ์เวลล์ส, สเวล, แอชฟอร์ด, แคนเตอร์บรี, เชปเวย์, เธนเน็ต และ โดเวอร์โดยมีเมืองหลวงของมณฑลอยู่ที่ เมดสตัน เดิมโรเชสเตอร์ และแคนเตอร์บรี เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครแต่ปัจจุบันเมืองหลังเท่านั้นที่ยังเป็นนคร ที่ตั้งของเคนต์ระหว่างลอนดอนและแผ่นดินใหญ่ยุโรปทำให้เป็นมณฑลหน้าด่านและเป็นยุทธภูมิในความขัดแย้งหลายครั้งเช่นในระหว่างยุทธการแห่งบริเตนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เคนต์ตะวันออกได้ชื่อว่าเป็น “Hell Fire Corner” ระหว่างความขัดแย้ง ระหว่าง 800 ปีที่ผ่านมาอังกฤษพึ่งเคนต์ในด้านกองเรือ ท่าเรือซิงก์ (Cinque Ports) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 14 และอู่เรือแช็ทแธมในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 20 มีความสำคัญต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของอังกฤษ ฝั่งทะเลฝรั่งเศสสามารถมองเห็นได้จากไวท์คลิฟฟ์สที่โดเวอร์ ในวันที่อากาศแจ่มใส เคนต์เป็นอาณาบริเวณที่มีการเกษตรกรรมในด้านสวนผลไม้และการปลูกฮอปที่ใช้ในการทำเบียร์ เคนต์ได้ชื่อว่าเป็น “สวนแห่งอังกฤษ” The Guardian 1 June 2006 BBC 1 June 2006 อุตสาหกรรมหลักของเคนต์ก็ได้แก่การทำซีเมนต์ สินค้ากระดาษ และการสร้างเรือบินแต่ความสำคัญของอุตสาหกรรมเหล่านี้ลดถอยลง ทางด้านใต้และตะวันออกขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเกษตรกรรม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์เดนมาร์กและเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »