โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประวัติศาสตร์สเปน

ดัชนี ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

444 ความสัมพันธ์: บัวโนสไอเรสบายาโดลิดชาร์ล มาร์แตลบาร์เซโลนาชาวบาสก์ชาวกรีกชาวมัวร์ชาวยิวชาววิซิกอทชาวอาหรับชาวแฟรงก์ชาวแวนดัลชาวโรมานีชาวไวกิงชาวเคลต์บาเลนเซียบิลบาโอชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาชนเบอร์เบอร์ช้างฟรันซิสโก ฟรังโกฟรันซิสโก โกยาฟินิเชียพ.ศ. 1019พ.ศ. 1050พ.ศ. 1117พ.ศ. 1127พ.ศ. 1130พ.ศ. 1167พ.ศ. 1176พ.ศ. 1252พ.ศ. 1254พ.ศ. 1261พ.ศ. 1265พ.ศ. 1275พ.ศ. 1293พ.ศ. 1387พ.ศ. 1528พ.ศ. 1543พ.ศ. 1574พ.ศ. 1628พ.ศ. 1672พ.ศ. 1690พ.ศ. 1713พ.ศ. 1755พ.ศ. 1934พ.ศ. 2012พ.ศ. 2017พ.ศ. 2022พ.ศ. 2035...พ.ศ. 2059พ.ศ. 2089พ.ศ. 2099พ.ศ. 2111พ.ศ. 2114พ.ศ. 2123พ.ศ. 2128พ.ศ. 2133พ.ศ. 2139พ.ศ. 2141พ.ศ. 2145พ.ศ. 2147พ.ศ. 2150พ.ศ. 2161พ.ศ. 2164พ.ศ. 2183พ.ศ. 2190พ.ศ. 2191พ.ศ. 2195พ.ศ. 2238พ.ศ. 2244พ.ศ. 2257พ.ศ. 2258พ.ศ. 2299พ.ศ. 2306พ.ศ. 2318พ.ศ. 2326พ.ศ. 2346พ.ศ. 2348พ.ศ. 2349พ.ศ. 2350พ.ศ. 2351พ.ศ. 2353พ.ศ. 2354พ.ศ. 2355พ.ศ. 2356พ.ศ. 2357พ.ศ. 2358พ.ศ. 2359พ.ศ. 2361พ.ศ. 2362พ.ศ. 2363พ.ศ. 2365พ.ศ. 2366พ.ศ. 2367พ.ศ. 2376พ.ศ. 2378พ.ศ. 2379พ.ศ. 2382พ.ศ. 2386พ.ศ. 2389พ.ศ. 2392พ.ศ. 2399พ.ศ. 2403พ.ศ. 2409พ.ศ. 2411พ.ศ. 2413พ.ศ. 2415พ.ศ. 2416พ.ศ. 2417พ.ศ. 2418พ.ศ. 2428พ.ศ. 2440พ.ศ. 2441พ.ศ. 2442พ.ศ. 2452พ.ศ. 2462พ.ศ. 2464พ.ศ. 2468พ.ศ. 2470พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2490พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2511พ.ศ. 2512พ.ศ. 2518พ.ศ. 2521พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2535พ.ศ. 2539พ.ศ. 2542พ.ศ. 2547พ.ศ. 2551พ.ศ. 903พ.ศ. 949พ.ศ. 952พ.ศ. 953พรรคประชาชน (สเปน)พรรคแรงงานสังคมนิยมสเปนพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 12 แห่งสเปนพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปนพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 6 แห่งสเปนพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีลพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปนพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษกฎหมายระหว่างประเทศกรานาดากรีซโบราณกวมกอร์โดบา (ประเทศสเปน)กอลกองพลน้อยนานาชาติกองกิสตาดอร์การสงครามกองโจรการากัสการต่อสู้ระหว่างชนชั้นการปฏิวัติฝรั่งเศสกาฬโรคกาดิซกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษภาษาบาสก์ภาษากาลิเซียภาษากาตาลาภาษาละตินภาษาสเปนภาษาอารันมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรแปซิฟิกมาลากามาดริดมาเรียโน ราฆอยมิลานมิเกล เด เซร์บันเตสมุสลิมมูซา อิบน์ นุศ็อยร์มนุษย์ม้ายิบรอลตาร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคสัมฤทธิ์ยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม)ยุคทองแดงยุคโลหะยุคเหล็กยุโรปกลางยุโรปใต้ยูโรระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐกวานาคัวโตรัฐร่วมประมุขรัฐซากาเตกัสรัฐแคลิฟอร์เนียรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบาราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชวงศ์ตรัสตามาราราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรกัสติยาราชอาณาจักรวิซิกอทราชอาณาจักรอารากอนราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรนาวาร์ราชอาณาจักรเลอองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญราฟาเอล เดล เรียโกรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนลัทธิฟาสซิสต์ลาตินอเมริกาลิสบอนลุฟท์วัฟเฟอวันสิ้นปีศาสนายูดาห์ศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์ศิลปะสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีลสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยาสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6สหภาพยุโรปสหภาพโซเวียตสหรัฐสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สหประชาชาติสาธารณรัฐโรมันสงครามกลางเมืองสเปนสงครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามสามสิบปีสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนสงครามอังกฤษ-สเปน (ค.ศ. 1585)สงครามคาบสมุทรสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสสงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามนโปเลียนสงครามแปดสิบปีสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามเจ็ดปีหมู่เกาะคะแนรีหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาหมู่เกาะแบลีแอริกอัลกออิดะฮ์อัลวะลีดที่ 1อัลอันดะลุสอารยธรรมมายาอำนาจอธิปไตยอนาธิปไตยอเมริกากลางฮันนิบาลฮิสเปเนียจักรพรรดิฮาดริอานุสจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิไตรยานุสจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเอากุสตุสจักรวรรดิสเปนจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิอินคาจักรวรรดินิยมจักรวรรดิแอซเท็กจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันตะวันตกจักรวรรดิโปรตุเกสจักรวรรดิไบแซนไทน์จังหวัดกรานาดาถ้ำอัลตามิราทวีปยุโรปทวีปอเมริกาทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาเหนือทวีปแอฟริกาทองคำทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทาสข้าวสาลีดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝันดัชชีซาวอยดามัสกัสดิเอโก เบลัซเกซดีบุกดนตรียุคบาโรกคริสต์ศตวรรษที่ 10คริสต์ศตวรรษที่ 13คริสต์ศตวรรษที่ 14คริสต์ศตวรรษที่ 15คริสต์ศตวรรษที่ 16คริสต์ศตวรรษที่ 17คริสต์ศตวรรษที่ 18คริสต์ศตวรรษที่ 19คริสต์ศตวรรษที่ 20คริสต์ศตวรรษที่ 3คริสต์ศตวรรษที่ 4คริสต์ศตวรรษที่ 5คริสต์ศตวรรษที่ 8คริสต์ทศวรรษ 1640คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสคอร์ซิกาคาบสมุทรอิตาลีคาบสมุทรไอบีเรียคาร์เธจตะกั่วตะวันออกกลางตูลูซซากุนโตซาราโกซาประชาคมเศรษฐกิจยุโรปประวัติศาสตร์ยุโรปประเทศบราซิลประเทศชิลีประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฝรั่งเศสประเทศสเปนประเทศออสเตรียประเทศอังกฤษประเทศอาร์เจนตินาประเทศอิรักประเทศอิตาลีประเทศอินเดียประเทศอิเควทอเรียลกินีประเทศคิวบาประเทศปาเลาประเทศโมร็อกโกประเทศโคลอมเบียประเทศโปรตุเกสประเทศเบลเยียมประเทศเม็กซิโกประเทศเยอรมนีประเทศเอกวาดอร์ประเทศเปรูประเทศเนเธอร์แลนด์ปลาปวยร์โตรีโกปารีสปาตาโกเนียนายกรัฐมนตรีสเปนนาซีเยอรมนีนิวสเปนนีแอนเดอร์ทาลน้ำมันมะกอกแบกแดดแม่น้ำกัวดัลกิบีร์แม่น้ำดานูบแม่น้ำโดรูแม่น้ำไรน์แม่น้ำเอโบรแอฟริกาเหนือแคว้นบาเลนเซียแคว้นกัสติยา-ลามันชาแคว้นกัสติยาและเลออนแคว้นกันตาเบรียแคว้นกาลิเซียแคว้นกาตาลุญญาแคว้นภูมิภาคมูร์เซียแคว้นมาดริดแคว้นลาริโอฆาแคว้นอัสตูเรียสแคว้นอันดาลูซิอาแคว้นอารากอนแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปนแคว้นปกครองตนเองซิซิลีแคว้นประเทศบาสก์แคว้นนาวาร์แคว้นเอซเตรมาดูราโบฮีเมียโรมโรมันคาทอลิกโรมโบราณโลกรอญโญโลกใหม่โอบิเอโดโอลิมปิกฤดูร้อน 1992โฮเซ เด ซาน มาร์ตินโฌแซ็ฟ โบนาปาร์ตโจรสลัดบาร์บารีโฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโรโตเลโดโปรเตสแตนต์ไม้ไวน์เบนิโต มุสโสลินีเมริดา (ประเทศสเปน)เมลียาเรกองกิสตาเลฟ เอริกสันเวสเทิร์นสะฮาราเศรษฐศาสตร์เอลซิดเอลเกรโกเอลเอสโกเรียลเอตาเอเชียกลางเอเชียตะวันออกเทววิทยาเทือกเขาพิเรนีสเทือกเขาแอลป์เทือกเขาแอนดีสเดอะนิวยอร์กไทมส์เดนมาร์ก–นอร์เวย์เคาะลีฟะฮ์เงินตราเซบิยาเซวตาเนโทเนเธอร์แลนด์ของสเปนเนเปิลส์1 มกราคม11 กุมภาพันธ์11 มีนาคม14 มีนาคม17 กรกฎาคม19 มีนาคม20 พฤศจิกายน22 พฤศจิกายน23 กุมภาพันธ์28 มีนาคม28 ตุลาคม9 มีนาคม ขยายดัชนี (394 มากกว่า) »

บัวโนสไอเรส

กรุงบัวโนสไอเรส บัวโนสไอเรส (Buenos Aires, บเว-โน-ไซ-เรส) เป็นเมืองหลวง เมืองใหญ่ที่สุด และเมืองท่าของประเทศอาร์เจนตินา ตั้งอยู่ที่พิกัดภูมิศาสตร์ ริมชายฝั่งทางใต้ของรีโอเดลาปลาตา (Río de la Plata) บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปอเมริกาใต้ ตรงข้ามกับเมืองโกโลเนียเดลซากราเมนโต ประเทศอุรุกวัย เนื่องจากได้รับวัฒนธรรมยุโรปมาอย่างเข้มข้น บางครั้งบัวโนสไอเรสจึงถูกเรียกว่า "ปารีสใต้" หรือ "ปารีสแห่งอเมริกาใต้" เมืองนี้เป็นเมืองสมัยใหม่ที่สุดแห่งหนึ่งในลาตินอเมริกา โดยมีชื่อเสียงด้านสถาปัตยกรรม ชีวิตกลางคืน และกิจกรรมทางวัฒนธรรม หลังจากความขัดแย้งภายในในคริสต์ศตวรรษที่ 19 บัวโนสไอเรสได้ถูกยกฐานะให้มีลักษณะเป็นเขตสหพันธ์และแยกออกจากรัฐบัวโนสไอเรส; อาณาเขตของเมืองขยายครอบคลุมบริเวณเมืองเก่าเบลกราโน (Belgrano) และโฟลเรส (Flores) ซึ่งปัจจุบันทั้งสองเป็นย่านรอบ ๆ ของเมือง บางครั้งชาวอาร์เจนตินาเรียกเมืองนี้ว่ากาปีตัลเฟเดรัล (Capital Federal) เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างชื่อเมืองนี้กับรัฐบัวโนสไอเรสที่มีชื่อเดียวกัน ในรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2537 เมืองนี้ถูกประกาศเป็น นครปกครองตนเอง ดังนั้น ชื่อทางการของเมืองนี้คือ "นครปกครองตนเองบัวโนสไอเรส" (Ciudad Autónoma de Buenos Aires) หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:เมืองในประเทศอาร์เจนตินา หมวดหมู่:บัวโนสไอเรส.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและบัวโนสไอเรส · ดูเพิ่มเติม »

บายาโดลิด

ปลาซามายอร์ (จัตุรัสหลัก) และศาลาว่าการของเมืองบายาโดลิด บายาโดลิด (Valladolid) เป็นเมืองอุตสาหกรรมในที่ราบภาคกลางค่อนไปทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปีซวยร์กา ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำดวยโร ในเขตทำไวน์ที่ชื่อว่ารีเบราเดลดวยโร (Ribera del Duero) โดยมีฐานะเป็นเมืองหลักของทั้งจังหวัดบายาโดลิดและแคว้นกัสติยา-เลออน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและบายาโดลิด · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล มาร์แตล

ร์ล มาร์แตล (Charles Martel; ราว ค.ศ. 688 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 741) เป็นผู้นำทางการทหารและการเมืองของชาวแฟรงก์ ดำรงมีตำแหน่งสมุหราชมนเทียรในสมัยราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง และเป็นประมุขในทางพฤตินัยในช่วงว่างระหว่างรัชกาล ค.ศ. 737 ถึง ค.ศ. 743 ในบั้นปลายของชีวิตโดยใช้ตำแหน่ง “ดยุกและเจ้าชายแห่งชาวแฟรงก์” ในปี ค.ศ. 739 พระสันตะปาปาเสนอให้รับตำแหน่งกงสุลแต่ชาร์ลไม่ยอมรับ ชื่อเสียงที่ทำให้ชาร์ลเป็นผู้ที่เป็นที่รู้จักกันดีต่อมาการที่ได้รับชัยชนะในยุทธการที่ตูร์ในปี ค.ศ. 732 732 ซึ่งเป็นยุทธการที่เป็นการหยุดยั้งการรุกรานของกองทัพมุสลิมขึ้นมาทางเหนือและทางตะวันตกของยุโรป ชาร์ลเป็นนักการทหารผู้มีความสามารถ—พ่ายแพ้ในยุทธการเพียงยุทธการเดียวในชีวิตการต่อสู้ในยุทธการที่โคโลญ ชาร์ลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในยุคกลาง และเชื่อกันว่ามีส่วนก่อให้เกิดระบบเจ้าขุนมูลนายและระบบอัศวินและวางรากฐานของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงFouracre, John.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาร์ล มาร์แตล · ดูเพิ่มเติม »

บาร์เซโลนา

ร์เซโลนา (Barcelona) หรือ บาร์ซาโลนา (Barcelona) เป็นเมืองหลักของแคว้นกาตาลุญญา และเป็นเมืองใหญ่อันดับสองทั้งในด้านขนาดและประชากรของประเทศสเปน มีประชากรในตัวเมือง 1,620,943 คน แต่ถ้านับปริมณฑลโดยรอบอาจมากกว่า 4 ล้านคน ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของคาบสมุทรไอบีเรีย ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษา คือ ภาษากาตาลาและภาษาสเปน บาร์เซโลนาเป็นเมืองท่าสำคัญ และเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นอาณานิคมของโรมันมาก่อน เคยถูกยึดครองโดยชาติต่าง ๆ หลายครั้ง รวมทั้งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2183 บาร์เซโลนาเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวยามราตรีที่รื่นเริงสนุกสนาน บาร์เซโลนามีสถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่สำคัญมากมาย อาคารแบบนวศิลป์ที่ดูแปลกประหลาดออกแบบโดยสถาปนิกชาวสเปนชื่ออันตอนี เกาดี นับเป็นจุดดึงดูดด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญเมื่อปี พ.ศ. 2535 บาร์เซโลนาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 22 และเมื่อ พ.ศ. 2431 เคยเป็นที่จัดงานแสดงสินค้าโลก (World's Fair) บาร์เซโลนามีสโมสรกีฬาที่สำคัญคือ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาและแอร์ราเซเด อัสปัญญอล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและบาร์เซโลนา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบาสก์

วบาสก์ (euskaldunak, vascos, basques) เป็นชนเผ่าหนึ่งอาศัยอยู่ทางตะวันตกของเทือกเขาพิเรนีส บนชายฝั่งอ่าวบิสเคย์และข้ามไปถึงทางตอนเหนือ-กลางของประเทศสเปน และทางใต้-ตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส พวกบาสก์โดยทั่วไปเป็นพวกนับถือศาสนาคริสต์ที่เคร่งมากและมีภาษาเป็นของตนเองซึ่งแตกต่างจากสเปนและฝรั่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวกรีก

วกรีก (Έλληνες) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการกระจายที่กรีซ, ไซปรัส, อานาโตเลียตะวันตก, อิตาลีใต้ และอีกหลายภูม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวกรีก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมัวร์

ชาวมัวร์ (Moors) ในยุคกลาง คำว่า “มัวร์” เป็นคำที่หมายถึงชนมุสลิมที่อาศัยอยู่ที่คาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือซึ่งเดิมเป็นชนอาหรับ หรือ เบอร์เบอร์ คำนี้ใช้เฉพาะในการอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันคำนี้ไม่ใช้แล้ว คำนี้จะใช้กล่าวถึงชนมุสลิมในประเทศสเปนแม้แต่ในปัจจุบันนี้ถึงแม้ว่าจะเป็นคำโบราณและไม่ถูกต้อง เพราะคำนี้รวมชนมุสลิมและชนที่ไม่ใช่มุสลิมที่เป็นชาวอาหรับ เบอร์เบอร์ และชาวอาฟริกาอื่นๆ หรือบางครั้งก็รวมชนมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรียด้วย ในภาษาสเปนคำนี้เป็นคำที่ถือผิว หมวดหมู่:ชาวอาหรับ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาววิซิกอท

้นทางการอพยพของชาววิซิกอท วิซิกอท (Visigoths, Visigothi, Wisigothi, แปลว่า "กอทตะวันตก") เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของชาวกอท ซึ่งเป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกกลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือชาวออสโตรกอทหรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบประเทศยูเครนในปัจจุบัน ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชนกลุ่มชนเจอร์มานิคต่าง ๆ ที่เข้ามารุกรานจักรวรรดิโรมันตอนปลายในสมัยการอพยพ เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชนชาวฮัน ที่มาจากเอเชียกลาง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 410 กองทัพวิซิกอทที่นำโดยพระเจ้าอาลาริกที่ 1 ประสบความสำเร็จในการพิชิตกรุงโรม และหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกเป็นต้นมา ชาววิซิกอทก็มีบทบาทสำคัญในด้านต่าง ๆ ของภูมิภาคยุโรปตะวันตกอยู่เป็นเวลานานถึงสองศตวรรษครึ่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาววิซิกอท · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาหรับ

วอาหรับ (عرب) เป็นกลุ่มชนเซมิติกที่พูดภาษาอาหรับโดยมีประชากรอาศัยในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือ ซึ่งกลุ่มชาวอาหรับประกอบด้วยชาวเลบานอน, ชาวซีเรีย, ชาวเอมิเรตส์, ชาวกาตาร์, ชาวซาอุดี, ชาวบาห์เรน, ชาวคูเวต, ชาวอิรัก, ชาวโอมาน, ชาวจอร์แดน, ชาวปาเลสไตน์, ชาวเยเมน, ชาวซูดาน, ชาวแอลจีเรีย, ชาวโมร็อกโก, ชาวตูนีเซีย, ชาวลิเบีย และชาวอียิปต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแวนดัล

การโจมตีกรุงโรม โดยไฮน์ริช ลอยเตอมันน์ ราว ค.ศ. 1860–ค.ศ. 1880 กลุ่มชนเจอร์แมนิกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 แวนดัล/ลูกีอี สีเขียวในบริเวณโปแลนด์ปัจจุบัน แวนดัล (Vandals) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์แมนิกตะวันออกที่เข้ามามีบทบาทในตอนปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์ชาวกอทพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าแผ่นดินของชาวออสโตรกอทและผู้สำเร็จราชการของชาววิซิกอทเป็นพันธมิตรของแวนดัลโดยการสมรส และเป็นพันธมิตรกับเบอร์กันดีและแฟรงก์ภายใต้การปกครองของโคลวิสที่ 1 แวนดัลอาจจะมีชื่อเสียงจากการโจมตีกรุงโรม (Sack of Rome) ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวแวนดัล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโรมานี

รมานี (Rromane, Romani people หรือ Romany หรือ Romanies หรือ Romanis หรือ Roma หรือ Roms) หรือมักถูกเรียกโดยผู้อื่นว่า ยิปซี (Gypsy) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ของยุโรปที่สืบเชื้อสายมาจากยุคกลางของอินเดีย (Middle kingdoms of India) โรมานีเป็นชนพลัดถิ่น (Romani diaspora) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มโรมาซึ่งเป็นชนกลุ่มย่อยในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และกลุ่มใหม่ที่ไปตั้งถิ่นฐานในอเมริกา และบางส่วนในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ภาษาโรมานีแบ่งออกไปเป็นสาขาท้องถิ่นหลายสาขาที่มีผู้พูดราวกว่าสองล้านคน แต่จำนวนประชากรที่มีเชื้อสายโรมานีทั้งหมดมากกว่าผู้ใช้ภาษากว่าสองเท่า ชาวโรมานีอื่นพูดภาษาของท้องถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานหรือภาษาผสมระหว่างภาษาโรมานีและภาษาท้องถิ่นที่พำนัก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวโรมานี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเคลต์

ริเวณที่ยังมีการใช้ภาษากลุ่มเคลต์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน เคลต์ หรือ เซลต์ (Celts; หรือ) เป็นคำที่ใช้เรียกชนยุโรปที่เดิมพูดหรือยังพูดภาษากลุ่มเคลต์ (Celtic languages) นอกจากนั้นก็ยังเป็นคำที่ใช้ในความหมายกว้าง ๆ ในการบรรยายผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวเคลต์ที่ยังคงรักษาวัฒนธรรมเคลต์อยู่ เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มในยุคเหล็กยุโรป อารยธรรมเคลต์ดั้งเดิมเริ่มก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัยวัฒนธรรมฮัลล์ชตัทท์ที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตรียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแตน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึงไอร์แลนด์และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่กาเลเชีย (Galatia) (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์ หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยู่ในคำจารึกในภาษาเลพอนติค (Lepontic language) จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรปมีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ กลุ่มภาษาเคลต์เกาะ (Insular Celtic) ปรากฏในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ในคำจารึกออกัม (Ogham inscription) อารยธรรมทางวรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ภาษาไอริชเก่าตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น "Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังการขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและสมัยการย้ายถิ่นฐาน (Migration Period) ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดอยู่แต่เพียงหมู่เกาะบริติช (ภาษาเคลต์เกาะ) และภาษาเคลต์ยุโรปก็หยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และบริตตานีบนสองฝั่งของช่องแคบอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชาวเคลต์ · ดูเพิ่มเติม »

บาเลนเซีย

ลาว่าการเมือง บาเลนเซีย (Valencia) มีชื่อทางการและชื่อท้องถิ่นว่า วาเล็นซิอา (บาเลนเซีย: València) เป็นเมืองหลวงของแคว้นบาเลนเซียและจังหวัดบาเลนเซีย เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศสเปนและเป็นย่านอุตสาหกรรมใหญ่ริมชายฝั่งโกสตาเดลอาซาอาร์ (Costa del Azahar) ในปี พ.ศ. 2549 เฉพาะเมืองนี้มีจำนวนประชากรคือ 807,396 คน ส่วนประชากรในเขตมหานคร (เขตเมืองรวมกับเมืองบริวาร) มีจำนวน 1,807,396 คน เมืองบาเลนเซียมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน มีฤดูร้อนที่แห้งอบอุ่นและอากาศหนาวที่ไม่รุนแรง มีสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงคือ สโมสรฟุตบอลบาเลนเซี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

บิลบาโอ

ตลาดลาริเบรา (La Ribera) ในเขตเมืองเก่า บิลบาโอ (Bilbao) บางครั้งเรียกว่า บิลโบ (Bilbo) ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศสเปน เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในแคว้นประเทศบาสก์และเป็นเมืองหลักของจังหวัดบิซกายา ตั้งขึ้นในวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1300 (พ.ศ. 1843) โดยดอนดิเอโก โลเปซ เด อาโรที่ 5 (Don Diego Lopez de Haro V) ลอร์ดแห่งบิซกายา เมืองบิลบาโอเป็นบริเวณที่มีความคล่องตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมมากที่สุดของมหานครบิลบาโอซึ่งเป็นบริเวณที่มีประชากรจำนวนเกือบครึ่งของแคว้นประเทศบาสก์อาศัยอยู่ เฉพาะตัวเมืองมีประชากร 351,629 คน (ค.ศ. 2012) ส่วนในเขตมหานครบิลบาโอและปริมณฑลมีจำนวนประชากรประมาณ 950,000 คน โดยอาศัยอยู่หนาแน่นตลอดความยาวของแม่น้ำเนร์บิออน (Nervión) สองฝั่งของแม่น้ำสายนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงงานและธุรกิจจำนวนมาก ซึ่งได้นำความเจริญมั่งคั่งมาสู่พื้นที่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและบิลบาโอ · ดูเพิ่มเติม »

ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา

วาดของชนกลุ่มน้อยหลากหลายกลุ่มในอเมริกา ก่อนยุคศตวรรษที่ 20 ชาวอินเดียนแดง ชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา หรือ อินเดียนแดง หรือ ชนพื้นเมืองชาวอเมริกัน (Indigenous people of the Americas หรือ Red Indian หรือ Native American) เป็นกลุ่มคนที่อาศัยในทวีปอเมริกามานานก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามาอพยพย้ายถิ่นฐานมาตั้งรกราก ในอดีตได้มีสงครามเกิดขึ้นมากมายในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ในการแย่งชิงดินแดน การต่อสู้ รวมถึงการค้าที่เกิดขึ้นระหว่างชาวยุโรป กับชาวอินเดียนแดง ในปัจจุบันชาวอินเดียนแดงบางกลุ่มอาศัยรวมอยู่กับชาวอเมริกันทั่วไป และบางกลุ่มได้จัดตั้งพื้นที่อาศัยในเขตสงวนอินเดียนแดง คำว่าอินเดียนแดงนั้น ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า Indian หรือ Native American โดยในอดีตได้ใช้คำว่า Red Indian แต่ได้เลิกใช้แล้วโดยถือว่าเป็นคำไม่สุภาพในการกล่าวถึง แบ่งออกเป็น 3 เผ่าใหญ่ ได้แก่ เผ่ามายา เผ่าแอซแทค และเผ่าอิน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชนเบอร์เบอร์

นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและชนเบอร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง

รงกระดูกช้างแอฟริกา ช้าง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่วงศ์ Elephantidae โดยแบ่งเป็นสองสกุล ได้แก่ Elephas และ Loxodonta ช้างในปัจจุบันเหลือ 3 สปีชีส์ คือ ช้างแอฟริกา, ช้างป่าแอฟริกา และช้างเอเชีย (หรือที่รู้จักกันในชื่อ ช้างอินเดีย) ส่วนสปีชีส์และสกุลอื่นของวงศ์ Elephantidae ล้วนสูญพันธุ์ไปหมดแล้ว บางสปีชีส์หรือสกุลสูญพันธุ์ไปตั้งแต่ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุด ถึงแม้ว่าช้างแมมมอธในรูปแคระอาจสืบสายพันธุ์ต่อมาจนถึง 2,000 ปีก่อนคริสตกาล ช้างและสัตว์ในวงศ์ Elephantidae อื่น ๆ เคยถูกจัดเป็นประเภทเดียวกับสัตว์หนังหนาอื่น ๆ ชื่อว่าอันดับ Pachydermata ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว ช้างนับเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ใช้เวลาการตั้งครรภ์ถึง 22 เดือน ซึ่งนับว่านานที่สุดในบรรดาสัตว์บกทุกชนิด ช้างแรกเกิดมีน้ำหนักเฉลี่ย 120 กิโลกรัม มีอายุขัยอยู่ระหว่าง 50 ถึง 70 ปี แต่ช้างอายุมากที่สุดที่เคยบันทึกไว้มีอายุถึง 109 ปี ช้างขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกไว้อาศัยอยู่ในแองโกลาในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก ฟรังโก

ฟรันซิสโก เปาลีโน เอร์เมเนคิลโด เตโอดูโล ฟรังโก อี บาอามอนเด ซัลกาโด ปาร์โด (Francisco Paulino Hermenegildo Teódulo Franco y Bahamonde Salgado Pardo) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ จอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก (Francisco Franco) และ เอลโกว์ดีโย หรือ "ท่านผู้นำ" (El Coudillo) (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2435 - ถึงแก่กรรม 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) เป็นจอมพลและผู้เผด็จการชาวสเปนในช่วงปี พ.ศ. 2479-2518 เกิดที่เมืองเอลเฟร์โรล แคว้นกาลิเซีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยโตเลโดในปี พ.ศ. 2453 ได้รับประสบการณ์ในการรบเป็นอย่างมากในสงครามโมร็อกโก และได้เป็นนายพลที่หนุ่มที่สุดของประเทศสเปนเมื่อปี พ.ศ. 2469 ระหว่างสมัยสาธารณรัฐสเปนที่ 2 (พ.ศ. 2474-2479) ฟรังโกได้เป็นผู้นำทำการปราบปรามกบฏชาวเหมืองอัสตูรีอัส และในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและฟรันซิสโก ฟรังโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก โกยา

ฟรันซิสโก โกยา ฟรันซิสโก โกยา (Francisco Goya) ชื่อเต็ม ฟรันซิสโก โคเซ เด โกยา อี ลูเซียนเตส (Francisco José de Goya y Lucientes) 30 มีนาคม พ.ศ. 2289 (ค.ศ. 1746) - 16 เมษายน พ.ศ. 2371 (ค.ศ. 1828) จิตรกรและศิลปินภาพพิมพ์แนวศิลปะจินตนิยม (Romanticism) ชาวสเปน ได้รับการยกย่องว่าทั้งเป็น "Old Master" คนสุดท้ายและเป็นศิลปินแนวสมัยใหม่คนแรก เขาวาดทิวทัศน์งดงามในสไตล์โรโคโคได้อย่างสมบูรณ์แบบไม่เหมือนจิตรกรชาวสเปนท่านอื่น ฟรันซิสโก โกยา เป็นแรงบันดาลใจให้กับศิลปินรุ่นหลังในแนวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น แนวสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionist) หรือ แนวเหนือจริง (Surrealist) ต่างได้รับแรงบันดาลใจจากฟรานซิสโก เด โกยาทั้งสิ้น เขาถูกแต่งตั้งให้เป็นจิตรกรราชสำนักคนแรกของสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและฟรันซิสโก โกยา · ดูเพิ่มเติม »

ฟินิเชีย

ฟินิเชีย (Phoenicia) เป็นเซเมติกสาขาหนึ่ง อพยพมาจากทะเลทรายอาหรับ เมื่อประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล เข้ามาตั้งหลักแหล่งในบริเวณตะวันตกของทวีปเอเชียบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มปัญญาชนของเอเชียตะวันตก สร้างเมืองสำคัญ ๆ เช่น ไทรน์ ไซดอน ไบบลอส เป็นพวกที่ร่ำรวย มีชื่อเสียงทางด้านการเดินเรือและค้าขาย มีการตั้งอาณานิคมในส่วนอื่น ๆ เช่น กาดิซในสเปน คาร์เทจทางตอนเหนือของแอฟริกา มรดกชิ้นสำคัญของชาวฟินิเชียคือ ตัวอักษร ซึ่งกรีกและลาตินใช้เป็นแบบในการสร้างตัวอักษรของตนในสมัยต่อมา ตัวอักษรในยุโรปปัจจุบันก็มาจากตัวอักษรเหล่านี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1019

ทธศักราช 1019 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1019 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1050

ทธศักราช 1050 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1050 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1117

ทธศักราช 1117 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1117 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1127

ทธศักราช 1127 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1127 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1130

ทธศักราช 1130 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1130 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1167

ทธศักราช 1167 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1167 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1176

ทธศักราช 1176 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1176 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1252

ทธศักราช 1252 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1252 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1254

ทธศักราช 1254 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1254 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1261

ทธศักราช 1261 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1261 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1265

ทธศักราช 1265 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1265 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1275

ทธศักราช 1275 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1275 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1293

ทธศักราช 1293 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1293 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1387

ทธศักราช 1387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1387 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1528

ทธศักราช 1528 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1543

ทธศักราช 1543 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1574

ทธศักราช 1574 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1574 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1628

ทธศักราช 1628 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1628 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1672

ทธศักราช 1672 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1672 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1690

ทธศักราช 1690 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1690 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1713

ทธศักราช 1713 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1713 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1755

ทธศักราช 1755 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1755 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1934

ทธศักราช 1934 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2012

ทธศักราช 2012 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2017

ทธศักราช 2017 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2022

ทธศักราช 2022 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2022 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2035 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2059

ทธศักราช 2059 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2059 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2089

ทธศักราช 2089 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2089 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2099

ทธศักราช 2099 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2099 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2111

ทธศักราช 2111 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2111 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2114

ทธศักราช 2114 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2114 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2123

ทธศักราช 2123 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2123 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2133

ทธศักราช 2133 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2133 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2139

ทธศักราช 2139 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2139 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2141

ทธศักราช 2141 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2141 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2145

ทธศักราช 2145 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2145 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2147

ทธศักราช 2147 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2147 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2161

ทธศักราช 2161 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2161 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2164

ทธศักราช 2164 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2164 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2183

ทธศักราช 2183 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2183 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2190

ทธศักราช 2190 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2190 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2191

ทธศักราช 2191 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2191 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2195

ทธศักราช 2195 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2195 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2238

ทธศักราช 2238 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2238 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2244

ทธศักราช 2244 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2244 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2257

ทธศักราช 2257 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2257 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2258

ทธศักราช 2258 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2258 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2299

ทธศักราช 2299 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2299 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2318

ทธศักราช 2318 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2318 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2348 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2349

ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2349 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2350

ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2350 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2353

ทธศักราช 2353 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2353 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2355 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2356 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2357 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2361

ทธศักราช 2361 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2361 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2362

ทธศักราช 2362 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2362 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2365

ทธศักราช 2365 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2365 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2366

ทธศักราช 2366 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2366 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2376

ทธศักราช 2376 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2376 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2378

ทธศักราช 2378 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1835.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2378 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2379

ทธศักราช 2379 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1836 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2379 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2382

ทธศักราช 2382 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1839.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2382 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2386

ทธศักราช 2386 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2386 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2389

ทธศักราช 2389 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1846 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2389 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2392

ทธศักราช 2392 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2392 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2409

ทธศักราช 2409 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1866.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2409 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2417

ทธศักราช 2417 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1874.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2417 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2428 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2440

ทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2440 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2441 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2442 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 903

ทธศักราช 903 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 360.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 903 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 949

ทธศักราช 949 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 406.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 949 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 952

ทธศักราช 952 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 409.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 952 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 953

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพ.ศ. 953 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชน (สเปน)

รรคประชาชน (Partido Popular หรือย่อว่า PP) เป็นพรรคการเมืองที่มีอุดมการณ์ประชาธิปไตยคริสเตียน และอนุรักษนิยม ในประเทศสเปน และเป็นหนึ่งในสองพรรคใหญ่ในการเมืองสเปน พรรคก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพรรคประชาชน (สเปน) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแรงงานสังคมนิยมสเปน

พรรคแรงงานสังคมนิยมสเปน (Partido Socialista Obrero Español; Spanish Socialist Workers' Party) หรือชื่อย่อ เปโซเอ (PSOE) เป็นพรรคการเมืองที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของประเทศสเปน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2422 ปัจจุบันหัวหน้าพรรคคือ นายเปโดร ซันเชซ จากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2551 พรรคแรงงานสังคมนิยมสเปนได้คะแนนเสียงมากเป็นอันดับหนึ่ง คือ 11,064,524 เสียง และได้ที่นั่งทั้งหมด 169 ที่นั่ง จากทั้งหมด 350 ที่นั่ง ทำให้นายโฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร ได้เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศต่ออีกสมัยหนึ่ง จนกระทั่งพ่ายแพ้การเลือกตั้งให้กับพรรคประชาชนในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 หมวดหมู่:พรรคการเมืองสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพรรคแรงงานสังคมนิยมสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 12 แห่งสเปน

ระเจ้าอัลฟอนโซที่ 12 แห่งสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 12 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน

ระเจ้าเฟรนานโดที่ 2, พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน หรือ พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 5 แห่งคาสตีล (สเปน: Fernando II de Aragón, อังกฤษ: Ferdinand II of Aragon; 10 มีนาคม พ.ศ. 1995 - 23 มกราคม พ.ศ. 2059) เป็นกษัตริย์แห่งอารากอน (พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2059), กษัตริย์แห่งซิชิลี (พ.ศ. 2011 - พ.ศ. 2059) กษัตริย์แห่งเนเปิลส์ (พ.ศ. 2047 - พ.ศ. 2059) กษัตริย์แห่งวาเลนเซีย ซาร์ดิเนีย เคานท์แห่งบาร์เซโลนา, กษัตริย์แห่งคาสตีล (พระสวามีในพระราชินีนาถแห่งคาสตีล) (พ.ศ. 2017 - พ.ศ. 2047) และหลังจากนั้นก็เป็นกษัตริย์อย่างแท้จริงแต่แท้จริงแล้วผู้ที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งคาสตีลคือพระธิดาของพระองค์ เจ้าหญิงโจแอนนาผู้วิปล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 6 แห่งสเปน

พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 6 แห่งสเปน (สเปน; เฟอร์นันโดที่ 6; 23 กันยายน ค.ศ. 1713 - 10 สิงหาคม ค.ศ. 1759) หรือเรียกกันว่า ผู้เรียนรู้ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์สเปน ระหว่าง 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1746 จนกระทั่งสวรรคต ทรงเป็นพระโอรสพระองค์ที่สี่ในพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนกับพระมเหสีพระองค์แรกมาเรีย ลุยซาแห่งซาวอย พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 3 เป็นประมุขพระองค์ที่สามของราชวงศ์บูร์บง ประสูติในกรุงมาดริด 23 กันยายน ค.ศ. 1713 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 6 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 แห่งสเปน (Fernando VII de España) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 12 แห่งราชอาณาจักรสเปน พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1784 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปนกับมารีอา ลุยซา แห่งปาร์มา พระองค์ทรงครองราชย์สมบัติสเปนถึงสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อ 19 มีนาคม ค.ศ. 1808 - 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1808 พระองค์ถูกบังคับให้สละราชสมบัติเนื่องจากรัฐบาลของพระองค์อ่อนแอ ครองราชย์ครั้งที่ 2 เมื่อ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1813 - 29 กันยายน ค.ศ. 1833.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล

ระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Felipe el Hermoso; Philipp der Schöne; Philippe le Beau; Filips de Schone, Philip I of Castile หรือ Philip the Handsome หรือ Philip the Fair) (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1478 - 25 กันยายน ค.ศ. 1506) ฟิลิปผู้ได้รับพระฉายาว่า "ฟิลิปผู้ทรงโฉม" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ แมรีแห่งเบอร์กันดี พระองค์ทรงได้รับดินแดนส่วนใหญ่ของดัชชีแห่งเบอร์กันดี และเนเธอร์แลนด์ของเบอร์กันดี (ในพระนาม "ฟิลิปที่ 4 แห่งเบอร์กันดี") จากพระราชมารดา และทรงได้ครองราชอาณาจักรคาสตีลอยู่ชั่วระยะหนึ่งเมื่อทรงเสกสมรสกับโจแอนนาแห่งคาสตีล ฟิลิปทรงเป็นราชตระกูลฮับส์บวร์กพระองค์แรกที่ได้ครองสเปน และผู้ครองสเปนต่อมาทรงรู้จักพระองค์ในพระนามว่า "พระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งสเปน" แต่ฟิลิปไม่ทรงได้รับดินแดนอื่นๆ ของพระราชบิดาหรือได้เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เพราะมาเสด็จสวรรคตเสียก่อนพระร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟลีเปที่ 1 แห่งคาสตีล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน

ระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน (14 เมษายน ค.ศ. 1578 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1621) หากเมื่อเรียกพระนามตามแบบสเปน ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปน และ พระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส ประสูติเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1578 ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน ที่ประสูติแต่สมเด็จพระราชินีแอนนาแห่งสเปน และยังทรงเป็นเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ต่อมาเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี ค.ศ. 1598 พระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาในวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1598 ขณะที่พระชนม์ได้ 20 พรรษาพอดี ทรงครองราชย์ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งสเปนเป็นระยะเวลา 23 ปี ทรงอภิเสกสมรสกับเจ้าหญิงมากาเร็ตแห่งออสเตรีย พระเชษฐภคินีของสมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสวรรคตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1621 ขณะพระชนม์ได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน

ระปรมาภิไธยของพระองค์ พระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฟิลิปที่ 4 แห่งสเปน เมื่อเรียกพระนามตามแบบอังกฤษ (สเปน: Felipe IV; อังกฤษ: Philip IV) ทรงปกครองทั้งสเปนและโปรตุเกสในฐานะ พระมหากษัตริย์สเปนและโปรตุเกส ทรงดำรงพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสถึง ค.ศ. 1640 พระมหากษัตริย์พระองค์ต่อไปคือ พระเจ้าโจอาวที่ 4 แห่งโปรตุเกส ตั้งแต่ ค.ศ. 1621 - ค.ศ. 1665 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเฟลีเปที่ 3 แห่งสเปน และ เจ้าหญิงมากาเร็ตแห่งออสเตรีย เป็นพระอนุชาของสมเด็จพระราชินีอานน์แห่งฝรั่งเศส http://www.britannica.com/EBchecked/topic/26258/Anne-of-Austriaและทรงเป็นน้าของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส อีกด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟลีเปที่ 4 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน

ระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน (Felipe V de España, Philip V II of Spain, filippo v di spagna, philippe v roi d'espagne) (19 ธันวาคม ค.ศ. 1683 - 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1746) เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส และดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย ประสูติ ณ พระราชวังแวร์ซายส์ และเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงขึ้นครองราชย์ ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (Henry VIII of England) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ 21 เมษายน 1509 จนสวรรคต นอกจากนี้ยังทรงเป็นชาวอังกฤษพระองค์แรกที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ และยังเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสอีกด้วย พระเจ้าเฮนรีทรงเป็นกษัตริย์รัชกาลที่สองของราชวงศ์ทิวดอร์ ซึ่งครองราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา พระเจ้าเฮนรีที่ 7 นอกจากการอภิเษกสมรสทั้ง 6 ครั้งและความสัมพันธ์กับสตรีนอกสมรสแล้ว อีกหนึ่งเรื่องราวสำคัญในรัชสมัยของพระองค์คือการประกาศให้การอภิเษกกับแคเธอรีนแห่งอารากอน มเหสีคนแรกเป็นโมฆะ ซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งกับพระสันตะปาปา และนำประเทศไปสู่การแยกตัวออกจากศาสนจักรโรมันคาทอลิก โดยการสถาปนาคริสตจักรแห่งอังกฤษขึ้นมาแทน ซึ่งเป็นคริสตจักรที่ไม่ขึ้นกับพระสันตะปาปา และถือเอาตัวพระองค์เองในฐานะกษัตริย์เป็น "ประมุขสูงสุดของคริสตจักรในอังกฤษ" และนำไปสู่การยุบอารามขึ้น แต่ในด้านความเชื่อพระองค์ยังคงถือคำสอนหลายอย่างตามโรมันคาทอลิก แม้ว่าจะถูกพระสันตะปาปาประกาศตัดขาดจากศาสนาไปแล้วก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังคอยควบคุมการรวมสหภาพระหว่างอังกฤษกับเวลส์ และพระองค์ยังได้ขึ้นชื่อว่าทรงเป็นศัตรูตลอดกาลกับพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และ จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งตลอดรัชสมัยได้ทำสงครามกันหลายต่อหลายครั้ง พระเจ้าเฮนรีถือเป็นกษัตริย์ที่มีเสน่ห์ มีการศึกษาดี และทรงคุณวุฒิ และเป็นประมุขที่ทรงบารมีที่สุดแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ แม้จะทรงใช้อำนาจปกครองประเทศอย่างเด็ดขาดแต่ก็ทรงสนพระทัยการเขียนและนิพนธ์ ทรงเห็นว่าสตรีไม่สามารถสร้างความเจริญและมั่นคงแก่ราชวงศ์ทิวดอร์ได้ จึงมีพระราชประสงค์อย่างมากที่จะได้รัชทายาทชายสืบทอดราชบัลลังก์ ทำให้ทรงอภิเษกสมรสหลายครั้งและต่อมาต้องดำเนินการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ ซึ่งนำให้อังกฤษกลายเป็นชาติโปรเตสแตนต์ ช่วงบั้นปลายพระชนม์ชีพ พระองค์เป็นโรคอ้วนซึ่งทำให้พระพลานามัยย่ำแย่ มีพระรสนิยมผิดปกติ พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์จึงมักแสดงออกถึงความมักมาก เห็นแก่ตัว โหดร้าย พระอารมณ์ไม่มั่นคง ภายหลังสวรรคต พระราชโอรส(ตามกฎหมาย)องค์เดียวของพระองค์ ได้สืบราชบัลลังก์ต่อเป็น พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ขณะมีพระชันษาเพียง 9 ปี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศ (International law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความตกลง หรือการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไป และมักใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกฎหมายระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

กรานาดา

กรานาดา (Granada) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกรานาดาในแคว้นปกครองตนเองอันดาลูเซีย ประเทศสเปน ตั้งอยู่ตีนเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาตรงบริเวณที่แม่น้ำดาร์โร (Darro) และแม่น้ำเฮนิล (Genil) มาบรรจบกัน ที่ระดับความสูง 738 เมตรจากระดับน้ำทะเล จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี พ.ศ. 2548 เฉพาะในพื้นที่เมืองกรานาดาจริง ๆ มีจำนวนประชากร 236,982 คน ส่วนในเขตเมืองทั้งหมด (urban area) มีจำนวน 472,638 คน เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 13 ของราชอาณาจักรสเปน ประมาณร้อยละ 3.3 ของประชากรไม่ได้ถือสัญชาติสเปน และร้อยละ 31 จากจำนวนนี้มาจากอเมริกาใต้ ป้อมและพระราชวังอาลัมบรา (Alhambra) ของพวกมัวร์อยู่ในเมืองกรานาดา เป็นหนึ่งในสิ่งที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของมรดกทางประวัติศาสตร์ของมุสลิม ยิว และคริสต์ที่ทำให้เมืองนี้เป็นจุดสนใจในบรรดาเมืองท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของสเปน กรานาดายังเป็นที่รู้จักกันดีในสเปนเนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยกรานาดาอันทรงเกียรติ รวมทั้งชีวิตกลางคืน ซึ่งจริง ๆ แล้วกล่าวกันว่าเมืองนี้เป็นหนึ่งในสามเมืองที่ดีที่สุดสำหรับเหล่านักศึกษา (อีกสองเมืองคือซาลามังกาและซานตีอาโกเดกอมโปสเตลา) ทับทิม (pomegranate; granada) เป็นสัญลักษณ์ประจำเมืองนี้ หมวดหมู่:เมืองในประเทศสเปน หมวดหมู่:แคว้นอันดาลูซีอา.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกรานาดา · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกวม · ดูเพิ่มเติม »

กอร์โดบา (ประเทศสเปน)

กอร์โดบา (Córdoba) เป็นเมืองในแคว้นปกครองตนเองอันดาลูซีอาทางภาคใต้ของประเทศสเปน และเป็นเมืองหลักของจังหวัดกอร์โดบา มีพิกัดภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ที่ 37°88' เหนือ 4°77' ตะวันตก ริมแม่น้ำกวาดัลกีบีร์ ก่อตั้งขึ้นในสมัยโรมันโบราณในชื่อ กอร์ดูบา (Corduba) โดยเกลาดีอุส มาร์เซลลุส (Claudius Marcellus) ในปี พ.ศ. 2548 เมืองนี้มีจำนวนประชากร 321,164 คน ทุกวันนี้ ในความเป็นเมืองสมัยใหม่ขนาดกลาง ตัวเมืองเก่ายังคงมีสถาปัตยกรรมน่าประทับใจหลายแห่งที่ย้อนไปเมื่อครั้งเมืองนี้เป็นเมืองหลวงที่เจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรกาหลิปแห่งกอร์โดบาของชาวมุสลิมซึ่งเคยปกครองพื้นที่เกือบทั้งหมดในคาบสมุทรไอบีเรีย ประมาณกันว่าเมืองกอร์โดบาซึ่งมีประชากรถึง 500,000 คนในคริสต์ศตวรรษที่ 10 เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลกรองจากคอนสแตนติโนเปิล กอร์โดบาเป็นสถานที่เกิดของนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงอย่างน้อยสามคน ได้แก่ ลูซีอุส อันไนอุส เซเนกา (Lucius Annaeus Seneca) ชาวโรมัน อาเวอร์โรเอส (Averroes) ชาวมุสลิม และไมโมนิเดส (Maimonides) ชาวยิว และยังเป็นสถานที่เกิดของลูกัน (Lucan) กวีชาวโรมัน รวมทั้งกวีสเปนยุคกลาง ควน เด เมนา (Juan de Mena) และลุยส์ เด กองโกรา (Luis de Góngora) ในสมัยถัดมา ศิลปินฟลาเมงโกที่มีชื่อเสียงหลายคน ได้แก่ ปาโก เปญา (Paco Peña) บีเซนเต อามีโก (Vicente Amigo) และโคอากิง กอร์เตส (Joaquín Cortés) ต่างก็เกิดที่เมืองนี้ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกอร์โดบา (ประเทศสเปน) · ดูเพิ่มเติม »

กอล

แผนที่ของ กอล ราว 100 ปีก่อนคริสตกาล แสดงให้เห็นตำแหน่งสัมพันธ์กับเผ่าเคลติก กอล (Gaul) เป็นชื่อเก่าแก่ในประวัติศาสตร์ ใช้ในยุคโรมันเพื่อเรียกขานดินแดนทางยุโรปตะวันตก ซึ่งปัจจุบันเทียบได้ประมาณบริเวณประเทศฝรั่งเศสและเบลเยี่ยม และอาจรวมไปถึงหุบเขาโพ ในสวิตเซอร์แลนด์ตะวันตก บางส่วนของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนีทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ในภาษาอังกฤษ คำว่า กอล อาจหมายถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในย่านนั้น (ภาษาฝรั่งเศสเรียก Gaulois) พลเมืองในอดีตสามารถพูดภาษากอล (Gaulish) ได้อย่างกว้างขวาง (เป็นภาษาที่พัฒนามาจากเคลติกยุคต้น) โดยแพร่หลายในดินแดนบริเตน ไอบีเรีย ไอร์แลนด์ ไปจนกระทั่งถึงอนาโทเลียกลางในยุคโรมัน คำในภาษาละตินของ กอล ยังคงมีใช้อยู่ในคำภาษากรีกยุคใหม่สำหรับใช้เรียกประเทศฝรั่งเศส คือ กัลเลีย (Gallia) กอลภายใต้การนำของ Brennus บุกยึดโรมันได้ในราวทศวรรษ 390 ก่อนคริสตกาล ในแดนอีเจี้ยน มีการอพยพครั้งใหญ่ของชาวกอลตะวันออก จากดินแดนเทรซ ทางตอนเหนือของกรีซ ในราวปี 281 ก่อนคริสตกาล ผู้นำของชาวกอลอีกคนหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า Brennus เหมือนกัน เป็นผู้นำของกองทัพขนาดใหญ่ ได้หวนกลับจากการทำลายล้างวิหารอพอลโลในเมืองเดลฟีในกรีซในวินาทีสุดท้าย เล่ากันว่าเขาได้รับเตือนโดยเสียงฟ้าร้องและสายฟ้า ในเวลาเดียวกับที่ชาวเคลต์กำลังอพยพ นักรบกว่า 10,000 นาย พร้อมด้วยบรรดาผู้หญิง เด็ก และทาส ได้เดินทางผ่านดินแดนเทรซพอดี ชาวกอลสามกลุ่มใหญ่ได้เดินทางข้ามดินแดนเทรซไปยังเอเชียไมเนอร์ตามคำเชิญของ Nicomedes ที่ 1 กษัตริย์แห่ง Bithynia พระองค์ได้ส่งคำร้องขอความช่วยเหลือเพื่อสู้กับน้องชายของพระองค์เอง ในเวลาต่อมาชาวกอลก็ตั้งถิ่นฐานลงทางตะวันออกของ Phrygia และ Cappadocia ในแคว้นอนาโทเลียกลาง ดินแดนซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ กาลาเทีย (Galatia).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกอล · ดูเพิ่มเติม »

กองพลน้อยนานาชาติ

แนวหน้าประชาชนอยู่ตรงกลาง ธงของแนวหน้าประชาชน องค์กรการเมืองที่ดูแลกองพลน้อยนานาชาติ ธงกองพลน้อยนานาชาติฮังการี กองพลน้อยนานาชาติ (Brigadas Internacionales; International Brigades) เป็นหน่วยทหารซึ่งประกอบจากอาสาสมัครจากประเทศต่าง ๆ ซึ่งเดินทางไปยังประเทศสเปนเพื่อปกป้องสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ในสงครามกลางเมืองสเปนระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกองพลน้อยนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กองกิสตาดอร์

ฟรันซิสโก ปีซาร์โร ในนามราชบัลลังก์สเปนพิชิตจักรวรรดิอินคา กองกิสตาดอร์ (conquistador) คือกลุ่มนักสำรวจ กองทหาร นักผจญภัยชาวสเปนและโปรตุเกส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ซึ่งเป็นยุคแห่งการสำรวจ หลังจากคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสค้นพบดินแดนที่ชาวยุโรปเรียกว่า “โลกใหม่” กองเรือสเปนได้เดินทางค้นพบจักรวรรดิต่าง ๆ ในทวีปอเมริกา สเปนสามารถพิชิตดินแดนเหล่านี้ได้โดยกองกิสตาดอร์เพียงจำนวนไม่กี่คนกับกองทัพของชนท้องถิ่น จักรวรรดิสำคัญที่สเปนพิชิตได้ก็ได้แก่จักรวรรดิแอซเท็กในเม็กซิโกปัจจุบันในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกองกิสตาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การสงครามกองโจร

การสงครามกองโจร (guerrilla warfare) เป็นการสงครามนอกแบบรูปแบบหนึ่ง ซึ่งพลรบกลุ่มเล็ก เช่น พลเรือนติดอาวุธและหน่วยทหารหน่วยเล็กๆที่ไว้วางใจได้ ใช้ยุทธวิธีทางทหาร เช่น การซุ่มโจมตี (ambush) การก่อวินาศกรรม (sabotage) การตีโฉบฉวย (raid) การจู่โจมแบบไม่ให้ตั้งตัว (surprise attack) และการเคลื่อนที่พิเศษเพื่อพิชิตกองทัพตามแบบที่ใหญ่กว่าและเคลื่อนที่ได้น้อยกว่า หรือโจมตีเป้าหมายที่อ่อนแอกว่า และถอนตัวในทันทีโดยที่ศัตรูไม่ทันได้ตั้งตัวและจะทำให้โดนกองทัพใหญ่ที่ตามมาข้างหลังถล่มได้ หมวดหมู่:การสงครามแบ่งตามประเภท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและการสงครามกองโจร · ดูเพิ่มเติม »

การากัส

นกลางกรุงการากัส การากัส (Caracas) ชื่อทางการคือ ซานเตียโกเดเลออนเดการากัส (Santiago de León de Caracas) เป็นเมืองหลวงของเวเนซุเอลา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ตามระดับความสูงพื้นที่ของหุบเขาแห่งหนึ่งในทิวเขาชายฝั่งของเวเนซุเอลา (Cordillera de la Costa) ภูมิประเทศของเขตตัวเมืองของหุบเขาการากัสนี้มีระดับความสูงอยู่ระหว่าง 2,500 ถึง 3,000 ฟุต (760 และ 910 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล และอยู่ใกล้กับทะเลแคริบเบียน โดยมีแนวเขาสูงเซร์โรอาบีลา (7,400 ฟุต หรือ 2,200 เมตร) เป็นตัวคั่นจากชายฝั่งทะเล ส่วนทางใต้ก็เป็นเนินเขาและภูเขาเช่นกัน ในปี พ.ศ. 2548 ย่านศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของกรุงการากัส ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อเขตลีเบร์ตาดอร์ (Libertador District) มีประชากรประมาณ 2.1 ล้านคน เขตนครหลวงหรือดิสตรีโตกาปีตัล (Distrito Capital) ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองนี้และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของรัฐมีรันดา มีประชากร 3.3 ล้านคน ส่วนเขตตัวเมือง (urban area) หรือเกรตเตอร์การากัส (Greater Caracas) ซึ่งรวมเมืองที่อยู่นอกดิสตรีโตกาปีตัลด้วยนั้น มีประชากร 4.7 ล้านคน หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:เมืองในประเทศเวเนซุเอลา หมวดหมู่:การากัส.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและการากัส · ดูเพิ่มเติม »

การต่อสู้ระหว่างชนชั้น

การต่อสู้ระหว่างชนชั้น (class struggle) เป็นการแสดงออกอย่างเห็นได้ชัดของความขัดแย้งทางชนชั้นตามทฤษฎี เมื่อพิจารณาจากมุมมองสังคมนิยมทุกรูปแบบ คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์ นักอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ เขียนว่า "ประวัติศาสตร์ของสังคมทั้งหมดที่ผ่านมาจนกระทั่งถึงบัดนี้ล้วนแต่เป็นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ทางชนชั้น" ความเข้าใจของมากซ์เกี่ยวกับชนชั้นนั้นไม่เกี่ยวกับชนชั้นทางสังคมในวิชาสังคมวิทยา ซึ่งประกอบด้วยชนชั้นบน ชนชั้นกลาง และชนชั้นล่าง (เป็นการอธิบายในแง่ของปริมาณรายรับหรือความมั่งคั่ง) แต่มากซ์อธิบายในยุคของทุนนิยม ซึ่งเป็นชนชั้นทางเศรษฐกิจ สมาชิกในชนชั้นจะถูกนิยามโดยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลนั้น ๆ กับวิธีการผลิต นั่นคือ ตำแหน่งของบุคคลในโครงสร้างทางสังคมที่แสดงคุณสมบัติของทุนนิยม ส่วนใหญ่มากซ์กล่าวถึงสองชนชั้นซึ่งรวมไปถึงประชากรส่วนใหญ่ของสังคม ได้แก่ ชนชั้นกรรมาชีพและชนชั้นนายทุน ส่วนชนชั้นอื่น ๆ อย่างเช่น ชนชั้นนายทุนน้อยแสดงคุณลักษณะอยู่ระหว่างชนชั้นหลักทั้งสองนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและการต่อสู้ระหว่างชนชั้น · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กาฬโรค

กาฬโรค (plague) เป็นโรคติดเชื้อถึงตายที่เกิดจากเอ็นเทอโรแบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งตั้งตามชื่อนักวิทยาแบคทีเรียชาวฝรั่งเศส-สวิส อเล็กซานเดอร์ เยอร์ซิน กาฬโรคเป็นโรคที่อยู่ในสัตว์ฟันแทะ และหมัดเป็นตัวแพร่สู่มนุษย์ โรคดังกล่าวรู้จักกันตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากขอบเขตการเสียชีวิตและการทำลายล้างที่โรคอื่นเทียบไม่ได้ กาฬโรคเป็นโรคระบาดหนึ่งในสามโรคที่ต้องรายงานต่อองค์การอนามัยโลก (อีกสองโรค คือ อหิวาตกโรคและไข้เหลือง) กระทั่งเดือนมิถุนายน 2550 กาฬโรคสามารถแพร่ในอากาศ ผ่านการสัมผัสโดยตรง หรือโดยอาหารหรือวัสดุที่ปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับการติดเชื้อที่ปอดหรือสภาพสุขาภิบาล อาการของกาฬโรคขึ้นอยู่กับบริเวณที่มีเชื้อมากในแต่ละบุคคล เช่น กาฬโรคที่ต่อมน้ำเหลือง (bubonic plague) กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ (septicemic plague) ในหลอดเลือด กาฬโรคแบบมีปอดบวม (pneumonic plague) ในปอด ฯลฯ กาฬโรครักษาได้หากตรวจพบเร็ว และยังระบาดอยู่ในบางส่วนของโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกาฬโรค · ดูเพิ่มเติม »

กาดิซ

กาดิซ (Cádiz) เป็นเมืองและเมืองท่าทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสเปนและเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นปกครองตนเองอันดาลูซีอา กาดิซเป็น "ศูนย์กลางบริหารทางทะเลในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ของกองทัพเรือสเปน" ตั้งแต่การเข้ามาของราชวงศ์บูร์บงในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เมืองนี้เป็นเมืองหลวงของจังหวัดกาดิซและเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยกาดิซ ตามการสำรวจสำมะโนประชากรในปี พ.ศ. 2547 จำนวนประชากรเฉพาะในเขตเมืองกาดิซมี 133,242 คน ขณะที่ประชากรของเขตเมือง (urban area) ทั้งหมดมีประมาณ 629,054 คน ตัวเมืองตั้งอยู่บนแหลมที่ยื่นลงไปในอ่าวกาดิซ กำแพงสูงและหนาที่ล้อมรอบเมืองทำให้ปรากฏภาพที่สวยงามเมื่อมองจากทะเล กาดิซมีลักษณะเฉพาะของอันดาลูซีอา ย่านเก่าแก่ของเมือง เช่น เอลโปปูโล (El Populo), ลาบีญา (La Viña) หรือซานตามารีอา (Santa María) สร้างความตรงกันข้ามกับพื้นที่สมัยใหม่กว่าของเมือง ขณะที่ภาพของเมืองเก่ามีตรอกซอยแคบ ๆ มุ่งไปสู่จัตุรัสจำนวนหนึ่ง พื้นที่เมืองใหม่กลับประกอบไปด้วยถนนกว้างและอาคารสมัยใหม่ นอกจากนี้ ในเมืองยังมีต้นไม้ในสวนสาธารณะอยู่เป็นหย่อม ๆ รวมทั้งต้นไม้ใหญ่หลายต้นที่เชื่อกันว่าโคลัมบัสเป็นผู้นำไปไว้ที่นั่น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกาดิซ · ดูเพิ่มเติม »

กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ

ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2052-2090) อภิเษกสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2044 กับเจ้าชายอาร์เธอร์ พระโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2029-2045) แต่เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนม์เสียตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงกาตาลินาก็ได้ทรงรับหมั้นกับเจ้าชายที่เป็นน้องสามี ซึ่งต่อมาคือพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ในขณะที่มีพระชนมายุเพียง 11 ขวบ และได้อภิเษกสมรสกันในเวลาต่อมาเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาสก์

ก์ (Basque) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวบาสก์ซึ่งอาศัยอยู่แถบเทือกเขาพีเรนีสในตอนกลางของภาคเหนือของประเทศสเปน รวมทั้งในบริเวณภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสที่มีอาณาเขตติดต่อกัน หรือลึกลงไปกว่านั้นคือ ชาวบาสก์ได้ครอบครองแคว้นปกครองตนเองที่มีชื่อว่าแคว้นประเทศบาสก์ (Basque Country autonomous community) ซึ่งมีวัฒนธรรมและอิสระในการปกครองตนเองทางการเมือง นอกจากนี้ก็ยังมีชาวบาสก์ที่อยู่ในเขตนอร์เทิร์นบาสก์ในฝรั่งเศสและแคว้นปกครองตนเองนาวาร์ในสเปนอีกด้วย ชื่อเรียกภาษาบาสก์อย่างเป็นทางการ (ในภาษาตนเอง) คือ เออุสการา (euskara) ส่วนในรูปภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ เออุสเกรา (euskera) เอสกูอารา (eskuara) และ อุสการา (üskara) แม้ว่าในทางภูมิศาสตร์จะถูกล้อมรอบด้วยภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน แต่ภาษาบาสก์กลับจัดเป็นภาษาโดดเดี่ยว (language isolate) ไม่ใช่ภาษาในตระกูลดังกล่าว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษาบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาลิเซีย

ภาษากาลิเซีย (Galician) เป็นภาษาหนึ่งในสาขาอิเบโร-โรมานซ์ตะวันตก พูดในกาลิเซีย (Galicia) ซึ่งเป็นแคว้นปกครองตนเองที่มีสถานะตามรัฐธรรมนูญเป็น "ชาติทางประวัติศาสตร์ (historic nationality)" ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน กาลิเซีย หมวดหมู่:แคว้นกาลิเซีย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษากาลิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาตาลา

ษากาตาลา (català) หรือ ภาษาแคทาแลน (Catalan) เป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาโรมานซ์ รวมทั้งเป็นภาษาประจำชาติของประเทศอันดอร์ราและภาษาราชการร่วมในแคว้นปกครองตนเองหมู่เกาะแบลีแอริก บาเลนเซีย (ในชื่อ ภาษาบาเลนเซีย) และกาตาลุญญาของประเทศสเปน มีผู้พูดหรือผู้รู้ภาษานี้ประมาณ 10 ล้านคน ซึ่งอาศัยทั้งในสเปน อันดอร์รา รวมไปถึงภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส (โดยเฉพาะในจังหวัดปีเรเน-ออเรียงตาล) และเมืองอัลเกโรบนเกาะซาร์ดิเนีย ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษากาตาลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอารัน

ษาอารัน (อารัน: Aranés) เป็นรูปแบบมาตรฐานรูปแบบหนึ่งของภาษาอ็อกซิตันสำเนียงกัสกุงถิ่นพิเรนีส ใช้กันในหน่วยดินแดนพิเศษอารัน ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแคว้นกาตาลุญญา ติดพรมแดนระหว่างประเทศสเปนกับประเทศฝรั่งเศส ภาษาอารันเป็นภาษาราชการของหน่วยดินแดนดังกล่าวร่วมกับภาษากาตาลาและภาษาสเปน และในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและภาษาอารัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มาลากา

ที่ตั้งเมืองมาลากาในประเทศสเปน มาลากา (Málaga) เป็นเมืองท่าในแคว้นปกครองตนเองอันดาลูเซียทางภาคใต้ของประเทศสเปน ริมชายฝั่งโกสตาเดลโซล (Costa del Sol) ซึ่งเป็นชายฝั่งหนึ่งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ที่พิกัดภูมิศาสตร์ 36°43′ เหนือ และ 4°25′ ตะวันตก โดยโอบล้อมด้วยภูเขา ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเนินเขาอักซาร์กีอา (Axarquía) และแม่น้ำสองสายซึ่งไหลลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ แม่น้ำกวาดัลเมดีนา (Guadalmedina) และแม่น้ำกวาดาลอร์เซ (Guadalhorce) จากการสำรวจสำมะโนประชากรในปี พ.ศ. 2548 เฉพาะในเขตเมืองมาลากาจริง ๆ มีจำนวนประชากร 558,287 คน ส่วนในเขตเมือง (urban area) มีจำนวน 814,000 คน และในเขตมหานคร (เขตเมืองรวมกับเมืองบริวาร) มี 1,074,074 คน เป็นเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศ มีรายได้หลักจากภาคเกษตรกรรมและภาคการท่องเที่ยว ภูมิอากาศมีลักษณะไม่หนาวจัดและไม่แปรปรวน อุณหภูมิเฉลี่ยรายปีประมาณ 19 °ซ (66 °ฟ) ท้องฟ้าเปิดและผืนอ่าวที่กว้างใหญ่ทำให้มีการเปรียบเทียบเมืองนี้กับเมืองเนเปิลส์ (Naples) ประเทศอิตาลี หมวดหมู่:เมืองในประเทศสเปน หมวดหมู่:แคว้นอันดาลูซีอา.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมาลากา · ดูเพิ่มเติม »

มาดริด

มาดริด (Madrid) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสเปน มีประชากรอาศัยในตัวเมืองประมาณ 3.2 ล้านคน(ตัวเลขเมื่อปี 2005) และประชากรในเขตเมืองทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน (ตัวเลขเมื่อปี 2006) มาดริดยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาดริดด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมาดริด · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียโน ราฆอย

มาเรียโน ราฆอย เบรย์ (Mariano Rajoy Brey) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศสเปน และหัวหน้าพรรคประชาชนคนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังจากได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมาเรียโน ราฆอย · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

มิเกล เด เซร์บันเตส

มิเกล เด เซร์บันเตส ซาอาเบดรา (Miguel de Cervantes Saavedra; 29 กันยายน ค.ศ. 1547 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นนักเขียนชาวสเปน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมิเกล เด เซร์บันเตส · ดูเพิ่มเติม »

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

มูซา อิบน์ นุศ็อยร์

มูซา อิบน์ นุศ็อยร์ อัลบะละวี (موسى بن نصيرالبلوي; Musa bin Nusayr al-Balawi; ค.ศ. 640 - ค.ศ. 716) เป็นชาวซีเรียมุสลิมผู้มีตำแหน่งเป็นข้าหลวงและขุนพลผู้มีหน้าที่ปกครองจังหวัดมุสลิมในแอฟริกาเหนือ (อิฟรีกิยะฮ์) ภายใต้การนำของกาหลิบอัลวะลีดที่ 1แห่งราชวงศ์อุมัยยะฮ์ นอกจากนั้น มูซา อิบน์ นุศ็อยร์ ยังเป็นผู้นำในการพิชิตราชอาณาจักรวิซิกอทในฮิสเปเนียอีกด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมูซา อิบน์ นุศ็อยร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ม้า

ม้า เป็นชนิดย่อยหนึ่งในสองชนิดของ Equus ferus หรือม้าป่าที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกีบคี่ในวงศ์ Equidae ม้ามีวิวัฒนาการมากว่า 45 ถึง 55 ล้านปีจากสิ่งมีชีวิตหลายกีบเท้าขนาดเล็กสู่สัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ในปัจจุบัน มนุษย์เริ่มนำม้ามาเลี้ยงเมื่อราว 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และเชื่อว่าการเลี้ยงแพร่หลายเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ม้าชนิดย่อย caballus เป็นม้าบ้านแม้ว่าจะมีประชากรม้าบ้านบางส่วนจะอาศัยอยู่ในป่า เช่น ม้าเถื่อน (feral horses) ม้าเถื่อนไม่ใช่ม้าป่าที่แท้จริง ดังเช่นม้าป่ามองโกเลียซึ่งถูกแบ่งแยกออกมาเป็นชนิดย่อยและเป็นชนิดเดียวที่เหลืออยู่ของม้าป่าที่แท้จริง คำว่าม้าเถื่อนใช้เพื่อแสดงว่าม้านี้ไม่ใช่ม้าบ้าน มีคำศัพท์เฉพาะมากมายที่ใช้อธิบายแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับม้า ครอบคลุมจากกายวิภาคถึงช่วงชีวิต ขนาด สี สัญลักษณ์ การเพาะพันธุ์ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม กายวิภาคของม้าช่วยให้ม้าใช้ความเร็วในการหนีนักล่า และม้ายังพัฒนาความสมดุลได้อย่างยอดเยี่ยมและสัญชาตญาณสู้หรือถอยที่แข็งแกร่ง ม้ายังมีลักษณะพิเศษเพื่อใช้สำหรับหลบหลีกนักล่า คือ ม้าสามารถยืนหลับหรือล้มตัวลงนอนหลับก็ได้ ม้าตัวเมียจะอุ้มท้องประมาณ 11 เดือน ลูกม้าจะยืนและวิ่งได้ในเวลาไม่นานหลังกำเนิด ม้าบ้านจำนวนมากจะเริ่มฝึกภายใต้อานม้าหรือบังเหียนระหว่างอายุสองถึงสี่ปี ม้าจะโตเต็มที่เมื่ออายุห้าปี และมีช่วงอายุประมาณ 25 ถึง 30 ปี สายพันธุ์ม้าแบ่งคร่าว ๆ ออกเป็น 3 ประเภทตามลักษณะนิสัย พวก "เลือดร้อน (hot blood) " ที่เร็ว ทนทาน "เลือดเย็น (cold blood) " เช่น ม้าแคระ และม้าพันธุ์เล็กบางพันธุ์ ที่ช้าแต่มั่นคง ทำงานหนัก และ "เลือดอุ่น (warmblood) " ที่พัฒนามาจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างเลือดร้อนและเลือดเย็น เป็นการเพาะพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานพิเศษบางประการ โดยเฉพาะในยุโรป ม้าบ้านมีมากกว่า 300 พันธุ์ในปัจจุบัน เป็นการพัฒนาเพื่อการใช้งานที่ต่างกันไป ม้าและมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างหลากหลายทั้งในการแข่งขันกีฬาและงานที่ไม่ใช่กิจกรรมสันทนาการ เช่น งานตำรวจ การเกษตร การบันเทิง และการบำบัดรักษา ในอดีต มีการนำม้ามาใช้งานในสงคราม ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการพัฒนาเทคนิคการขับขี่ที่หลากหลาย โดยใช้ลักษณะที่แตกต่างของอุปกรณ์และวิธีการของการควบคุม มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างได้จากม้า ประกอบด้วย เนื้อ นม หนัง ขน กระดูก และยาที่สกัดมาจากน้ำปัสสาวะของม้าตัวเมียที่ตั้งครรภ์ เทพนิยายเกี่ยวกับม้า เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ถูกวีรบุรุษเพอร์ซีอุสฟันคอขาดตาย ในขณะที่นางสิ้นใจตายนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลยซักคน ตอนที่มันเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่มันวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงาม คือน้ำพุพีเรเนียน (Pyrenean spring).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและม้า · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคก่อนประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสัมฤทธิ์

ำริดคือยุคที่มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนที่ใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ ชีวิตความเป็นอยู่ได้ดีขึ้นกว่ายุคหิน รู้จักการทำสำริดเป็นเครื่องประดับ ยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิฮิตไทต์ และอาณาจักรไมซีเนียล่มสลาย ยุคต่อมาหลังยุคสัมฤทธิ์ คือ ยุคเหล็ก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม)

หินกลาง ในสาขาโบราณคดี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคหินกลาง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ยุคทองแดง

ทองแดง (Copper Age) เป็นยุคสมัยในพัฒนาการของเทคโนโลยีมนุษย์ ก่อนยุคสำริด เดิมนิยามยุคทองแดงว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านระหว่างยุคหินใหม่และยุคสำริด แต่ปัจจุบันถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของยุคหินใหม่ แหล่งโบราณคดี Belovode บนภูเขารูดนิกในประเทศเซอร์เบียมีหลักฐานการหลอมทองแดงระบุอายุแน่ชัดเก่าแก่สุดในโลกตั้งแต่ 5,000 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคทองแดง · ดูเพิ่มเติม »

ยุคโลหะ

ลหะ (Metal Age) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเหล็ก

หล็ก เกิดหลังจากยุคสำริดสิ้นสุดลงในช่วง 1206-1150 ปีก่อนคริสตกาล เป็นยุคที่มนุษย์เริ่มใช้เหล็กในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ยุคต่อมาหลังยุคเหล็ก คือ สมัยโบราณ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุคเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปกลาง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปใต้

รปใต้ ยุโรปใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งมีดินแดนติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอยู่ในคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทรคือ คาบสมุทรไอบีเรีย คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน อยู่ในละติจูดที่ 35 องศาเหนือถึง 47 องศาเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 1,316,290 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเชื้อสายเมดิเตอร์เรเนียน ประกอบไปด้วย 16 ประเทศดังนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยุโรปใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโร

ูโร (euro, €; รหัสธนาคาร EUR) เป็นสกุลเงินที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป 19 ประเทศ (ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558) ตกลงใช้ร่วมกัน เริ่มใช้วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 (บางประเทศใช้ตามในภายหลัง) 1 ยูโรแบ่งออกเป็น 100 เซนต์ แต่ชื่อเรียกของเซนต์อาจแตกต่างกันในแต่ละประเท.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและยูโร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกวานาคัวโต

กวานาคัวโต (Guanajuato) เป็นรัฐของประเทศเม็กซิโก อยู่ตอนกลางของประเทศ ตั้งชื่อตามเมืองหลวงของรัฐ เมืองกวานาคัวโต ที่มาจากภาษาท้องถิ่นที่มีความหมายว่า "หุบเขาแห่งกบ" รัฐกวานาคัวโตเป็นรัฐบ้านเกิดของอดีตประธานาธิบดีบีเซนเต ฟอกซ์, จิตรกรฝาผนังเดียโก รีเบรา และนักร้อง-นักแต่งเพลงโคเซ อัลเฟรโด คีเมเนซ หลังจากที่ตอนกลางของเม็กซิโกและทางชายฝั่งอ่าวเม็กซิโก ได้ตกเป็นเมืองขึ้นของสเปน รัฐกวานาคัวโตก็เป็นบริเวณแรก ๆ ที่ตกอยู่ภายใต้การปกครองของสเปน ราวคริสต์ทศวรรษ 1520 ซึ่งเป็นบริเวณที่เป็นที่ตั้งของแหล่งเงิน สถาปัตยกรรมของกวานาคัวโตเป็นสถาปัตยกรรมอาณานิคม ที่ได้รับการอนุรักษ์เป็นอย่างดี เฉพาะเมืองหลวงของรัฐมีโบสถ์เก่าแก่กว่า 35 โบสถ์ นอกจากเมืองหลวงของรัฐแล้ว ยังมีเมืองอื่นอย่าง ซีลาโอ, ซานลุยส์เดลาปาซ, อากัมบาโร, เซลายา, เลออน, ยูรีเรีย, ซาลามังกา, อีราปัวโต, ซานมีเกลเดอาเยนเด, ซัลบาเตียร์รา (เมืองแรกของรัฐกวานาคัวโต), กอร์ตาซาร์, กูเอรามาโร, ตารีโมโร และโดโลเรสอีดัลโก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรัฐกวานาคัวโต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซากาเตกัส

รัฐซากาเตกัส (Zacatecas) เป็นรัฐในประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ อยู่ติดกับรัฐอื่นคือ ติดกับรัฐดูรังโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับรัฐโกอาวีลาทางทิศเหนือ, ติดกับรัฐซันลุยส์โปโตซีทางทิศตะวันออก, ติดกับรัฐอากวัสกาเลียนเตสและรัฐกวานาวาโตทางทิศใต้ และติดกับรัฐฮาลิสโกและรัฐนายาริตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ รัฐเป็นที่รู้จักดีในฐานะเป็นรัฐที่อุดมไปด้วยแร่เงิน และสถาปัตยกรรมอาณานิคม เศรษฐกิจหลักของรัฐคือการทำเหมืองแร่ กสิกรรมและการท่องเที่ยว เมืองหลวงของรัฐคือเมือง ซากาเตกั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรัฐซากาเตกัส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา (خلافة قرطبة, Khilāfat Qurṭuba) ปกครองคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือจากเมืองกอร์โดบา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตรัสตามารา

ตราราชวงศ์คาสตีลและเลออน สายราชวงศ์ตรัสตามารา ตราราชวงศ์อารากอน บาเลนเซีย และซิชิลี สายราชวงศ์ตรัสตามารา ราชวงศ์ตรัสตามารา (House of Trastámara) เป็นราชวงศ์ในกษัตริย์แห่งคาบสมุทรไอบีเรียที่ปกครองอาณาจักรคาสตีลตั้งแต่ พ.ศ. 1912 ถึง พ.ศ. 2047 ในอารากอนและซิชิลีตั้งแต่ พ.ศ. 1955 ถึง พ.ศ. 2059 ในนาวาร์ตั้งแต่ พ.ศ. 1968 ถึง พ.ศ. 2022 และในเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ. 1985 ถึง พ.ศ. 2044 ราชวงศ์นี้ได้นำชื่อมาจากเคานต์แห่งตรัสตามารา ซึ่งเป็นตำแหน่งของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งคาสตีลก่อนจะขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 1912 ในระหว่างสงครามกลางเมืองพระองค์ได้กำจัดพระเชษฐาต่างมารดาคือ พระเจ้าเปโดรแห่งคาสตีล และทรงขึ้นครองราชย์ ในช่วงการประนีประนอมที่เมืองกัสเป เจ้าชายเฟอร์ดินานด์แห่งอันเตเกรา บุตรองค์ที่ 2 ของพระเจ้าจอห์นที่ 1 แห่งคาสตีลได้รับเลือกจากชนชั้นสูงในอารากอน บาร์เซโลนา และบาเลนเซียให้เป็นกษัตริย์โดยเฉลิมพระนาม "พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1" และเป็นราชวงศ์สายแรก ใน พ.ศ. 1968 พระเจ้าจอห์นที่ 2 แห่งอารากอน บุตรองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินีแห่งนาวาร์ จึงทรงกลายเป็นกษัตริย์แห่งนาวาร์ หลังจากพระองค์สวรรคต ธิดาของพระองค์คือเจ้าหญิงเอเลนอร์ได้ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระบิดาเพียงระยะเวลาหนึ่ง ใน พ.ศ. 1985 พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 5 แห่งอารากอนได้ทรงกลายเป็นกษัตริย์แห่งเนเปิลส์จากการยึดครองเนเปิลส์ และทรงดำรงตำแหน่งนี้จนพระองค์สวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2001 บุตรของพระองค์ได้รับช่วงต่อและกำเนิดสายราชวงศ์นี้ กษัตริย์ในสายราชวงศ์นี้ล้วนแต่มีความสำคัญและได้รับการกล่าวถึงอยู่เสมอ ได้แก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชวงศ์ตรัสตามารา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกัสติยา

ราชอาณาจักรกัสติยา (Reino de Castilla) เป็นราชอาณาจักรของยุคกลางของคาบสมุทรไอบีเรียที่เริ่มก่อตัวเป็นอิสระขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยการเป็นอาณาจักรเคานต์แห่งกัสติยาที่เป็นอาณาจักรบริวาร (vassal) ของราชอาณาจักรเลออน ชื่อ "กัสติยา" มาจากคำที่ว่าแปลว่าปราสาท เพราะในบริเวณนั้นมีปราสาทอยู่หลายปราสาท กัสติยาเป็นราชอาณาจักรหนึ่งที่ต่อมาก่อตั้งขึ้นเป็นราชบัลลังก์กัสติยาและราชบัลลังก์สเปนในที.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรวิซิกอท

ราชอาณาจักรวิซิกอท (Visigothic kingdom) เป็นอำนาจของยุโรปตะวันตกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 เป็นหนึ่งในรัฐที่ตามมาจากจักรวรรดิโรมันตะวันตก เดิมก่อตั้งขึ้นโดยการการตั้งถิ่นฐานของวิซิกอทภายใต้ประมุขของตนเองในอากีแตน (กอลตอนใต้) โดยรัฐบาลของโรมัน ต่อมาก็ขยายดินแดนออกไปโดยการพิชิตในคาบสมุทรไอบีเรีย ราชอาณาจักรสามารถดำรงตัวเป็นอิสระจากจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อไบแซนไทน์พยายามรื้อฟื้นอำนาจของโรมันในไอบีเรียประสบความล้มเหลว แต่เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนแฟรงค์ในกอลก็สามารถได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรวิซิกอททั้งหมดยกเว้นเซ็พติมาเนีย ในที่สุดราชอาณาจักรวิซิกอทก็ล่มสลายระหว่างการโจมตีของการรุกรานของอิสลาม (Umayyad conquest of Hispania) จากโมร็อกโก ต่อมาราชอาณาจักรอัสตูเรียสก็กลายเป็นอาณาจักรที่สืบต่อจากราชอาณาจักรวิซิกอท ราชอาณาจักรวิซิกอทปกครองโดยพระมหากษัตริย์ที่มาจากการเลือกตั้งและต้องเป็นชนกอธโดยมี “เซเนท” เป็นที่ปรึกษาราชการที่ประกอบด้วยสังฆราช และขุนนาง แม้ว่าพระมหากษัตริย์จะพยายามก่อตั้งราชวงศ์แต่ก็ไม่มีผู้ใดทำสำเร็จ พระมหากษัตริย์องค์แรก ๆ นับถือคริสต์ศาสนานิกาย Arianism หลังจากนั้นก็เปลี่ยนเป็นลัทธิไนเซียน (Nicene Creed) ซึ่งทางสถาบันศาสนาพยายามสร้างอำนาจมากขึ้นจากการประชุมสภาสงฆ์แห่งโตเลโด (Councils of Toledo) แต่กระนั้นวิซิกอทก็เป็นชาติที่มีการวิวัฒนาการทางกฎหมายทางโลกที่ก้าวหน้าที่สุดในยุโรปตะวันตก “Liber Iudiciorum” กลายมาเป็นรากฐานของกฎหมายของสเปนตลอดยุคกลาง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรวิซิกอท · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอารากอน

ราชอาณาจักรอารากอน (Reino de Aragón; Kingdom of Aragon) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนระหว่างปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกษัตริย์องค์แรก อาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตย อาณาบริเวณเป็นบริเวณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดิมเป็นส่วนหนึ่งของ “ราชบัลลังก์อารากอน” (Crown of Aragon) ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนีย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน อารากอนกอร์เตส (รัฐสภา) ราชอาณาจักรเดิมเป็นแคว้นฟิวดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตัวกับราชอาณาจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แคว้นอารากองแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 1035 และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นอาณาจักรเต็มตัวโดยพระเจ้ารามีโรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่งปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจากมัวร์ อาณาจักรอารากอนรวมกับราชบัลลังก์อารากอนหลังจากการเสกสมรสระหว่างสองราชวงศ์ในปี ค.ศ. 1150 ระหว่างรามอน เบเรงเกร์ที่ 4 เคานต์แห่งบาร์เซโลนา และเปโตรนีลาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอารากอน พระโอรสของทั้งสองพระองค์ได้รับดินแดนของทั้งสองอาณาจักร นอกจากนั้นพระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนยังได้รับตำแหน่งเพิ่มเป็นเคานต์แห่งบาร์เซโลนา ปกครองดินแดนเดิมและราชรัฐคาเทโลเนีย และต่อมาหมู่เกาะแบลีแอริก ราชอาณาจักรบาเลนเซีย ราชอาณาจักรซิซิลี ราชอาณาจักรเนเปิลส์ และราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ทรงปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผ่นดินแห่งบาเลนเซีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา (ชั่วระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชั่วระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือเสียไปก็เป็นการเพื่มหรือลดดินแดนภายใต้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง “สหภาพอารากอน” (Union of Aragon) ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลังจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยู่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดลงทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานวยบาปลันตา (Nueva Planta decrees) ที่ออกในปี ค.ศ. 1707.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรนาวาร์

ราชอาณาจักรนาวาร์ (Kingdom of Navarre; Reino de Navarra; Royaume de Navarre) เดิมชื่อ “ราชอาณาจักรแพมโพลนา” เป็นราชอาณาจักรในยุโรปที่ตั้งอยู่สองฝั่งเหนือใต้ของเทือกเขาพิเรนีสทางด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ราชอาณาจักรนาวาร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ Íñigo I of Pamplona ผู้นำบาสค์ (Basque) ผู้ได้รับเลือกและประกาศให้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งแพมโพลนา (ราว ค.ศ. 824) นำการปฏิวัติต่อต้านอำนาจการปกครองของชาวแฟรงค์ในบริเวณนั้น ด้านใต้ของราชอาณาจักรถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรคาสตีลในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรนาวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเลออง

ราชอาณาจักรเลออง เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรไอบีเรีย สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 910 โดย เจ้าชายคริสเตียนแห่งอัสตูเรียส ที่ล่มสลายลงไปก่อนหน้านี้ โดยเลอองเป็นหนึ่งในแกนนำที่ช่วยขับไล่ชาวมุสลิมออกไปจากสเปน และภายหลังได้รวมเป็นส่วนหนึ่งกับราชอาณาจักรคาสตีลในปี ค.ศ. 1230 ก่อนที่จะล่มสลายลงเพราะสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในปี ค.ศ. 1301 หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป ล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชอาณาจักรเลออง · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล เดล เรียโก

ราฟาเอล เดล ริเอโก ราฟาเอล เดล ริเอโก อี นุญเญซ (Rafael del Riego y Nuñez; 9 เมษายน ค.ศ. 1784 - 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1823) เป็นนายพลและนักการเมืองเสรีนิยมชาวสเปน ริเอโกเกิดเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1784 (บางแหล่งว่าเกิดเมื่อ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1785) ที่เมืองซานตามาริอาเดตุญญัสในแคว้นอัสตูเรียส เมื่อจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโอบิเอโดในปี ค.ศ. 1807 แล้ว ได้ย้ายไปยังกรุงมาดริด เพื่อเข้าเป็นทหารในกองทัพบก ปีต่อมา (ค.ศ. 1808) ระหว่างสงครามประกาศเอกราชสเปน ริเอโกถูกทางฝรั่งเศสจับกุมตัว และถูกนำไปขังไว้ที่เอสโกเรียล ซึ่งเขาสามารถหลบหนีจากที่นั่นได้ในเวลาต่อมา วันที่ 10 พฤศจิกายนปีเดียวกันนั้น ริเอโกได้เข้าร่วมรบในยุทธการเอสปิโนซาเดโลสมอนเตโรส (Battle of Espinosa de los Monteros) ซึ่งเขาถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง สามวันถัดจากนั้น เขาถูกส่งตัวไปยังฝรั่งเศสและได้รับการปล่อยตัวในเวลาต่อมา จากนั้นริเอโกได้เดินทางท่องเที่ยวไปยังอังกฤษและแคว้นต่าง ๆ ในเยอรมนีปัจจุบัน แล้วจึงกลับไปยังสเปนใน ค.ศ. 1814 และเข้าร่วมในกองทัพบกอีกครั้งโดยได้รับยศเป็นพันโท ช่วงหกปีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นับจากนั้น ริเอโกเข้าร่วมกับกลุ่มฟรีเมสันและกลุ่มเสรีนิยมเพื่อสมคบกันต่อต้านพระเจ้าเฟอร์ดินันด์ที่ 7 ในปี ค.ศ. 1819 พระเจ้าเฟอร์ดินันด์ที่ 7 ทรงแต่งทัพจำนวน 10 กองพันออกไปปราบปรามขบวนการต่อต้านในอเมริกาใต้ ซึ่งริเอโกได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองพันชาวอัสตูเรียส อย่างไรก็ตาม หลังจากเขาไปถึงเมืองท่ากาดิซ เมื่อถึงวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1820 เดล ริเอโกพร้อมทั้งนายทหารคนอื่น ๆ ได้ก่อกบฏขึ้นและเรียกร้องให้นำรัฐธรรมนูญฉบับ ค.ศ. 1812 กลับมาใช้อีกครั้ง ความขัดแย้งครั้งนี้ภายหลังจะเรียกกันว่าสงครามกลางเมืองสเปน ค.ศ. 1820-1823 กองทหารของริเอโกได้เคลื่อนทัพผ่านเมืองต่าง ๆ ในแคว้นอันดาลูเซีย โดยหวังที่จะปลุกเร้าให้เกิดการลุกฮือขึ้นต่อต้านกษัตริย์ แต่ไม่เป็นผล อย่างในก็ตามได้เกิดการลุกฮือขึ้นในแคว้นกาลิเซีย และแผ่ขยายไปทั่วทั้งประเทศสเปน เมื่อถึงวันที่ 7 มีนาคม ปีเดียวกัน กองทหารโดยการนำของนายพลบาเยสเตโรสได้ล้อมพระราชวังในกรุงมาดริดไว้ และในวันที่ 10 มีนาคม พระเจ้าเฟอร์ดินันด์ที่ 7 ทรงยินยอมให้นำรัฐธรรมนูญกลับมาบังคับใช้อีกครั้ง รัฐบาล "หัวก้าวหน้า" ที่ตั้งขึ้นใหม่ได้แต่งตั้งริเอโกเป็นจอมพล และเป็นผู้ว่าการแคว้นกาลิเซีย ในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1821 เขาย้ายไปว่าการแคว้นอารากอน และย้ายไปพำนักในนครซาราโกซา ปีเดียวกันนั้นในวันที่ 18 มิถุนายน เขาเข้าพิธีสมรสกับมาริอา เตเรซา เดล ริเอโก อี บุสติโยส (Maria Teresa del Riego y Bustillos) ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้อง เมื่อถึงวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1821 หลังจากที่ความพยายามก่อการปฏิวัติ (โดยบุคคลกลุ่มอื่น) เพื่อล้มล้างระบอบกษัตริย์ล้มเหลว ริเอโกถูกกล่าวหาว่านิยมระบอบสาธารณรัฐและถูกนำไปคุมขังไว้ อย่างไรก็ตาม ความนิยมของประชาชนในตัวริเอโกยิ่งเพิ่มสูงขึ้น อันนำไปสู่การประท้วงในกรุงมาดริดเพื่อให้ปล่อยตัวเขาเป็นอิสระ จนกระทั่งเดือนมีนาคม ค.ศ. 1822 ริเอโกได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติสเปน (กอร์เตสเฆเนราเลส - Cortes Generales) และได้รับการปล่อยตัวจากที่คุมขังในที่สุด หมวดหมู่:ทหารชาวสเปน หมวดหมู่:นักการเมืองสเปน หมวดหมู่:นายพลชาวสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและราฟาเอล เดล เรียโก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและลัทธิฟาสซิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาตินอเมริกา

นแดนลาตินอเมริกา ลาตินอเมริกา (América Latina; Amérique Latine; Latinoamérica, América Latina) คือ กลุ่มประเทศในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ที่พูดภาษากลุ่มโรมานซ์ เป็นหลัก ได้แก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและลาตินอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลิสบอน

ลิสบอน ลิสบอน (Lisbon) หรือ ลิชบัว (Lisboa) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปรตุเกส ตัวเมืองลิสบอนมีประชากร 564,657 คน ถ้ารวมเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบด้วยจะมีประชากรประมาณ 2,760,723 คน (ข้อมูลปี 2005) ลิสบอนตั้งอยู่ทิศตะวันตกของประเทศ ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของคาบสมุทรไอบีเรีย การที่ลิสบอนตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปและติดกับมหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากกระแสน้ำกัลฟ์สตรีม ทำให้ลิสบอนเป็นเมืองหลวงที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและลิสบอน · ดูเพิ่มเติม »

ลุฟท์วัฟเฟอ

ลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เป็นเหล่าทัพการสงครามทางอากาศของกองทัพเยอรมันเวร์มัคท์ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพอากาศเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ (Luftstreitkräfte) แห่งกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน และหน่วยนักบินทหารเรือ มารีเนอ-ฟีเกอร์อับไทลุงของไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ (Kaiserliche Marine), ได้ถูกยุบในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและลุฟท์วัฟเฟอ · ดูเพิ่มเติม »

วันสิ้นปี

ซิดนีย์เป็นเมืองใหญ่ioเมืองแรกที่ฉลองการเข้าสู่วันขึ้นปีใหม่อย่างยิ่งใหญ่ วันสิ้นปี คือ วันสุดท้ายของปีซึ่งตรงกับวันที่ 31 ธันวาคม ตามปฏิทินเกรกอเรียน ทางการกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการ คืนวันนี้จะมีการจัดงานนับถอยหลังเพื่อเข้าสู่วันปีใหม่ในเวลาเที่ยงคืนตามเมืองใหญ่ทั่วโลกซึ่งเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดยมักมีการจุดพลุเฉลิมฉลอง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและวันสิ้นปี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและศาสนายูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสเปน

ภาพ ลาส เมนินาส ของดิเอโก เบลาสเฆส เขียนเมื่อปี ค.ศ. 1656 และเป็นหนึ่งในผลงานที่เป็นตัวแทนศิลปะสเปน เช่นเดียวกับภาพวันที่สามพฤษภาคม ค.ศ. 1808 ของโกยา และผลงานอื่นๆ ของเบลาสเฆส หมวดหมู่:ประเทศสเปน ศิลปะในประเทศสเปนมีประวัติยาวนานนับแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมนุษย์กลุ่มดังกล่าวอาศัยอยู่ที่คาบสมุทรสเปน (ชาวอัลตามิร่า) และในเวลาต่อมา อิทธิพลจากชาวฟินิเชียน-พิวนิค ชาวกรีก ชาวโรมัน และชนเผ่าเยอรมันโดยส่วนมากเป็นชาวบิสิโกดอน และอาณาจักรไบแซนทีน ก็ได้ส่งอิทธิพลต่อศิลปะสเปนในช่วงยุคกลางและต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน ในสเปนยุคโบราณ หรือที่รู้จักกันในชื่อฮิสปาเนียนั้น ความร่ำรวยของวัฒนธรรมทางตะวันออก (ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวตาร์ตาร์และชาวอิเบเรีย) และวัฒนธรรมทางเหนือ (ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชาวเคลท์ทางเหนือขึ้นไป) เป็นสองปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดความลึกซึ้งทางศิลปะในคาบสมุทรอิเบเรีย ชาวฟินิเชียนและชาวพิวนิค และการมาถึงของชาวกรีก ก็ได้ส่งอิทธิพลอย่างเห็นได้ชัดแก่อิเบเรียในเวลาต่อมาเช่นกัน ความร่ำรวยทางวัฒนธรรมของสเปนได้ถึงจุดสูงสุดในช่วงศตวรรษทองของสเปน (ระหว่างช่วงศตวรรษที่ ๑๖ ถึงศตวรรษที่ ๑๗) โดยเน้นที่ตัวบุคคลในภาพเขียนเช่นงานของ ดิเอโก้ เบลาสเฆส, โดเม้นิโคส เตโอโตเปาโลส (เอล เกรโก้) ในงานวรรณกรรม ฟรานซิสโก้ เด เฆวเวโด้, ค้อนโคร่า ฯลฯ ความร่ำรวยทางวัฒนธรรมซึ่งหลั่งไหลออกมายังภาพเขียน ปะติมากรรมและสถาปัตยกรรมนี้ นอกเหนือจากจะพบได้ตามจตุรัสและถนนหนทางในเมืองต่างๆ ของสเปนแล้ว ยังเป็นผลที่เกิดขึ้นอย่างแน่นอนจากการอยู่ร่วมกันระหว่างชาวสเปนคริสต์ (ลูกหลานชาวบิสิโกดอน) และชาวมุสลิม ซึ่งได้ให้ความร่ำรวยทางศิลปะแก่สเปนเป็นอย่างมากในช่วงศตวรรษที่เข้ามามีอำนาจในสเปน หมวดหมู่:ศิลปะ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและศิลปะสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ฟรันซิสโก ฟรังโก ผู้เผด็จการสเปน กำหนดให้สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 เป็นประมุขแห่งรัฐองค์ถัดมาใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล (Isabel I de Castilla; Isabella I of Castile22 เมษายน พ.ศ. 1994-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047) เป็นพระราชินีนาถแห่งคาสตีลและเลออนในราชวงศ์ตรัสตามารา พระนางและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน พระราชสวามี ได้วางรากฐานในการรวมสเปนให้สืบต่อไปจนถึงรุ่นหลาน คือจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทั้งสองได้เป็นขั้วอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในการยึดดินแดนสเปนกลับคืนมาจากพวกมัวร์และได้กระทำการรวมชาติสเปนเป็นปึกแผ่น พระนางทรงอนุมัติให้คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสไปแสวงหาดินแดนโพ้นทะเลและจนสำรวจพบทวีปอเมริกา พระนางจัดได้ว่าเป็นนักปกครองที่ได้รับการกล่าวชื่อในประวัติศาสตร์ พระนางได้ทำให้ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเจริญอย่างมากในสเปนและพระนางทำให้กรานาดาในการปกครองของมุสลิมมัวร์ยินยอมส่งเครื่องบรรณาการต่อพระองค์ ต่อมาพระนางได้ทำการยึดครองกรานาดาได้สำเร็จ และยึดครองนาวาร์ได้ในปี พ.ศ. 2055 แล้ว คำว่า สเปน (España) ก็เริ่มถูกนำมาใช้เพื่อเรียกชื่อของราชอาณาจักรที่รวมกันใหม่นี้ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของราชอาณาจักรคาสตีล ราชอาณาจักรอารากอน และราชอาณาจักรนาวาร์ได้วางรากฐานให้กับการเกิดสเปนสมัยใหม่และจักรวรรดิสเปน (Spanish Empire) สเปนกลายเป็นผู้นำอำนาจของยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องมาจากการปรับปรุงด้านการเมือง สังคม และการทหารในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 การขยายตัวของผลผลิตที่ได้จากเหมืองแร่เงินในทวีปอเมริกาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็ยิ่งเสริมตำแหน่งมหาอำนาจให้มั่นคงขึ้นอีก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน (Isabel II de España) (10 ตุลาคม 1830 - 10 เมษายน 1904) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์เดียวของสเปน พระนางเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโด และสมเด็จพระราชินีมาเรีย คริสตีน่า พระนางปกครองสเปนต่อจากพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 7 พระราชบิดา หลังจากนั้นพระนางก็ทรงถูกถอดจากราชสมบัติในการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์เมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 2 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา

มเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา (Juana I de Castilla) หรือที่เรียกว่า ฆัวนาผู้บ้าคลั่ง (Juana la Loca) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน และ สมเด็จพระราชินีอิซาเบลลาที่ 1 แห่งกัสติยา เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปแห่งออสเตรีย พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมารี เดอ บูร์กอญ การอภิเษกสมรสเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงทางการเมืองของสเปน สานความสัมพันธ์กับราชวงศ์ต่าง ๆ ในยุโรปเช่นเดียวกันกับการอภิเษกสมรสของพระโอรสธิดาองค์อื่น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระราชินีนาถฆัวนาแห่งกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2096 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 4 ในราชวงศ์ทิวดอร์ เป็นผู้ซึ่งฟื้นฟูศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกในอังกฤษ พระนางได้ดำเนินการเผาเหล่าบุคคลต่างศาสนา ต่างนิกายกว่า 300 คนทั้งเป็น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อว่า แมรีบ้าเลือด หรือ แมรีผู้กระหายเลือด (Bloody Mary).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6

''Desiderando nui'', 1499 สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (Alexander VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1492 ถึง ค.ศ. 1503.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรมัน

รณรัฐโรมัน (Res pvblica Romana) (อังกฤษ: Roman Republic)เป็นยุคสมัยของอารยธรรมโรมันโบราณขณะมีรัฐบาลเป็นสาธารณรัฐ เริ่มต้นจากการโค่นล้มราชาธิปไตยโรมัน ซึ่งมักถือว่าเมื่อราว 509 ปีก่อน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสาธารณรัฐโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1

งครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1 (Primera Guerra Carlista) เป็นสงครามกลางเมืองในสเปนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามสิบปี

งครามสามสิบปี (Thirty Years' War) (ค.ศ. 1618 - ค.ศ. 1648) สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ก่อความเสียหายไว้มากที่สุดสงครามหนึ่งของประวัติศาสตร์ยุโรป สงครามส่วนใหญ่สู้รบกันในดินแดนเยอรมนีและมีผู้เข้าร่วมสงครามจากเกือบทุกประเทศในยุโรป อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ต้นเหตุของความขัดแย้งและจุดประสงค์ของผู้เข้าร่วมมีความซับซ้อนและมีเหตุผลในการทำสงครามของฝ่ายต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เมื่อเริ่มแรกการต่อสู้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ แต่ความขัดแย้งการทางอำนาจทางการเมืองภายในจักรวรรดิก็เป็นส่วนสำคัญด้วย ในที่สุดสงครามก็ขยายออกไปเป็นความขัดแย้งของอาณาบริเวณต่างๆ ทั่วยุโรป สงครามสามสิบปีเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจากสงครามความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กในการเป็นมหาอำนาจในยุโรปและในที่สุดก็บานปลายไปเป็นสงครามที่ไม่มีเหตุผลใดเกี่ยวข้องกับศาสนา การต่อสู้ส่วนใหญ่ในสงครามสามสิบปีเป็นการต่อสู้โดยกองทัพทหารรับจ้างที่ทำความเสียหายอย่างใหญ่หลวงมาสู่บริเวณที่มีการต่อสู้ และก่อให้เกิดความอดอยากและโรคระบาดจนส่งผลให้จำนวนประชากรของรัฐต่าง ๆ ในเยอรมนี กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ และอิตาลีลดลงไปเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังก่อให้เกิดการสูญเสียอำนาจในหลายบริเวณ ความขัดแย้งที่เป็นสาเหตุของการต่อสู้ก็ไม่ได้รับการแก้ไข นอกจากนี้การที่สงครามมีค่าจ่ายทางการทหารเป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้รัฐที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ต้องล้มละลายในช่วงท้ายของสงคราม สงครามสามสิบปียุติลงด้วยสนธิสัญญามึนสเตอร์ (Treaty of Münster) ที่เป็นส่วนหนึ่งของสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามสามสิบปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ-สเปน (ค.ศ. 1585)

งครามอังกฤษ-สเปน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามอังกฤษ-สเปน (ค.ศ. 1585) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามคาบสมุทร

งครามคาบสมุทร (Peninsular War) เป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่างจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียนกับฝ่ายพันธมิตรอันประกอบด้วยสหราชอาณาจักร, สเปน และ โปรตุเกส เพื่อแย่งชิงคาบสมุทรไอบีเรียในช่วงสงครามนโปเลียน สงครามเริ่มขึ้นเมื่อนายพลฌ็อง-อ็องด็อชแห่งฝรั่งเศสและกองทหารในบัญชาที่ยืมมาจากสเปน อาศัยช่วงที่โปรตุเกสขาดแคลนกำลัง เข้ารุกรานและยึดครองโปรตุเกสในปลายปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามคาบสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส

งครามปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolutionary Wars) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามแปดสิบปี

งครามแปดสิบปี หรือ สงครามอิสรภาพเนเธอร์แลนด์ (Eighty Years' War หรือ Dutch War of Independence) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1566 จนถึงปี ค.ศ. 1648 ระหว่าง สาธารณรัฐดัตช์ และ จักรวรรดิสเปน สงครามเริ่มจากการเป็นการปฏิวัติต่อต้านสมเด็จพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งสเปนผู้เป็นประมุขของเนเธอร์แลนด์ของฮับส์บวร์กในหลายจังหวัดทางตอนเหนือ ที่เริ่มขึ้นในฮอลแลนด์ และ เซแลนด์ สงครามจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย ผลของสงครามในที่สุดก็นำไปสู่การแยกตัวของเจ็ดจังหวัดที่มารวมตัวกันเป็นสาธารณรัฐดัตช์ จังหวัดต่อต้านฟลานเดอร์ส และ บราบองต์ต่อมากลายเป็นเบลเยียมปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามแปดสิบปี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะคะแนรี

หมู่เกาะคะแนรี (Canary Islands), คะแนรีส์ (Canaries) หรือ กานาเรียส (Canarias) เป็นหมู่เกาะของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ 7 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา (โมร็อกโกและเวสเทิร์นสะฮารา) และมีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองของสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและหมู่เกาะคะแนรี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Northern Mariana Islands; ชามอร์โร: Islas Mariånas) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Commonwealth of the Northern Mariana Islands, CNMI; ชามอร์โร: Sankattan Siha Na Islas Mariånas) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกา หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 14 เกาะ มีประชากรจำนวน 80,362 คน (พ.ศ. 2548).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแบลีแอริก

หมู่เกาะแบลีแอริก (Balearic Islands), หมู่เกาะบาลาอัส (Illes Balears) หรือ หมู่เกาะบาเลอาเรส (Islas Baleares) เป็นกลุ่มเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก ใกล้ชายฝั่งประเทศสเปน เป็นหนึ่งในแคว้นปกครองตนเองของสเปน เมืองหลักคือปัลมา จังหวัดที่แคว้นนี้มีอยู่แห่งเดียวก็มีชื่อเดียวกับชื่อแคว้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและหมู่เกาะแบลีแอริก · ดูเพิ่มเติม »

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอัลกออิดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลวะลีดที่ 1

อัลวะลีด อิบน์ อับดุลมะลิก (الوليد بن عبد الملك; Al-Walid ibn Abd al-Malik; ค.ศ. 668 – ค.ศ. 715) หรือ อัลวะลีดที่ 1 (Al-Walid I) เป็นกาหลิบแห่งจักรวรรดิกาหลิบอุมัยยะฮ์ ผู้ปกครองจักรวรรดิระหว่าง ค.ศ. 705 จนเสียชีวิตในปี ค.ศ. 715 อัลวะลีดที่ 1 เป็นบุตรของอับดุลมะลิก (Abd al-Malik) ผู้ดำเนินการขยายดินแดนของจักรวรรดิที่เริ่มโดยอับดุลมะลิกต่อไปอีกกว้างไกล และเป็นประมุขผู้มีความสามาร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอัลวะลีดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

อัลอันดะลุส

อัลอันดะลุส (الأندلس; Al-Andalus) เป็นชื่อภาษาอาหรับของบริเวณคาบสมุทรไอบีเรียและเซ็พติเมเนียที่ปกครองโดยอาหรับและชาวมุสลิมในแอฟริกาเหนือ (ที่เรียกโดยทั่วไปว่ามัวร์) ในช่วงเวลาต่าง ๆ กันระหว่าง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอัลอันดะลุส · ดูเพิ่มเติม »

อารยธรรมมายา

แผนที่แสดงอาณาเขตของอาณาจักรมายา อาณาจักรมายา เป็นอาณาจักรโบราณในอเมริกากลาง มีพื้นที่บริเวณประเทศเม็กซิโกคาบเกี่ยวกับเบลีซและกัวเตมาลา มีความรุ่งเรืองช่วง 500 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอารยธรรมมายา · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจอธิปไตย

อำนาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตย ย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง ตัวอย่างเช่น ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นต้น อนึ่ง อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอำนาจอธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

อนาธิปไตย

อนาธิปไตย (anarchism) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นปรัชญาการเมืองซึ่งถือว่ารัฐนั้นเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ไม่จำเป็นและให้โทษ หรืออีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการคัดค้านผู้มีอำนาจและองค์การมีลำดับชั้นบังคับบัญชาในการชี้นำความสัมพันธ์ของมนุษย์ ผู้เสนออนาธิปไตย หรือรู้จักกันว่า "ผู้นิยมลัทธิอนาธิปไตย" (anarchist) สนับสนุนสังคมที่ปราศจากรัฐโดยตั้งอยู่บนการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจที่ไม่มีลำดับชั้น เสรีภาพของปัจเจกชนและการต่อต้านรัฐ คือหลักการที่ชัดเจนของลัทธิอนาธิปไตย สำหรับในเรื่องอื่น ๆ นั้นอาจมีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในหมู่ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เช่น การใช้ความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสังคม ชนิดของระบอบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและลำดับชั้น การตีความหมายของแนวคิดเกี่ยวกับความสมภาค (egalitarian) และระดับของการจัดองค์กร คำว่า "อนาธิปไตย" ในความหมายที่นักอนาธิปไตยใช้นั้น มิได้หมายถึงภาวะยุ่งเหยิงหรืออโนมี แต่เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เสมอภาค ที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรักษาอย่างจงใจ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอนาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกากลาง

แผนที่อเมริกากลาง อเมริกากลาง (Central America) เป็นภูมิภาคย่อยที่หมายถึงกลุ่มประเทศที่อยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งตามความหมายส่วนใหญ่แล้วจะนับจาก ทางใต้ของ อ่าวเม็กซิโก ไปถึงพรมแดนระหว่างปานามากับโคลัมเบีย (หรือประเทศต่าง ๆ ระหว่างเม็กซิโกกับโคลัมเบีย) ได้แก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฮันนิบาล

ันนิบาล บาร์กา (Hannibal Barca) (248 ปีก่อนคริสตกาล ถึง 184 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นรัฐบุรษคาร์เทจ และแม่ทัพผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในยุคโบราณ เพราะเขาบุกโจมตีโรมและทำศึกโดยไร้พ่ายนานกว่า 15 ปี โดยใช้กลยุทธ์และยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ในการรบ บิดาของฮันนิบาลเป็นแม่ทัพใหญ่แห่งคาร์เทจ ชื่อ ฮามิลการ์ บาร์กา (Hamilcar Barca) เสียชีวิตในการรบเพื่อกำราบชนพื้นเมืองในคาบสมุทรไอบีเรีย ฮัสดรูบาล (Hasdrubal the Fair) บุตรเขยจึงรับหน้าที่เป็นแม่ทัพต่อจากเขา ฮัสดรูบาลสามารถสร้างกองทัพคาร์เทจใหม่ได้สำเร็จ แต่ไม่นานเขาก็สิ้นชีวิตลงเนื่องจากถูกชนพื้นเมืองชาวเคลต์ลอบสังหาร และก่อนที่คำสั่งแต่งตั้งแม่ทัพคนใหม่จากคาร์เทจจะมาถึง เหล่าทหารก็ยกให้ฮันนิบาลขึ้นเป็นแม่ทัพใหญ่แห่งคาร์ธาจีนา (ศูนย์กลางของชาวคาร์เทจในไอบีเรีย) หลังจากรับตำแหน่ง ฮันนิบาลยังไม่วางแผนโจมตีโรมในทันที เนื่องจากต้องการสร้างพันธมิตรที่เข้มแข็งกับบรรดาเมืองและชนเผ่าต่าง ๆ ในคาบสมุทรไอบีเรียเสียก่อน ทว่าในบรรดาเมืองเหล่านั้น นครซากุนโต (Sagunto) ซึ่งมีเหมืองเงินที่อุดมสมบูรณ์ได้ขอเป็นพันธมิตรกับโรมและปฏิเสธข้อเสนอของฮันนิบาล นอกจากนี้ ซากุนโตยังวางแผนที่จะดึงพันธมิตรต่าง ๆ ในไอบีเรียไปจากคาร์เทจอีกด้วย ฮันนิบาลจึงตัดสินใจเข้าโจมตีซากุนโตในปี พ.ศ. 324 แม้จะรู้ว่านั่นหมายถึงสงครามกับโรมก็ตาม หลังจากล้อมอยู่ไม่นาน ทัพคาร์เทจก็พิชิตซากุนโตได้สำเร็จ ทางโรมทราบเรื่องด้วยความไม่พอใจมาก แต่เนื่องจากยังไม่ต้องการทำสงคราม ดังนั้น ทางสภาโรมจึงสั่งให้คาร์เทจส่งตัวฮันนิบาลไปยังโรม ฮันนิบาลปฏิเสธและระดมกองทัพทันที และในปี พ.ศ. 325 สงครามพิวนิกครั้งที่สอง ก็เริ่มขึ้น ฮันนิบาลแม่ทัพหนุ่มวัย 29 ปี ยกกองทัพอันประกอบด้วยทหารราบคาร์เทจและสเปน 70,000 นาย ทหารม้านูมิเดียน 12,000 นาย และช้างศึกหุ้มเกราะ 40 เชือก ออกจากการ์ตาโกโนวา ทางโรมเชื่อว่าฮันนิบาลจะเข้าตีโรมโดยทางเรือ จึงเตรียมการป้องกันตลอดแนวชายฝั่ง ทว่าฮันนิบาลทำสิ่งที่ไม่มีใครคาดคิด คือการรุกข้ามเทือกเขาพิเรนีสและเทือกเขาแอลป์เข้าไปทางตอนเหนือของคาบสมุทรอิตาลี รวมทั้งสามารถเอาชนะกองทัพโรมันได้ในการรบอีกหลายครั้ง แผนที่เส้นทางเดินทัพทางบกของฮันนิบาล ด้วยความเอื้อเฟื้อจากภาควิชาประวัติศาสตร์ วิทยาลัยการทหารสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม การรุกรานแอฟริกาเหนือของโรมันก็ทำให้ฮันนิบาลต้องถอนทหารกลับไปป้องกันเมืองคาร์เทจในยุทธการที่ซามา ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ครั้งสุดท้ายของสงครามพิวนิกครั้งที่สอง เขาได้พ่ายแพ้ให้กับกองทัพโรมันที่นำโดยสกีปีโอ อาฟรีกานุส (Scipio Africanus) โดยเมืองคาร์เทจต้องยอมจำนนต่อกรุงโรมหลังจากที่สูญเสียทหารไปกว่า 30,000 คน และต้องเสียคาบสมุทรไอบีเรียให้กับโรมันไปอีกด้วย ต่อมาอีก 14 ปี โรมันก็ได้เรียกร้องให้ฮันนิบาลยอมมอบตัว เขาจึงเนรเทศตัวเองไปอยู่ที่เมืองไทร์ (ปัจจุบันอยู่ในเลบานอน) ซึ่งเป็นเมืองแม่ของคาร์เทจ (ชาวฟินิเชียนจากเมืองไทร์เป็นผู้ก่อตั้งเมืองนี้) และจากนั้นจึงเดินทางไปที่เมืองเอเฟซุส (ปัจจุบันอยู่ในตุรกี) ขณะอยู่ที่เอเฟซุส ฮันนิบาลพยายามสนับสนุนพระเจ้าอันตีโอกุสที่ 3 (Antiochus III) กษัตริย์แห่งเมืองนั้นให้ทรงทำสงครามกับโรมัน และเขาก็ได้บัญชาการทัพเรือของพระองค์ในปี พ.ศ. 348 แต่ก็พ่ายแพ้ในยุทธการใกล้แม่น้ำยูริเมดอน เขาจึงหนีจากเอเฟซุส (ซึ่งมีทีท่าว่าจะส่งตัวเขาให้กับโรมันด้วย) ไปอยู่เกาะครีต แต่จากนั้นไม่นานก็กลับมาที่เอเชียไมเนอร์อีกครั้ง โดยขอลี้ภัยกับพระเจ้าปรูซีอัสที่ 1 (Prusias I) แห่งบิทิเนีย ฮันนิบาลได้ช่วยพระองค์รบกับกองทัพจากเมืองเปอร์กามอนซึ่งเป็นพันธมิตรของโรมัน อย่างไรก็ตาม ฝ่ายโรมันก็ยังยืนกรานที่จะให้เขามอบตัว ซึ่งพระเจ้าปรูซีอัสที่ 1 ก็ทรงยินยอมที่จะส่งตัวฮันนิบาลให้ ในที่สุดเมื่อสิ้นหนทางหนี เขาจึงตัดสินใจที่จะไม่ตกไปอยู่ในเงื้อมมือของศัตรูโดยจบชีวิตของตนลงด้วยการดื่มยาพิษในปี พ.ศ. 360 ที่เมืองลิบิสซา ริมชายฝั่งตะวันออกของทะเลมาร์มะรา แม้ว่าจะไม่อาจเอาชนะโรมได้อีก แต่ฮันนิบาลก็ได้ชื่อว่าเป็นยอดแห่งแม่ทัพของโลกคนหนึ่ง ด้วยว่าตลอดเวลา 15 ปีที่เขาทำศึกในดินแดนโรมันนั้น ฮันนิบาลไม่เคยพ่ายแพ้แม้แต่ครั้งเดียว ทั้ง ๆ ที่เขาไม่ได้รับกำลังสนับสนุนจากใครเล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและฮันนิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ฮิสเปเนีย

ปเนียหลังจากการจัดเขตการปกครองโดยจักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี ค.ศ. 260 ฮิสเปเนีย, ฮิสปาเนีย หรือ อิสปาเนีย (อังกฤษ, ละติน, Hispania) เป็นชื่อที่โรมันใช้เรียกคาบสมุทรไอบีเรียทั้งหมด (ที่ปัจจุบันคือประเทศสเปน โปรตุเกส อันดอร์รา ยิบรอลตาร์ และส่วนเล็ก ๆ ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส) เมื่อโรมมีฐานะเป็นสาธารณรัฐ ฮิสเปเนียแบ่งเป็นสองจังหวัด ได้แก่ เนียเรอร์ฮิสเปเนีย (Nearer Hispania) และเฟอร์เทอร์ฮิสเปเนีย (Further Hispania) ระหว่างสมัย Principate เฟอร์เทอร์ฮิสเปเนียก็แบ่งเป็นสองจังหวัดใหม่คือฮิสเปเนียเบทิกาและลูซิเทเนีย ขณะที่เนียเรอร์ฮิสเปเนียเปลี่ยนชื่อเป็นฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส ต่อมาทางตะวันตกของทาร์ราโคเนนซิสก็แบ่งย่อยออกเป็นฮิสเปเนียใหม่ที่ต่อมาเรียกว่าแคลเลเชีย (หรือแกลเลเชียที่กลายมาเป็นแคว้นกาลิเซียของสเปนในปัจจุบัน) ตั้งแต่สมัยจตุราธิปไตยภายใต้จักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและฮิสเปเนีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮาดริอานุส

ักรพรรดิฮาดริอานุส หรือ ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส (Hadrian; ชื่อเต็ม: Publius Aelius HadrianusInscription in Athens, year 112 AD: CIL III, 550) (24 มกราคม ค.ศ. 76 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138) ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียนระหว่างวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 117 ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138 พระนามเมื่อเป็นจักรพรรดิคือ “Imperator Caesar Divi Traiani filius Traianus Hadrianus Augustus” และ “Divus Hadrianus” หลังจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิองค์ที่สามในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) หรือองค์ที่สองของข้อเสนอของราชวงศ์อัลปิโอ-เอเลียนเมื่อไม่นานมานี้ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) และ ลัทธิเอพิคิวเรียน (Epicureanism) ฮาดริอานุสมาจากตระกูลเอลิอุส (Aelius) ซึ่งเป็นตระกูลโรมันโบราณ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดิฮาดริอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ. 2049 - 2098) กษัตริย์แห่งสเปน (พ.ศ. 2059 - 2099) พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนเปิลส์และราชอาณาจักรซิซิลี (พ.ศ. 2059 - 2097) อาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย (พ.ศ. 2062 - 2064) และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (พ.ศ. 2073 - 2099) พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟลิเปที่ 1 แห่งคาสตีล (Philip I of Castile, พ.ศ. 2021-พ.ศ. 2049) และพระนางโจแอนนา (Joanna of Castile, พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2098) พระอัยกาคือพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนและจักรพรรดิมักซีมีเลียนที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ส่วนพระอัยกีคือสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลลาที่ 1 แห่งคาสตีลและแมรีแห่งเบอร์กันดี พระปิตุจฉาคือแคเธอรีนแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษพระมเหสีองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไตรยานุส

อบเขตของจักรวรรดิเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ (ค.ศ. 117)Bennett, J. ''Trajan: Optimus Princeps''. 1997. Fig. 1 จักรพรรดิไตรยานุส (Marcus Ulpius Nerva Traianus) หรือที่รู้จักกันในนาม จักรพรรดิทราจัน ประสูติเมื่อ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 596 เป็นจักรพรรดิโรมันเมื่อ พ.ศ. 641 ถึง พ.ศ. 660 พระองค์เป็นจักรพรรดิองคืที่สามใน ห้าจักรพรรดิผู้ทรงธรรม นอกจากจะปกครองจักรวรรดิได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว ในด้านการทหารพระองค์ก็มีความสามารถไม่แพ้กัน พระองค์เป็นที่รู้จักดีในการพิชิตดาเซีย ร่วมถึงการรบกับจักรวรรดิพาร์เทีย อาณาเขตของจักรวรรดิในรัชสมัยของพระองค์นั้นถือได้ว่ายิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ โยมีอาณาเขตจากกาลิเซีย ไปจนถึงเมโสโปเตเมี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดิไตรยานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์(หรือลีโอโพลด์) ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Leopold Ignaz Joseph Balthasar Felician, Leopold I, Holy Roman Emperor) (9 มิถุนายน ค.ศ. 1640 - 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705) แห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ของจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1658 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1705 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระนางมาเรีย อันนาแห่งบาวาเรีย จักรพรรดินีมเหสีพระองค์แรก ลีโอโพลด์ทรงกลายมาเป็นรัชทายาทโดยนิตินัยหลังจากการสวรรคตด้วยโรคฝีดาษของพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งฮังการีพระเชษฐาธิราชเมื่อวันที่9 กรกฎาคม ค.ศ. 1658.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเอากุสตุส

อิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส (IMPERATOR CAESAR DIVI FILIVS AVGVSTVS; 23 กันยายน 63 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 19 สิงหาคม ค.ศ. 14) เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมัน ทรงปกครองจักรวรรดิแต่เพียงผู้เดียวนับตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งสวรรคตใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรพรรดิเอากุสตุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิสเปน

ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิสเปน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอินคา

ักรวรรดิอินคา (Inca Empire; Imperio Incar) (ค.ศ. 1438-1533) เป็นจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ในยุคก่อนโคลัมบัส จักรวรรดิอินคามีอำนาจขึ้นบริเวณที่ราบสูงของประเทศเปรูในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ช่วงปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิอินคา · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดินิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแอซเท็ก

แอซเท็ก (Aztec Empire) เป็นคำที่หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ในทางตอนกลางของเม็กซิโกโดยเฉพาะกลุ่มที่พูดภาษานาวาตล์ (Nahuatl) ผู้มีอำนาจทางการเมืองและทางการทหารในบริเวณเมโสอเมริกา ในคริสต์ศตวรรษที่ 14, 15 และ 16 ในสมัยที่เรียกว่าปลายยุคคลาสสิกตอนหลังในลำดับเหตุการณ์ในเมโสอเมริกา (Mesoamerican chronology) ส่วนใหญ่แล้ว “แอซเท็ก” มักจะหมายถึงเฉพาะชาวเตนอชตีตลัน (Tenochtitlan) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนเกาะในทะเลสาบเท็กซ์โคโคที่เรียกตนเองว่า “เม็กซิกาเทน็อคคา” หรือ “โคลฮูอาเม็กซิกาเทน็อคคา” บางครั้งคำนี้ก็รวมทั้งผู้ที่พำนักอาศัยของเตนอชตีตลันในนครรัฐพันธมิตรอีกสองเมือง Acolhua แห่ง เตซโกโก และ เทพาเน็คแห่งทลาโคพานที่รวมกันเป็นสามพันธมิตรแอซเท็ก (Aztec Triple Alliance) หรือที่เรียกกันว่า “จักรวรรดิแอซเท็ก” กลุ่มกองกิสตาดอร์ หรือนักสำรวจดินแดนชาวสเปนนำโดย เอร์นัน กอร์เตส เข้ารุกรานและยึดครองจักรวรรดิแอซเท็ก จนกระทั่งล่มสลายในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิแอซเท็ก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

ักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิโรมันตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโปรตุเกส

ักรวรรดิโปรตุเกส (Portuguese Empire, Império Português) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิอาณานิคมของโลกจักรวรรดิแรกที่มีดินแดนในหลายทวีปที่รวมทั้งอเมริกาใต้, แอฟริกา, อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้การปกครอง และเป็นจักรวรรดิอาณานิคมที่รุ่งเรืองอยู่นานที่สุดในยุโรปที่รุ่งเรืองอยู่เป็นเวลาเกือบห้าร้อยปีตั้งแต่การพบบราซิลในปี ค.ศ. 1500 จนกระทั่งถึงการคืนมาเก๊าในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเป็นระยะเวลายาวนานกว่าจักรวรรดิสเปน และ จักรวรรดิฝรั่งเศส ความต้องการที่จะขยายดินแดนไปทั่วโลกของโปรตุเกสเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อนักสำรวจเริ่มดินทางไปสำรวจทางฝั่งทะเลของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1419 หลังจากที่ได้รับชัยชนะต่อเมืองเซวตา (Ceuta) ทางตอนเหนือของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1415 โปรตุเกสใช้ความก้าวหน้าล่าสุดทางการเดินเรือ, การเขียนแผนที่ และเทคโนโลยีทางทะเลเช่นการใช้เรือคาราเวล (Caravel) ในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่มีค่าที่สุดในยุคนั้น ในปี ค.ศ. 1488 บาร์ตูลูเมว ดีอัช (Bartolomeu Dias) เดินทางรอบแหลมกูดโฮปสำเร็จ และในปี ค.ศ. 1498 วาสโก ดา กามาก็เดินทางรอบอินเดีย ขณะที่การสำรวจเหล่านี้เป็นการแสดงถึงอำนาจของโปรตุเกสในต่างประเทศแต่จุดประสงค์ที่แท้จริงของการสำรวจก็เพื่อเป็นการขยายเส้นทางการค้าที่เน้นการแสวงหาเส้นทางใหม่ไปยังตะวันออกไกล โดยไม่ต้องเดินทางผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ขณะนั้นอยู่ภายใต้อิทธิพลของอำนาจของฝ่ายปฏิปักษ์โดยเฉพาะจักรวรรดิออตโตมัน ความเปลี่ยนแปลงในปี ค.ศ. 1500 เกิดขึ้นเมื่อมีผู้พบฝั่งทะเลอเมริกาใต้โดยบังเอิญ และเมื่อเปดรู อัลวาเรซ กาบรัลเป็นผู้เดินทางสำรวจไปพบและยึดบราซิลเป็นอาณานิคม นโยบายที่เคยเป็นการสำรวจเพื่อการค้าจึงเริ่มเปลี่ยนไปเป็นการสำรวจเพื่อแสวงหาอาณานิคม ในช่วงเวลาหลายสิบปีต่อมานักเดินเรือชาวโปรตุเกสก็ดำเนินการสำรวจฝั่งทะเลและเกาะต่างๆ ในเอเชียตะวันออกต่อไป ก่อตั้งป้อม และ สถานีการค้า (trading post) ขึ้นตามสถานที่ต่างๆ ที่พบ ภายในปี ค.ศ. 1571 โปรตุเกสก็มีสถานีการค้าระไปตั้งแต่ลิสบอนเองไปจนถึงนะงะซะกิในญี่ปุ่น การขยายดินแดนทำให้โปรตุเกสกลายเป็นจักรวรรดิโลกที่มีความมั่งคั่งอันมหาศาล ระหว่างปี ค.ศ. 1580 ถึงปี ค.ศ. 1640 โปรตุเกสก็กลายเป็นพันธมิตรรองของสเปนของสองราชบัลลังก์ในการรวมตัวกันเป็นสหภาพไอบีเรีย (Iberian Union) แม้ว่าสองราชอาณาจักรนี้จะมีการบริหารแยกกันแต่อาณานิคมของโปรตุเกสก็กลายเป็นเป้าในการโจมตีโดยศัตรูของสเปนในยุโรปผู้มีความไม่พึงพอใจต่อความสำเร็จในอำนาจทางทะเลในต่างประเทศของจักรวรรดิในคาบสมุทรไอบีเรียที่รวมทั้งจักรวรรดิดัตช์ (ผู้ในที่สุดก็เข้าสงครามสงครามอิสรภาพต่อต้านสเปน), จักรวรรดิอังกฤษ และ จักรวรรดิฝรั่งเศส แต่โปรตุเกสเป็นประเทศเล็กและมีประชากรเพียงจำนวนไม่มากนักซึ่งทำให้ไม่สามารถป้องกันอาณานิคมในการปกครองของตนเองในดินแดนต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้อำนาจของโปรตุเกสเริ่มลดถอยลง นอกจากนั้นการสูญเสียบราซิลซึ่งเป็นอาณานิคมที่ใหญ่ที่สุดและสร้างผลกำไรให้มากที่สุดแก่โปรตุเกสในปี ค.ศ. 1822 ในช่วงการปลดปล่อยอาณานิคมในอเมริกา (Decolonization of the Americas) เป็นความสูญเสียอันใหญ่หลวงที่ทำให้โปรตุเกสไม่อาจฟื้นตัวขึ้นได้หลังจากนั้น การล่าอาณานิคมในแอฟริกาที่เริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้โปรตุเกสพอจะได้ดินแดนมาบ้าง ดินแดนส่วนใหญ่ในแอฟริกาที่ได้มาตกอยู่ภายใต้การบริหารและอิทธิพลของโปรตุเกสเป็นเวลาหลายร้อยปี เมืองเช่นลูอันดา (Luanda) และ เบงเกลา (Benguela) และที่ตั้งถิ่นฐานต่างๆ หลายแห่งได้รับการก่อตั้งขึ้นและปกครองโดยโปรตุเกสมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อันโตนิโอ เดอ โอลิเวรา ซาลาซาร์ (António de Oliveira Salazar) ผู้นำของโปรตุเกสก็ยังพยายามรักษาจักรวรรดิโปรตุเกสไว้โดยไม่ยอมเปลี่ยนแปลงในขณะที่ประเทศต่างๆ ในยุโรปเริ่มถอนตัวจากอาณานิคมต่างๆ ในปี ค.ศ. 1961 กองกำลังจำนวนเพียงเล็กน้อยของโปรตุเกสที่ประจำอยู่ที่รัฐกัวก็ไม่สามารถต้านทานกองทหารอินเดียที่รุกเข้ามาในอาณานิคมได้ ซาลาซาร์จึงเริ่มสงครามอาณานิคมโปรตุเกสอันเป็นสงครามนองเลือดอันยาวนานเพื่อที่จะปราบปรามนักต่อต้านอาณานิคมในอาณานิคมแอฟริกา สงครามอันไม่เป็นที่นิยมมาสิ้นสุดลงเมื่อคณะรัฐบาลของซาลาซาร์ถูกโค่นอำนาจในปี ค.ศ. 1974 ที่เรียกกันว่าการปฏิวัติคาร์เนชัน (Carnation Revolution) หลังจากนั้นรัฐบาลโปรตุเกสก็เปลี่ยนนโยบายทันทีและอนุมัติอิสรภาพของประเทศต่างๆ ในอาณานิคมโปรตุเกสทั้งหมดยกเว้นมาเก๊าที่มาคืนให้แก่ประเทศจีนในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเท่ากับเป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโปรตุเก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกรานาดา

กรานาดา (Granada) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศสเปน อยู่ทางตะวันออกของแคว้นอันดาลูซีอา มีเมืองหลวงคือ กรานาดา มีพื้นที่ 12,635 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 876,184 คน นอกจากนี้ภูเขามูลาเซนในจังหวัดกรานาดา ยังเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในคาบสมุทรไอบีเรียอีกด้วย กรานาดา หมวดหมู่:แคว้นอันดาลูซีอา.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและจังหวัดกรานาดา · ดูเพิ่มเติม »

ถ้ำอัลตามิรา

้ำอัลตามิรา (Cueva de Altamira, ทิวทัศน์มุมสูง) เป็นถ้ำแห่งหนึ่งในประเทศสเปน มีชื่อเสียงและความสำคัญเนื่องจากปรากฏภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์อยู่ภายใน ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองซานติยานาเดลมาร์ (Santillana del Mar) ในแคว้นปกครองตนเองกันตาเบรียทางภาคเหนือของประเทศ ห่างจากเมืองซันตันเดร์ (เมืองหลักของแคว้น) ไปทางทิศตะวันตก 30 กิโลเมตร ถ้ำอัลตามิราเป็นถ้ำหินปูนมีขนาดความลึก 300 หลา ภาพเขียนอันเก่าแก่ภายในถ้ำแห่งนี้ถูกค้นพบโดยบังเอิญในปี ค.ศ. 1869 โดยนายมาร์เซลิโน ซันซ์ เด เซาตูโอลา (Marcelino Sanz de Sautuola) นักโบราณคดีสมัครเล่นและเป็นเจ้าของที่ดินบริเวณดังกล่าว วันหนึ่งเขาออกเดินสำรวจตามบริเวณถ้ำต่าง ๆ ในแถบนั้น สังเกตดูลักษณะของถ้ำขนาดใหญ่ถ้ำหนึ่งคล้ายกับเคยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยมาก่อน ได้พบร่องรอยบางประการ อาทิ เศษหินและกระดูกสัตว์เก่า ๆ สลักเป็นลวดลายรูปสัตว์ แต่ก็ไม่ได้สำรวจสิ่งอื่น ๆ อีก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1879 จึงได้กลับมาสำรวจภายในถ้ำร่วมกับลูกสาวอีกครั้งหนึ่ง คราวนี้ความลับที่ถูกปกปิดไว้ด้วยกาลเวลาได้ถูกเปิดเผยขึ้นต่อโลกใบใหม่อย่างที่ไม่มีใครล่วงรู้มาก่อน ลักษณะเพดานของถ้ำอัลตามิรามีความสูงต่ำไม่เท่ากัน บางแห่งต่ำมากจนถึงกับต้องคลาน โดยเฉลี่ยแล้วความสูงของเพดานไม่มากพอที่จะให้ผู้ใหญ่ร่างสูงยืนสำรวจดูอะไรได้คล่องตัวนัก แต่อุปสรรคดังกล่าวไม่เป็นปัญหาสำหรับลูกสาวของเขา เพราะในขณะที่เขาก้มหน้าก้มตาคุ้ยเขี่ยพื้นถ้ำเพื่อหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์อยู่นั้น ลูกสาวก็กำลังยืนแหงนหน้ามองภาพต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่มากมายบนผนังและเพดานถ้ำอย่างเพลิดเพลิน เท่ากับว่าเด็กหญิงผู้นี้เป็นมนุษย์สมัยใหม่คนแรกที่ได้เห็นภาพอันล้ำค่าของมนุษย์ยุคดึกดำบรรพ์ เมื่อนายมาร์เซลิโนได้ยินเสียงลูกสาวร้องเรียกให้ดูภาพต่าง ๆ ทำให้เขารู้โดยทันทีว่าเป็นภาพวาดจิตรกรรมชิ้นเยี่ยมของมนุษย์ถ้ำยุคหินเก่าอย่างแน่นอน เขาได้รวบรวมหลักฐานสำคัญในการค้นพบครั้งนี้เสนอต่อที่ประชุมนักมานุษยวิทยาและโบราณคดี ณ กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ในปี ค.ศ. 1880 แต่ได้รับการปฏิเสธจากที่ประชุมด้วยความคิดที่ว่าไม่น่าเป็นไปได้ จากนั้นอีก 16 ปี ต่อมา (ค.ศ. 1896) หลังการสำรวจอย่างจริงจังเกี่ยวกับภาพจิตรกรรมดังกล่าวของนักมานุษยวิทยาและนักโบราณคดี ทำให้พิสูจน์ได้ว่า ภาพเขียนบนผนังและเพดานถ้ำอัลตามิราของนายมาร์เซลิโนนั้นเป็นความจริง เมื่อเทียบกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์จากแหล่งอื่น ๆ ที่ค้นพบต่อมาในภายหลัง ภาพวาดในถ้ำอัลตามิราได้รับการยกย่องว่าเป็นผลงานชิ้นเยี่ยม (Masterpiece) เนื่องจากมีความเป็นเลิศทางด้านการแสดงออกและกรรมวิธีความสามารถในการวาดระบาย รวมทั้งความงดงาม ความเข้าใจในสุนทรียภาพของผู้วาดเป็นอย่างสูง จากบริเวณปากถ้ำลึกเข้าไปประมาณ 30 หลา ปรากฏภาพเขียนจิตรกรรมเรื่อยไปจนจรดก้นถ้ำ ภาพส่วนมากเป็นภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายในยุคนั้น เช่น กวางเรนเดียร์ วัวไบซัน ม้า มีกิริยาอยู่ในท่ายืนแสดงอาการเคลื่อนไหวไม่แข็งนิ่งอยู่กับที่ รวมทั้งหมด 25 ภาพ แต่ละภาพมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงความเป็นจริง มีความสูงโดยเฉลี่ย 5-6 ฟุต โดยที่จิตรกรหรือผู้วาดพยายามเลียนให้เหมือนของจริงตามธรรมชาติให้มากที่สุด วาดด้วยเส้นอันแข็งแรงเด็ดเดี่ยว สีที่ใช้เป็นสีแดงและสีน้ำตาลระบายตัวสัตว์ ตัดเส้นเน้นเป็นบางส่วนด้วยสีดำ และที่น่าอัศจรรย์ใจคือ จิตรกรสมัยก่อนประวัติศาสตร์ผู้วาดภาพเหล่านี้ รู้จักการแก้ปัญหาการทับซ้อนกันของรูปทรง รวมทั้งแสดงถึงความเข้าใจความตื้นลึกของภาพตามหลักการวาดภาพที่มีทัศนมิติหรือสัดส่วนใกล้ไกล (Perspective) ได้อย่างไร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและถ้ำอัลตามิรา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกา

แผนที่ทวีปอเมริกาโดย Jonghe. Ca. พ.ศ. 2313 แผนที่ทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกา (Americas)america.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาใต้

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทวีปอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ทาส

''Le Marché aux esclaves'', ตลาดค้าทาส ฌอง-เลออง เจอโรม ราว ค.ศ. 1884) ทาส หมายถึง บุคคลซึ่งถูกนับสิทธิเสมือนสิ่งของของผู้อื่น ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิต และมีหน้าที่รับใช้ผู้อื่นโดยมิได้รับการตอบแทนจากเจ้าของ (นายทาส) เช่น การรับใช้ทางด้านแรงงาน และหากไม่เชื่อฟังคำสั่ง อาจถูกลงโทษได้ตามแต่นายทาสจะกำหนด ยกเว้นเป็นการกระทำอันทำให้ถึงแก่ความต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและทาส · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและข้าวสาลี · ดูเพิ่มเติม »

ดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน

อนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน (El ingenioso hidalgo don Quixote de la Mancha)ซาเบดฺร้า, มิเกล๎ เด เซร๎บันเต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดอนกิโฆเต้ แห่งลามันช่า ขุนนางต่ำศักดิ์นักฝัน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีซาวอย

ัชชีแห่งซาวอย (Duchy of Savoy, Savoie, Savoia) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดัชชีซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

ดามัสกัส

มัสกัส (Damascus) เป็นเมืองหลวงของประเทศซีเรีย เป็นเมืองเก่าแก่ซึ่งมีผู้อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ตั้งแต่ 2,457 ปีก่อนพุทธศักราช มีมัสยิดเก่าที่สร้างตั้งแต..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดามัสกัส · ดูเพิ่มเติม »

ดิเอโก เบลัซเกซ

อโก เบลัซเกซ ดิเอโก โรดริเกซ เด ซิลบา อี เบลัซเกซ (Diego Rodríguez de Silva y Velázquez; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2142 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2203) เป็นจิตรกรชาวสเปน มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Las Meninas, La Venus del espejo และ La Rendición de Breda.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดิเอโก เบลัซเกซ · ดูเพิ่มเติม »

ดีบุก

ีบุก (อังกฤษ: Tin) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 50 และสัญลักษณ์คือ Sn (มาจากคำในภาษาลาตินว่า Stannum) ดีบุกเป็นโลหะที่ไม่ดี หลอมเหลวได้ง่าย ทนต่อการกัดกร่อน และถูกอ๊อกซิไดซ์ในอากาศได้ดี พบในโลหะผสมหลายชนิด ใช้ประโยชน์ในการเคลือบโลหะเพื่อป้องกันการกันกร่อน ดีบุกส่วนใหญ่สกัดได้จากแร่แคสสิเตอร์ไรต์ (cassiterite).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดีบุก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคบาโรก

นตรียุคบาโรก หรือบางแห่งเรียกว่า ดนตรีบาโรก (Baroque music) เป็นลักษณะดนตรียุโรปคลาสสิก ราว..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและดนตรียุคบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 10

ริสต์ศตวรรษที่ 10 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 901 ถึง ค.ศ. 1000.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 13

ริสต์ศตวรรษที่ 13 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1201 ถึง ค.ศ. 1300.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 14

ริสต์ศตวรรษที่ 14 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1301 ถึง ค.ศ. 1400.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 15

ริสต์ศตวรรษที่ 15 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1401 ถึง ค.ศ. 1500.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 16

ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 17

ริสต์ศตวรรษที่ 17 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1601 ถึง ค.ศ. 1700.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 18

ริสต์ศตวรรษที่ 18 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1701 ถึง ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 19

ริสต์ศตวรรษที่ 19 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1801 ถึง ค.ศ. 1900.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 20

ริสต์ศตวรรษที่ 20 อยู่ระหว่างปี 1 มกราคม ค.ศ. 1901 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2000.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 3

ริสต์ศตวรรษที่ 3 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 201 ถึง ค.ศ. 300.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 4

ริสต์ศตวรรษที่ 4 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 301 ถึง ค.ศ. 400.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 5

ริสต์ศตวรรษที่ 5 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 401 ถึง ค.ศ. 500.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 8

ริสต์ศตวรรษที่ 8 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 701 ถึง ค.ศ. 800.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ศตวรรษที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1640

..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสต์ทศวรรษ 1640 · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ. 1451 เสียชีวิตวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506) เป็นนักทำแผนที่ นักสำรวจ นักเดินเรือ และพ่อค้า เชื่อกันว่าน่าจะเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว "Christopher Columbus." Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

คอร์ซิกา

อร์ซิกา (Corsica), กอร์ส (Corse) หรือ กอร์ซีกา (Corsica) เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 4 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (รองจากเกาะซิซิลี ซาร์ดิเนีย และไซปรัส) ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันตกของประเทศอิตาลี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส และทิศเหนือของซาร์ดิเนีย คอร์ซิกาเป็นเป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส แต่ที่จริงแล้วตามกฎหมาย คอร์ซิกามีฐานะเป็นประชาคมดินแดน (collectivité territoriale) ของฝรั่งเศส จึงมีอำนาจมากกว่าแคว้นอื่น ๆ ในฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่อยู่บ้าง แต่ในการสนทนาทั่วไป คอร์ซิกามักจะถูกเรียกว่าเป็น "แคว้น" และอยู่ในรายนามแคว้นของประเทศฝรั่งเศสตลอดมา ทั้ง ๆ ที่เป็นเกาะแยกออกมาจากแผ่นดินใหญ่โดยมีทะเลลิกูเรียนขวางไว้ มีกลุ่มการเมืองหลายกลุ่มที่ต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส เช่น แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติคอร์ซิก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคอร์ซิกา · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรอิตาลี

ทางอากาศของคาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรอิตาลี หรือ คาบสมุทรแอเพนไนน์ (Penisola italiana, Penisola appenninica) เป็นคาบสมุทรที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาแอลป์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเอเดรียติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลไอโอเนียน และทางทิศตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียนและทะเลลิกูเรียน คาบสมุทรนี้มีรูปร่างคล้ายรองเท้าบูท โดยบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมีเทือกเขาแอเพนไนน์เป็นแกนกลาง บริเวณตอนเหนือมีที่ราบลุ่มแม่น้ำโปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์กับเทือกเขาแอเพนไนน์นั้น เป็นที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม และเป็นที่ตั้งเมืองสำคัญของประเทศอิตาลี เช่น มิลาน ตูริน เวนิส โบโลญญา ปาร์มา เวโรนา คาบสมุทรอิตาลีมีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 290 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ มีพื้นที่ประมาณ 260,000 ตารางกิโลเมตร (ไม่นับรวมพื้นที่เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย) เป็นคาบสมุทรที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจาก คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรไอบีเรีย และคาบสมุทรบอลข่าน ตามลำดับ เมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรอิตาลีเรียงตามลำดับ 4 อันดับแรกได้แก่ โรม มิลาน เนเปิลส์ และตูริน ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรอิตาลีเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ที่นิยมปลูกคือ มะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก และองุ่นเพื่อใช้ทำไวน์ เมืองท่าที่สำคัญบนคาบสมุทรอิตาลีได้แก่ เจนัว เวนิส และเนเปิล.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคาบสมุทรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรไอบีเรีย

มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคาบสมุทรไอบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

คาร์เธจ

ร์เธจ (Carthago) เป็นเมืองโบราณ ปัจจุบันตั้งอยู่ในเมืองตูนิส ประเทศตูนีเซี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและคาร์เธจ · ดูเพิ่มเติม »

ตะกั่ว

ตะกั่ว (Lead) เป็นธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 82 และสัญลักษณ์คือ Pb (Plumbum) ตะกั่วเป็นธาตุโลหะ เนื้ออ่อนนุ่มสามารถยืดได้ เมื่อตัดใหม่ๆ จะมีสีขาวอมน้ำเงิน แต่เมื่อถูกกับอากาศสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ตะกั่วเป็นโลหะหนักที่มีพิษ ใช้ทำวัสดุก่อสร้าง แบตเตอรี่ กระสุนปืน โลหะผสม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตูลูซ

ตูลูซ (Toulouse) เป็นเทศบาลในจังหวัดโอต-การอน ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส เป็นเมืองหลวงของแคว้นมีดี-ปีเรเน ซึ่งติดกับประเทศสเปน แต่มีพรมแดนธรรมชาติ คือ เทือกเขาพิเรนีสคั่นไว้ ตูลูซเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรอยู่ราว 1,300,000 คน เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินของโลก โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่และโรงงานของแอร์บัส นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของอินเทลภาคพื้นยุโรปตลอดจนหน่วยงานด้านอวกาศของฝรั่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและตูลูซ · ดูเพิ่มเติม »

ซากุนโต

ซากุนโต (Sagunto) หรือ ซากุนต์ (Sagunt) เป็นเมืองโบราณทางตะวันออกของประเทศสเปน ในจังหวัดบาเลนเซีย ใกล้ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน อยู่ใกล้กับโกสตาเดลอาซาอาร์ ในอดีตรู้จักในชื่อ Saguntum (ละติน), และต่อมาในชื่อ Morvedre (Murviedro) หมวดหมู่:เมืองในประเทศสเปน หมวดหมู่:แหล่งโบราณคดีในประเทศสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและซากุนโต · ดูเพิ่มเติม »

ซาราโกซา

แม่น้ำเอโบรขณะไหลผ่านเมืองซาราโกซา ซาราโกซา (Zaragoza) เป็นเมืองหลักของจังหวัดซาราโกซาและแคว้นอารากอน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเอโบรและแควสาขาอูเอร์บาและกาเยโก ในหุบเขาตอนกลางของแคว้นซึ่งมีภูมิทัศน์ที่หลากหลาย ตั้งแต่ทะเลทราย ("โลสโมเนโกรส") ป่าหนาทึบ ทุ่งหญ้า ไปจนถึงทิวเขา ข้อมูลในปี ค.ศ. 2007 จากสภาเมืองซาราโกซา เมืองนี้มีประชากร 667,034 คนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศ และมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนประชากรทั้งแคว้น ซาราโกซาตั้งอยู่ที่ความสูง 199 เมตรจากระดับน้ำทะเล และเป็นจุดตัดระหว่างเส้นทางที่จะไปยังมาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย บิลบาโอ และตูลูซ (ประเทศฝรั่งเศส) โดยเมืองทั้งหมดนี้ตั้งอยู่ห่างจากซาราโกซาประมาณ 300 กิโลเมตร บริเวณเมืองนี้เคยเป็นหมู่บ้านที่มีชื่อว่า ซัลดูบา (Salduba) เป็นชื่อในภาษาพิวนิกของกองทัพคาร์เทจซึ่งตั้งอยู่บนซากหมู่บ้านชาวเคลติเบเรียนเดิม จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 เมื่อกองทัพโรมันได้เข้ารุกรานคาบสมุทรไอบีเรีย บริเวณนี้จึงตกอยู่ในการดูแลของกองรักษาด่านซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิออกุสตุส และกลายเป็นเมืองที่มีชื่อว่า ไกซาเรากุสตา (Caesaraugusta) มีฐานะเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฮิสปาเนียซีเตรีออร์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชาวอาหรับได้เข้ายึดเมืองนี้และตั้งชื่อใหม่ว่า ซารากุสตา (Saraqusta; سرقسطة) ซึ่งภายหลังได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกาหลิบแห่งกอร์โดบา (ราชวงศ์อุไมยัด) และเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นเมืองอาหรับที่ใหญ่ที่สุดทางภาคเหนือของคาบสมุทร จากนั้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซาราโกซาเป็นหนึ่งในกลุ่มราชอาณาจักรไตฟา (รัฐมุสลิมหลายสิบรัฐที่แตกออกมาหลังการล่มสลายของอาณาจักรกอร์โดบา) และถูกชาวอาหรับอีกกลุ่มจากจักรวรรดิอัลโมราวิดเข้าครอบครอง ในที่สุดเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12 ชาวอารากอน (นับถือศาสนาคริสต์) ก็สามารถยึดเมืองนี้ได้จากพวกอัลโมราวิดและได้ตั้งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอารากอน ซึ่งเป็นหนึ่งในดินแดนต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียที่จะพัฒนาเป็นราชอาณาจักรสเปนในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและซาราโกซา · ดูเพิ่มเติม »

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community, EEC; บ้างเรียกสั้นเพียง ประชาคมยุโรป (European Community)) เป็นองค์การระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นด้วยทรรศนะที่จะทำให้เกิดบูรณาการทางเศรษฐกิจ (รวมทั้งตลาดร่วม) ในบรรดาหกสมาชิกดั้งเดิมหกประเทศ ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปจัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาโรม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประชาคมเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิล

ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลี

ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศชิลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินา

อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอาร์เจนตินา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิเควทอเรียลกินี

อิเควทอเรียลกินี (Equatorial Guinea; Guinea Ecuatorial; Guinée Équatoriale; Guiné Equatorial) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิเควทอเรียลกินี (Republic of Equatorial Guinea; República de Guinea Ecuatorial; République de Guinée Équatoriale; República da Guiné Equatorial) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก มีอาณาเขตติดกับประเทศแคเมอรูน ทางทิศเหนือ ประเทศกาบอง ทางทิศใต้และทิศตะวันตก อ่าวกินี ทางทิศตะวันตก และอยู่ใกล้ ๆ ประเทศเซาตูเมและปรินซิปี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศอิเควทอเรียลกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบา

วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบีย

ลอมเบีย (โกลมเบีย) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโคลอมเบีย เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกติดต่อกับเวเนซุเอลาและบราซิล ทางทิศใต้ติดต่อกับเอกวาดอร์และเปรู ทางทิศเหนือจรดทะเลแคริบเบียน ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับปานามาและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอกวาดอร์

อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเอกวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรู

ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2364 ชื่อเปรูมาจากคำว่า "บีรู" (Birú) ซึ่งเป็นชื่อของผู้ปกครองท้องถิ่นบริเวณอ่าวซานมีเกลในปานามา โดยบริเวณนี้เป็นจุดใต้สุดที่ชาวยุโรปรู้จักเมื่อครั้งนักสำรวจชาวสเปนมาถึงในปี พ.ศ. 2065 ดังนั้นเมื่อฟรันซิสโก ปีซาร์โรเดินทางสำรวจต่อไปทางใต้ จึงเรียกภูมิภาคเหล่านั้นว่า บีรูหรือเปรูด้วย จักรวรรดิสเปนรับรองชื่อนี้ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเปรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและปลา · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโก

ปวยร์โตรีโก (Puerto Rico) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐปวยร์โตรีโก (Estado Libre Asociado de Puerto Rico) เป็นเครือรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสาธารณรัฐโดมินิกันในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออกเฉียงเหนือ ปวยร์โตรีโกเป็นดินแดนที่เล็กที่สุดของเกรตเตอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่รวมเกาะปวยร์โตรีโก เกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง รวมทั้งกลุ่มเกาะ ได้แก่ โมนา เบียเกซ และกูเลบรา การเดินทางเข้าปวยร์โตรีโกนั้นต้องใช้วีซาของสหรัฐอเมริกา เพราะปวยร์โตรีโกถือเป็นดินแดน (territory) ของสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่ถือว่าเป็นรัฐ (state) ก็ตาม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและปวยร์โตรีโก · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาตาโกเนีย

แผนที่ในปี ค.ศ. 1775 ปาตาโกเนีย (Patagonia) เป็นภูมิภาคที่ตั้งอยู่ปลายใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศอาร์เจนตินาและชิลี ประกอบด้วยบริเวณทางใต้ของเทือกเขาแอนดีส ไปถึงทางตะวันตกเฉียงใต้ จนถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และส่วนตะวันออกของเทือกเขา ไปถึงหุบเขาตามแม่น้ำโคโลราโด ไปทางใต้จนถึงเมืองการ์เมนเดปาตาโกเนส บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก ส่วนทางตะวันตกรวมถึงเมืองบัลดีเบียไปจนถึงกลุ่มเกาะเตียร์ราเดลฟวยโก คำว่า ปาตาโกเนีย มาจากคำว่า ปาตากอน (patagón)Antonio Pigafetta, Relazione del primo viaggio intorno al mondo, 1524: "Il capitano generale nominò questi popoli Patagoni." The original word would probably be in Magellan's native Portuguese (patagão) or the Spanish of his men (patagón).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและปาตาโกเนีย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสเปน

นายกรัฐมนตรีสเปน (Presidente del Gobierno, ประธานคณะรัฐบาล) เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและนายกรัฐมนตรีสเปน · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิวสเปน

เขตอุปราชแห่งนิวสเปน (Virreinato de Nueva España) คืออาณาบริเวณที่อยู่ในการปกครองของจักรวรรดิสเปนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเป็นอาณาเขตของประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา เบลีซ ฮอนดูรัส นิการากัว คอสตาริกา ฟิลิปปินส์ ปาเลา ไมโครนีเซีย และบางส่วนของสหรัฐอเมริกาได้แก่ รัฐแคลิฟอร์เนีย นิวเม็กซิโก เนวาดา แอริโซนา เทกซัส โคโลราโด ฟลอริดา บางส่วนของรัฐยูทาห์ โอคลาโฮมา กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา รวมทั้งหมู่เกาะเกือบทั้งหมดในทะเลแคริบเบียน โดยสเปนจะส่งอุปราชซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากส่วนกลางเข้ามาปกครองดินแดนและขึ้นตรงต่อกษัตริย์สเปน ศูนย์กลางการปกครองของนิวสเปนคือ เม็กซิโกซิตี ส่วนเมืองสำคัญได้แก่ ซันโตโดมิงโกบนเกาะฮิสปันโยลา และมะนิลาบนเกาะลูซอน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์โอเชียเนีย หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสเปน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและนิวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

นีแอนเดอร์ทาล

นีแอนเดอร์ทาล คือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยจัดอยู่ในสกุลเดียวกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน คือ Homo นีแอนเดอร์ทาลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อราว 160 ปีที่แล้ว ที่ถ้ำเฟลด์โฮเฟอร์ในหุบเขาเนอันเดอร์ ใกล้เมืองดึสเซลดอร์ฟ ทางตอนเหนือของเยอรมนี โดยคนงานเหมืองขุดค้นพบกระดูกโบราณซึ่งตอนแรกเข้าใจว่าเป็นหมี และได้ส่งกระดูกนั้นแก่นักธรรมชาติวิทยา โยฮันน์ คาร์ล ฟูลรอทท์ ฟูลรอทท์จึงได้ส่งต่อให้แก่นักกายวิภาควิทยา เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียดแล้วจึงพบว่าเป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่ จึงให้ชื่อว่า "นีแอนเดอร์ทาล" เพื่อเป็นเกียรติแก่หุบเขาเนอันเดอร์ สถานที่ที่ค้นพบ โดยรวมนีแอนเดอร์ทาลมีรูปร่างที่กำยำล่ำสัน แข็งแรง รวมถึงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีกว่ามนุษย์ปัจจุบัน แต่มีระดับสติปัญญาที่ต่ำกว่า ด้วยเหตุนี้เป็นสาเหตุหลักที่เชื่อว่าทำให้สูญพันธุ์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ถอดรหัสพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลได้เป็นผลสำเร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและนีแอนเดอร์ทาล · ดูเพิ่มเติม »

น้ำมันมะกอก

น้ำมันมะกอก (olive oil) เป็นไขมันที่ได้มาจากมะกอกออลิฟ พืชต้นไม้แบบดั้งเดิมของทะเลลุ่มน้ำเมดิเตอร์เรเนียน น้ำมันที่ผลิตโดยการบดมะกอกทั้งหมดและการสกัดน้ำมันโดยใช้เครื่องกลหรือสารเคมี เป็นที่นิยมใช้ในการปรุงอาหาร, เครื่องสำอาง, ยา และสบู่ และเป็นเชื้อเพลิงสำหรับน้ำมันโคมไฟแบบดั้งเดิม น้ำมันมะกอกใช้อยู่ทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและน้ำมันมะกอก · ดูเพิ่มเติม »

แบกแดด

แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد‎ บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแบกแดด · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำกัวดัลกิบีร์

แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ (Guadalquivir) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดของแคว้นอันดาลูซิอา ทางภาคใต้ของประเทศสเปน ชื่อแม่น้ำมาจากภาษาอาหรับว่า "อัลวาดิลกะบีร" (al-wādi al-kabīr; الوادي الكبير) ซึ่งหมายถึง "แม่น้ำใหญ่" แม่น้ำสายนี้เคยมีชื่อเรียกว่า เบติส (Betis) หรือ ไบติส (Baetis) ตั้งแต่สมัยก่อนโรมันจนกระทั่งถึงสมัยอัลอันดะลุส (ช่วงที่ชาวมุสลิมปกครองสเปน) มณฑลในคาบสมุทรไอบีเรียของจักรวรรดิโรมันที่แม่น้ำสายนี้ไหลผ่านนั้นจึงมีชื่อว่า ฮิสปาเนียไบตีกา แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ที่เมืองเซบียา แม่น้ำกัวดัลกิบีร์มีความยาว 657 กิโลเมตร มีพื้นที่ลุ่มน้ำมระมาณ 58,000 กิโลเมตร เริ่มต้นที่กัญญาดาเดลัสฟูเอนเตสในทิวเขากาซอร์ลา ผ่านเมืองกอร์โดบาและเมืองเซบิยา และสิ้นสุดที่หมู่บ้านทำประมงชื่อโบนันซา ในเมืองซันลูการ์เดบาร์ราเมดา โดยไหลลงสู่อ่าวกาดิซ (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก) พื้นที่ต่ำและชื้นแฉะบริเวณปากน้ำนั้นมีชื่อเรียกว่า "ลัสมาริสมัส" (Las Marismas) มีพื้นที่ติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอญญานา (Doñana National Park) แม่น้ำกัวดัลกิบีร์เป็นหนึ่งในแม่น้ำขนาดใหญ่ไม่กี่สายของประเทศที่ใช้เดินเรือได้ ซึ่งปัจจุบันสามารถเดินเรือเข้าไปได้ถึงเมืองเซบียา แต่ในสมัยโรมันนั้น เรือสามารถแล่นลึกเข้าไปถึงเมืองกอร์โดบา กล่าวกันว่าเมืองโบราณเมืองหนึ่งในประวัติศาสตร์สเปนที่ชื่อตาร์เตสโซส (Tartessos) ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำสายนี้ แต่ก็ยังไม่พบร่องรอย ภาพ:río Guadalquivir Cordoba.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์ เมืองกอร์โดบา ภาพ:Spain Andalusia Cordoba BW 2015-10-27 12-15-09.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์และสะพานสมัยโรมัน ที่เมืองกอร์โดบา ภาพ:Sevilla2005July 040.jpg|แม่น้ำกัวดัลกิบีร์และสะพานกินโตเซนเตนารีโอ ("ศตวรรษที่ 5") เมืองเซบียา ภาพ:Cormoranes.jpg|นกกาน้ำในแม่น้ำกัวดัลกิบีร์ตอนใต้ (อุทยานแห่งชาติดอญญานา) กัวดัลกิบีร์.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแม่น้ำกัวดัลกิบีร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโดรู

รู (Douro) หรือ ดูเอโร (Duero) เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายหลักของคาบสมุทรไอบีเรีย ไหลจากต้นน้ำใกล้กับเมืองดูรูเอโลเดลาซิเอร์ราในจังหวัดโซเรีย ผ่านภาคกลางตอนบนของประเทศสเปนและภาคเหนือของประเทศโปรตุเกสไปออกทะเลที่เมืองโปร์ตู ความยาวทั้งหมด 897 กิโลเมตร ใช้เดินเรือได้เฉพาะตอนที่อยู่ในโปรตุเกสเท่านั้น ชื่อของแม่น้ำสายนี้อาจมาจากชาวเคลต์ซึ่งเคยอาศัยในดินแดนแถบนี้ก่อนสมัยโรมัน ส่วนแม่น้ำดูเอโร (ตอนที่อยู่ในสเปน) ไหลผ่านที่ราบสูงเมเซตาของภูมิภาคกัสติยาและลัดเลาะไปตามพื้นที่ของจังหวัดต่าง ๆ ในแคว้นกัสติยาและเลออน ได้แก่ จังหวัดโซเรีย จังหวัดบูร์โกส จังหวัดบายาโดลิด จังหวัดซาโมรา และจังหวัดซาลามังกา ผ่านเมืองโซเรีย อัลมาซัน อารันดาเดดูเอโร ตอร์เดซิยัส และซาโมรา โดยแม่น้ำดูเอโรในแถบนี้มีลำน้ำสาขาขนาดใหญ่อยู่บ้างเล็กน้อย ที่สำคัญได้แก่แม่น้ำปิซูเอร์กาไหลผ่านเมืองบายาโดลิด และแม่น้ำเอสลาที่ไหลผ่านเมืองเบนาเบนเต พื้นที่ส่วนใหญ่ของเขตดังกล่าวเป็นพื้นที่ราบ อากาศแห้ง ใช้ปลูกข้าวสาลี และบางแห่งใช้ปลูกองุ่นสำหรับทำไวน์ด้วย โดยเฉพาะที่เขตริเบราเดลดูเอโร นอกจากนี้การเลี้ยงแกะก็มีความสำคัญเช่นกัน จากนั้น แม่น้ำได้กลายเป็นพรมแดนระหว่างสเปนกับโปรตุเกสเป็นระยะทาง 112 กิโลเมตร เนื่องจากแม่น้ำช่วงนี้ถูกขนาบด้วยหุบผาชัน (canyon) จึงเป็นปราการป้องกันการรุกรานจากภายนอกในอดีตและยังเป็นเส้นแบ่งเขตของภาษาอีกด้วย ปัจจุบันพื้นที่ที่ห่างไกลนี้ได้รับการคุ้มครองในฐานะ อุทยานธรรมชาตินานาชาติโดรู เมื่อไหลผ่านเข้าสู่โปรตุเกส จะพบเขตเมืองใหญ่ได้น้อยลงตามเส้นทางแม่น้ำสายนี้ (ยกเว้นเมืองโปร์ตูและวีลานอวาดือไกยา) ลำน้ำสาขาจะเป็นสายสั้น ๆ ไหลผ่านหุบผาชันแล้วจึงไหลลงสู่แม่น้ำโดรู ลำน้ำเหล่านี้มีกระแสน้ำไหลแรงและใช้เดินเรือไม่ได้ ภาพ:International Douro view from Miranda.jpg|อุทยานธรรมชาติสากลโดรู ใกล้เมืองมีรันดา ภาพ:Duero-Zamora.jpg|แม่น้ำดูเอโร (โดรู) เมืองซาโมรา (สเปน) ภาพ:Valladolid rio pisuerga puente mayor playa.jpg|แม่น้ำปิซูเอร์กา (ลำน้ำสาขา) ที่เมืองบายาโดลิด ภาพ:Rio douro.jpg|หุบเขาโดรูบริเวณที่ปลูกองุ่นสำหรับทำไวน์พอร์ต ภาพ:Riodouro 27-9-2004.jpg|ปากแม่น้ำโดรู มองจาก Crystal Palace Gardens เมืองโปร์ตู โดรู โดรู.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแม่น้ำโดรู · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเอโบร

อโบร (Ebro) หรือ เอบรา (Ebre) เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่สายหนึ่งทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนและมีความยาวที่สุดในประเทศ เริ่มต้นที่เมืองฟอนติเบร (ในจังหวัดกันตาเบรีย) ไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านเมืองมิรันดาเดเอโบร, โลกรอญโญ, ซาราโกซา, ฟลิช, ตูร์โตซา และอัมโปสตา ก่อนออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำในจังหวัดตาร์ราโกนา แคว้นกาตาลุญญา ปากแม่น้ำเอโบรเป็นหนึ่งในพื้นที่ชุ่มน้ำที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก โดยดินแดนสามเหลี่ยมที่ปากแม่น้ำนั้นมีอัตราการขยายตัวอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ในอดีต มีหลักฐานคือเมืองอัมโปสตาซึ่งเคยเป็นท่าเรือในคริสต์ศตวรรษที่ 4 แต่ปัจจุบันตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งลึกเข้าไปในแผ่นดิน ลักษณะที่ค่อนข้างกลมของพื้นที่ดินดอนแสดงให้เห็นความสมดุลระหว่างการทับถมของตะกอนจากแม่น้ำเอโบรกับการกร่อนของตะกอนเองที่เกิดจากคลื่นในทะเล ดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำเอโบรเป็นพื้นที่เกษตรกรรมสำหรับปลูกข้าว ผลไม้ และผัก นอกจากนี้ยังมีหาด ที่ลุ่มชื้นแฉะ และแอ่งเกลือจำนวนมากซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของนกต่าง ๆ กว่า 300 ชนิด พื้นที่ส่วนใหญ่ของดินดอนจึงได้รับการระบุให้เป็นอุทยานธรรมชาติดินดอนสามเหลี่ยมปากน้ำเอโบรเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแม่น้ำเอโบร · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือ

นแดนแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือ หรือ แอฟริกาตอนเหนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาประกอบไปด้วย 7 ประเทศคือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นบาเลนเซีย

แคว้นบาเลนเซีย (Comunidad Valenciana) หรือ แคว้นวาเล็นซิอา (บาเลนเซีย: Comunitat Valenciana) เป็นแคว้นปกครองตนเองที่ตั้งอยู่ทางตอนกลาง-ตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสเปน ประกอบด้วย 3 จังหวัดเรียงจากทิศเหนือไปทิศใต้ ได้แก่ จังหวัดกัสเตยอน/กัสเต็ลโย จังหวัดบาเลนเซีย/วาเล็นซิอา และจังหวัดอาลิกันเต/อาลากันต์ (ชื่อในภาษาสเปน/ภาษาบาเลนเซีย) แคว้นบาเลนเซียมีชายฝั่งติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนยาว 518 กิโลเมตร มีเนื้อที่ในการปกครอง 23,255 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 4.9 ล้านคน (พ.ศ. 2559) ตามกฎหมายปกครองตนเองของแคว้น บาเลนเซียได้รับการจัดให้เป็น "ชาติ" (nationality) เช่นเดียวกับแคว้นอื่นบางแคว้นในสเปน มีภาษาราชการ 2 ภาษา ได้แก่ ภาษาสเปนและภาษาบาเลนเซีย (ชื่อเรียกของภาษากาตาลาในแคว้นนี้) ส่วนเมืองหลักของแคว้นคือ บาเลนเซีย (วาเล็นซิอา).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นบาเลนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกัสติยา-ลามันชา

กัสติยา-ลามันชา (Castilla-La Mancha) เป็นแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน มีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นกัสติยาและเลออน แคว้นมาดริด แคว้นอารากอน แคว้นบาเลนเซีย แคว้นมูร์เซีย แคว้นอันดาลูเซีย และแคว้นเอซเตรมาดูรา กัสติยา-ลามันชา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นกัสติยา-ลามันชา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกัสติยาและเลออน

กัสติยาและเลออน (Castilla y León), กัสติเอลยาและยิออง (เลออน: Castiella y Llión) หรือ กัสแตลาและเลโอง (Castela e León) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งของประเทศสเปน อยู่ในบริเวณที่แต่เดิมเคยเป็นราชอาณาจักรเลออนและภูมิภาคกัสติยาเก่า (Castilla la Vieja) แคว้นกัสติยาและเลออนเป็นเขตการปกครองที่มีเนื้อที่กว้างขวางที่สุดในประเทศสเปนและใหญ่เกือบที่สุดในสหภาพยุโรป ครอบคลุมพื้นที่ 94,223 ตารางกิโลเมตร และมีจำนวนประชากรอย่างไม่เป็นทางการประมาณ 2.5 ล้านคน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นกัสติยาและเลออน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกันตาเบรีย

กันตาเบรีย (Cantabria) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งของประเทศสเปน มีจังหวัดเพียงจังหวัดเดียวมีชื่อว่ากันตาเบรียเช่นกัน มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกต่อกับแคว้นบาสก์ (จังหวัดบิซกายา) ทางทิศใต้ติดต่อกับแคว้นกัสติยาและเลออน (จังหวัดเลออน จังหวัดปาเลนเซีย และจังหวัดบูร์โกส) ทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นอัสตูเรียส ส่วนทิศเหนือจรดทะเลกันตาเบรีย มีเมืองซันตันเดร์เป็นเมืองหลักของแคว้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นกันตาเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาลิเซีย

กาลิเซีย (กาลิเซียและGalicia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศสเปนที่มีฐานะเป็นแคว้นปกครองตนเองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของคาบสมุทรไอบีเรีย มีพรมแดนร่วมกับประเทศโปรตุเกสทางทิศใต้ และมีพรมแดนร่วมกับแคว้นคาสตีล-เลออนและแคว้นอัสตูเรียสทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นกาลิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นกาตาลุญญา

กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นกาตาลุญญา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นภูมิภาคมูร์เซีย

ูมิภาคมูร์เซีย (Región de Murcia) เป็นหนึ่งในแคว้นปกครองตนเองสิบเจ็ดแห่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศระหว่างแคว้นอันดาลูซีอากับแคว้นบาเลนเซีย มีพื้นที่ 11,313 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 1.2 ล้านคน ซึ่งหนึ่งในสามอาศัยอยู่ในเมืองหลักของแคว้นคือมูร์เซีย แคว้นภูมิภาคมูร์เซียประกอบด้วยเขตการปกครองระดับรองหนึ่งจังหวัด (ภูมิภาค) ซึ่งต่างจากแคว้นส่วนใหญ่ที่แบ่งออกเป็นหลายจังหวัด ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ทางแคว้นปกครองตนเองและทางจังหวัด (ภูมิภาค) จึงเปิดทำการในหน่วยงานเดียว โดยมูร์เซียเป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ยกเว้นสภานิติบัญญัติของแคว้นซึ่งตั้งอยู่ที่การ์ตาเคนา อาณาเขตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับแคว้นอันดาลูเซีย (จังหวัดอัลเมริอาและจังหวัดกรานาดา) ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา (จังหวัดอัลบาเซเต) ทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นบาเลนเซีย (จังหวัดอาลิกันเต) และทิศใต้จรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ภูเขาที่สูงที่สุดในแคว้นชื่อ เรโบลกาโดเรส สูง 2,015 เมตร แม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำเซกูรา แคว้นนี้เป็นผู้ผลิตผลไม้ ผัก และดอกไม้รายใหญ่ โดยส่งไปภายในประเทศและส่งออกไปยังประเทศต่าง ๆ ในยุโรป มีการบุกเบิกจัดตั้งโรงผลิตไวน์ชั้นดีหลายแห่งใกล้เมืองบูยัส เยกลา และฆูมิยา เช่นเดียวกับโรงผลิตน้ำมันมะกอกใกล้เมืองโมราตายา มูร์เซียเป็นแคว้นที่มีภูมิอากาศหลักเป็นแบบอบอุ่น ซึ่งเหมาะแก่การประกอบเกษตรกรรม อย่างไรก็ตาม ปริมาณน้ำฝนในแถบนี้ก็ค่อนข้างต่ำและการจัดส่งน้ำเข้าไปในพื้นที่เพาะปลูกก็ยังเป็นปัญหาอยู่ทุกวันนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นภูมิภาคมูร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นมาดริด

แคว้นมาดริด (Comunidad de Madrid) เป็นหนึ่งในแคว้นปกครองตนเองสิบเจ็ดแคว้นของประเทศสเปน ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศ โดยเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับจังหวัดมาดริดและเป็นที่ตั้งของกรุงมาดริดซึ่งเป็นเมืองหลักของจังหวัดและของแคว้น และเป็นเมืองหลวงของประเทศ แคว้นมาดริดนี้มีเทศบาลอยู่ 179 แห่ง แคว้นมาดริดมีอาณาเขตทางทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นกัสติยาและเลออน (จังหวัดอาบีลาและจังหวัดเซโกเบีย) ส่วนทางทิศตะวันออกและทิศใต้ติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา (จังหวัดกัวดาลาฆารา จังหวัดกูเองกา และจังหวัดโตเลโด) ประชากรของแคว้นมาดริดจำนวนกว่าครึ่งหนึ่งอาศัยอยู่ในเมืองหลวง ส่วนเมืองสำคัญทางการค้าหรือประวัติศาสตร์อื่น ๆ ที่ตั้งอยู่ในแคว้นนี้ได้แก่ อัลกาลาเดเอนาเรส โกสลาดา ตอร์เรฆอนเดอาร์โดซ เคตาเฟ โมสเตเลส ซานโลเรนโซเดเอลเอสโกเรียล นาบัลการ์เนโร และอารังฆูเอซ ก่อนหน้าที่จะเป็นแคว้นนั้น จังหวัดมาดริดเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคกัสติยาใหม่ (แคว้นคาลตีล-ลามันชาปัจจุบัน) มาก่อน เมื่อรูปแบบการปกครองแบบแคว้นปกครองตนเองได้รับการจัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ. 2521 จึงมีการตั้งจังหวัดนี้ให้มีฐานะเป็นแคว้นในตนเอง เนื่องจากสภาพความแตกต่างทางเศรษฐกิจระหว่างจังหวัดนี้กับท้องที่อื่น ๆ ในแคว้นกัสติยา-ลามันชา โดยมาดริดได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นแคว้นตามกฎหมายเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 ส่วนกฎหมายปกครองตนเองก็ผ่านการอนุมัติในวันที่ 1 มีนาคม ปีเดียวกัน มาดริด มาดริด หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นมาดริด · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นลาริโอฆา

ลาริโอฆา (La Rioja) หรือ เอร์ริโอชา (Errioxa) เป็นจังหวัดและแคว้นปกครองตนเองในภาคเหนือของประเทศสเปน เมืองหลักคือโลกรอญโญ ส่วนเมืองสำคัญอื่น ๆ ในเขตการปกครองนี้ได้แก่ กาลาออร์รา, อาร์เนโด, อัลฟาโร, อาโร, ซานโตโดมิงโก เด ลา กัลซาดา และนาเฆรา ลาริโอฆามีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นประเทศบาสก์ (จังหวัดอาลาบา) แคว้นนาวาร์ แคว้นอารากอน (จังหวัดซาราโกซา) และแคว้นกัสติยาและเลออน (จังหวัดโซเรียและจังหวัดบูร์โกส) แม่น้ำเอโบร ไหลผ่านในพื้นที่เช่นเดียวกับแม่น้ำโอฆา (Río Oja) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเขตการปกครอง ลาริโอฆา ลาริโอฆา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นลาริโอฆา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอัสตูเรียส

ราชรัฐอัสตูเรียส (Principado de Asturias; กาลิเซีย-อัสตูเรียส: Principao d'Asturias) หรือ ราชรัฐอัสตูริเอส (อัสตูเรียส: Principáu d'Asturies) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งภายในราชอาณาจักรสเปน ตั้งอยู่ริมชายฝั่งภาคเหนือจรดทะเลกันตาเบรีย มีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นกันตาเบรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับแคว้นกัสติยาและเลออนทางทิศใต้ และติดต่อกับแคว้นกาลิเซียทางทิศตะวันตก อัสตูเรียส อัสตูเรียส.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นอัสตูเรียส · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอันดาลูซิอา

อันดาลูซิอา (Andalucía) เป็นแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน โดยเป็นแคว้นที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในจำนวนแคว้นปกครองตนเอง 17 แห่งที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศสเปน เมืองหลักของแคว้นคือเซบิยา แคว้นอันดาลูซิอาแบ่งออกเป็น 7 จังหวัด คือ จังหวัดอูเอลบา จังหวัดเซบิยา จังหวัดกาดิซ จังหวัดกอร์โดบา จังหวัดมาลากา จังหวัดฆาเอน จังหวัดกรานาดา และจังหวัดอัลเมริอา อันดาลูเซียมีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับแคว้นเอซเตรมาดูราและแคว้นกัสติยา-ลา มันชา ทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นมูร์เซียและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศโปรตุเกสและมหาสมุทรแอตแลนติก (ตะวันตก-ใต้) และทางทิศใต้ติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (ใต้-ตะวันออก) และมหาสมุทรแอตแลนติก (ใต้-ตะวันตก) ทั้งสองน่านน้ำเชื่อมต่อกันโดยช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตอนใต้สุดซึ่งแยกประเทศสเปนออกจากประเทศโมร็อกโกในทวีปแอฟริกา ยิบรอลตาร์ ดินแดนของสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้มีพรมแดนร่วมกับจังหวัดกาดิซ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นอันดาลูซิอา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอารากอน

แผนที่การกระจายภาษาในแคว้นอารากอน ภาษาสเปนใช้พูดทั่วไปในแคว้น และเป็นภาษาราชการเพียงภาษาเดียว อารากอน (สเปนและAragón) หรือ อะราโก (Aragó) เป็นแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นกาตาลุญญา ทางทิศใต้ติดต่อกับแคว้นบาเลนเซีย และทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา แคว้นกัสติยาและเลออน แคว้นลารีโอคา และแคว้นนาวาร์ ประกอบด้วยจังหวัดซาราโกซา จังหวัดอูเอสกา และจังหวัดเตรูเอล มีแม่น้ำเอโบรไหลผ่านในพื้นที่ ตอนเหนือเป็นภูเขาสูง มีหุบเขาที่อุดมสมบูรณ์และสวยงาม ส่วนตอนใต้ค่อนข้างแห้งแล้ง นอกจากจังหวัดทั้งสามแล้ว แคว้นอารากอนยังแบ่งย่อยออกเป็น 33 เทศมณฑล (comarcas) อีกด้ว.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน

ในประเทศสเปน แคว้นปกครองตนเอง หรือ ประชาคมปกครองตนเอง (comunidad autónoma; comunitat autònoma; comunidade autónoma; autonomia erkidegoa) เป็นเขตทางการเมืองและการปกครองในระดับบนสุดที่ได้รับการจัดตั้งโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญสเปน พ.ศ. 2521 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรับประกันความเป็นอิสระในการปกครองตนเอง (อย่างมีข้อจำกัด) ของชาติทางประวัติศาสตร์และภูมิภาคต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นสเปนArticle 2.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นปกครองตนเองของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองซิซิลี

ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นปกครองตนเองซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นประเทศบาสก์

ประเทศบาสก์ (Basque Country), ประเทศบัสโก (País Vasco) หรือ เอวส์กาดี (Euskadi) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งในภาคเหนือของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยจังหวัดกีปุซโกอา จังหวัดบิซกายา และจังหวัดอาลาบา ประเทศบาสก์หรือแคว้นประเทศบาสก์มีสถานะเป็น "ชาติ" (nationality) ภายในประเทศสเปนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ. 2521 แคว้นปกครองตนเองแห่งนี้มีพื้นฐานอยู่บนธรรมนูญการปกครองตนเองแห่งประเทศบาสก์ ซึ่งเป็นกฎหมายมูลฐานที่กำหนดกรอบการพัฒนาของชาวบาสก์บนแผ่นดินสเปน อย่างไรก็ดี ดินแดนนาวาร์ซึ่งมีชาวบาสก์อาศัยอยู่เช่นกันก็ได้รับการจัดตั้งเป็นแคว้นปกครองตนเองแยกต่างหาก ปัจจุบันแคว้นประเทศบาสก์ไม่มีเมืองหลักอย่างเป็นทางการ แต่เมืองที่เป็นที่ตั้งของสภานิติบัญญัติบาสก์และสำนักประธานแคว้นปกครองตนเองคือบีโตเรีย-กัสเตย์ซซึ่งอยู่ในจังหวัดอาลาบา ขณะที่บีโตเรีย-กัสเตย์ซเป็นเขตเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในแง่เนื้อที่ (276.81 ตารางกิโลเมตรหรือ 106.88 ตารางไมล์) บิลบาโอซึ่งอยู่ในจังหวัดบิซกายาก็เป็นเขตเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในแง่ประชากร โดยมีประชากรจำนวน 345,141 คน ภายในเขตเมืองขยายที่มีประชากรอาศัยอยู่กว่า 900,000 คน ณ ปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นประเทศบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นนาวาร์

นาวาร์ (Navarre), นาบาร์รา (Navarra) หรือ นาฟาร์โรอา (Nafarroa) เป็นจังหวัดและแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับประเทศฝรั่งเศส ทิศตะวันออกติดต่อกับแคว้นอารากอน ทิศใต้ติดต่อกับแคว้นอารากอนและแคว้นลารีโอคา ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นบาสก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นนาวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นเอซเตรมาดูรา

Palacio de los Golfines de Abajo เมืองกาเซเรส เอซเตรมาดูรา (Extremadura) หรือ เอห์ทเทรมาอูรา (เอซเตรมาดูรา: Estremaúra) เป็นแคว้นปกครองตนเองทางภาคตะวันตกของประเทศสเปน ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาเซเรสและจังหวัดบาดาโฆซ แคว้นเอซเตรมาดูรามีอาณาเขตติดต่อกับประเทศโปรตุเกสทางทิศตะวันตก เป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าที่สำคัญ โดยเฉพาะเขตสงวนใหญ่ที่เมืองมอนฟรากูเอ ซึ่งเพิ่งได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติแม่น้ำเทกัสนานาชาติ (Parque Natural Río Tajo internacional) ส่วนทางทิศเหนือมีอาณาเขตติดต่อกับแคว้นกัสติยาและเลออน (จังหวัดซาลามังกาและจังหวัดอาบิลา) ทางทิศใต้ติดต่อกับแคว้นอันดาลูซิอา (จังหวัดอูเอลบา จังหวัดเซบิยา และจังหวัดกอร์โดบา) และทางทิศตะวันตกติดต่อกับแคว้นกัสติยา-ลามันชา (จังหวัดโตเลโดและจังหวัดซิวดัดเรอัล) มณฑลลูซีตาเนียซึ่งเป็นเขตการปกครองหนึ่งของจักรวรรดิโรมันในอดีต มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ประเทศโปรตุเกสเกือบทั้งประเทศ (ยกเว้นภาคเหนือ) รวมทั้งภาคตะวันตกของประเทศสเปนในปัจจุบันด้วย แคว้นเอซเตรมาดูราจึงเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลนี้ด้วยเช่นกัน เมืองเมริดากลายเป็นเมืองหลวงของมณฑลนี้และเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งของจักรวรรดิ เมื่อปี ค.ศ. 1516 พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนได้สิ้นพระชนม์ในหมู่บ้านมาดริกาเลโฆที่เมืองกาเซเรส เอซเตรมาดูราเป็นบ้านเกิดของนักสำรวจและนักพิชิตดินแดนทวีปอเมริกาที่มีชื่อเสียงหลายคน ได้แก่ เอร์นัน กอร์เตส, ฟรันซิสโก ปิซาร์โร, เปโดร เด อัลบาราโด, เปโดร เด บัลดิเบีย, ฟรันซิสโก เด โอเรยานา และบัสโก นุญเญซ เด บัลโบอา ต่างเกิดในแคว้นนี้ เมืองในทวีปอเมริกาหลายเมืองตั้งชื่อตามบ้านเกิดของพวกเขาเหล่านั้น เช่น เมริดา เป็นชื่อของเมืองศูนย์กลางการบริหารของแคว้นและยังเป็นชื่อเมืองสำคัญของประเทศเม็กซิโกและประเทศเวเนซุเอลาอีกด้วย, เมเดยิน เมืองเล็ก ๆ ของแคว้นได้กลายเป็นชื่อเมืองใหญ่อันดับ 2 ของประเทศโคลอมเบีย, แอลบูเคอร์คีซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐนิวเม็กซิโกเพี้ยนมาจากชื่อเมืองอัลบูร์เกร์เกในแคว้นนี้เช่นกัน เปโดร เด บัลดิเบีย ได้ตั้งเมืองขึ้นหลายแห่งในประเทศชิลีโดยใช้ชื่อตามชื่อเมืองเล็ก ๆ หลายแห่งของแคว้นนี้ เช่น บัลดิเบียและลาเซเรนา กรุงซานเตียโก เมืองหลวงของชิลีก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งแรกในชื่อ "ซานเตียโกเดนูเอบาเอซเตรมาดูรา" (Santiago de Nueva Extremadura - ซานเตียโกแห่งเอซเตรมาดูราใหม่).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและแคว้นเอซเตรมาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

โบฮีเมีย

ีเมีย (Čechy; Bohemia; Czechy) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง กินเนื้อที่สองในสามทางตะวันตกของดินแดนเช็ก ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย ในความหมายที่กว้างกว่านั้น ในบางครั้งยังใช้เรียกเขตแดนเช็กทั้งหมด รวมถึงมอเรเวียและเช็กไซลิเซีย โดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ เช่น ราชอาณาจักรโบฮีเมี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โลกรอญโญ

ที่ตั้งในประเทศสเปน โลกรอญโญ (Logroño) ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเอโบรทางภาคเหนือของประเทศสเปน เป็นเมืองหลักของแคว้นปกครองตนเองลาริโอฆาซึ่งเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อจังหวัดโลกรอญโญ ศูนย์กลางการผลิตไวน์ริโอฆาซึ่งทำให้พื้นที่แถบนี้มีชื่อเสียง และมีอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอ โลหะ และไม้ อยู่ห่างจากเมืองบิลบาโอ 152 กิโลเมตร ห่างจากกรุงมาดริด 336 กิโลเมตร และห่างจากเมืองบาร์เซโลนา 468 กิโลเมตร ในปี ค.ศ. 2006 มีประชากร 147,036 คน โลกรอญโญเป็นที่ตั้งถิ่นฐานเก่าของชาวโรมันในช่วงแรกและชาวเคลต์ในช่วงต่อมา ในฐานะเมืองการค้าที่มีชื่อว่า "วาเรย์อา (Vareia)" จนกระทั่งในคริสต์ศตวรรษที่ 10 กษัตริย์แห่งนาวาร์และกษัตริย์แห่งกัสติยาต่างแย่งชิงอำนาจปกครองเหนือเมืองนี้ และในที่สุดก็ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรกัสติยา ลโกรโโญ หมวดหมู่:แคว้นลาริโอฆา.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโลกรอญโญ · ดูเพิ่มเติม »

โลกใหม่

ระวังสับสนกับ โลกยุคใหม่โลกใหม่ (สีเขียว) เปรียบเทียบกับ โลกเก่า (สีเทา) โลกใหม่ (New World) เป็นคำที่ใช้สำหรับดินแดนที่นอกไปจากทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย ที่ก็คือทวีปอเมริกา และอาจจะรวมไปถึงออสตราเลเชียด้วย เป็นคำที่เริ่มใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อทวีปอเมริกายังใหม่ต่อชาวยุโรปผู้ที่เดิมเชื่อว่าโลกประกอบด้วยทวีปเพียงสามทวีปที่เรียกรวมกันว่าโลกเก่า คำว่า “โลกใหม่” ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า “โลกยุคใหม่” (Modern era) คำหลังหมายถึงช่วงเวลาในประวัติศาสตร์มิใช่แผ่นดิน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโลกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

โอบิเอโด

อบิเอโด (Oviedo) หรือ อูบิเอว (อัสตูเรียส: Uviéu) เป็นเมืองหลักของแคว้นอัสตูเรียส ทางตอนเหนือของประเทศสเปน เมืองโอบิเอโดมีมหาวิทยาลัยนานาชาติที่มีนักศึกษาจากทั่วโลกมาศึกษา เป็นเมืองศูนย์กลางของเขตเหมืองแร่ ฝรั่งเศสเข้าโจมตีเมื่อปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโอบิเอโด · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1992

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ เด ซาน มาร์ติน

อนุสาวรีย์ที่เมืองวายากิล ที่ซึ่งโฮเซ เด ซาน มาร์ติน มาพบกับซีมอง โบลีวาร์ เป็นครั้งแรก โฮเซ ฟรันซิสโก เด ซาน มาร์ติน มาตอร์รัส หรือ โฮเซ เด ซาน มาร์ติน (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2321 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2393) เป็นนายพลชาวอาร์เจนตินาผู้ซึ่งเป็นผู้นำในการประกาศเอกราชอเมริกาใต้ตอนล่าง (อาร์เจนตินาและชิลี) จากประเทศสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโฮเซ เด ซาน มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต

แซ็ฟ-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Joseph-Napoléon Bonaparte) หรือหลังครองราชย์คือ พระเจ้าโฮเซที่ 1 แห่งสเปน (José I) เป็นนักการทูตและขุนนางชาวฝรั่งเศส เป็นพระเชษฐาในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่จักรพรรดินโปเลียนปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส พระองค์ในฐานะพระเชษฐาได้รับแต่งตั้งให้เป็นกษัตริย์แห่งเนเปิลส์และซิซิลีในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

โจรสลัดบาร์บารี

รสลัดบาร์บารี (Barbary corsairs) เป็นโจรสลัดมุสลิมที่ก่อความไม่สงบในบริเวณแอฟริกาเหนือตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างสงครามครูเสดจนกระทั่งถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 บาร์บารีตั้งหลักแหล่งอยู่ตามเมืองท่าทางตอนเหนือของแอฟริกาเช่นตูนิส ตริโปลี แอลเจียร์ส ซาเล และเมืองท่าในโมร็อกโก และมักจะทำการรังควานในบริเวณฝั่งทะเลบาร์บารี เหยื่อของบาร์บารีอยู่ในทะเลเมดิเตอเรเนียน ทางตอนใต้ตามชายฝั่งทะเลทางด้านมหาสมุทรแอตแลนติกของแอฟริกาตะวันตก และ ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงไอซ์แลนด์ บาร์บารีมักจะเลือกโจมตีเรือของชาวยุโรปตะวันตกทางตะวันตกของทะเลเมดิเตอเรเนียน นอกจากนั้นก็ยังทำการโจมตีเมืองชายฝั่งทะเลของยุโรปและจับคริสเตียนเป็นทาสเพื่อขายให้แก่อิสลามในบริเวณเช่นแอลจีเรีย และ โมร็อกโก การโจมตีของบาร์บารีต่อเรือฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ และตามชายฝั่งทะเลในสเปนและอิตาลีทำให้ผู้คนละทิ้งจากบริเวณต่างๆ เหล่านั้นจนกระทั่งมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โจรสลัดบาร์บารีจับชาวยุโรปราว 800,000 ถึง 1.25 ล้านคนไปเป็นทาส ส่วนใหญ่จากหมู่บ้านตามชายฝั่งทะเลในอิตาลี สเปน และ โปรตุเกส และบางครั้งก็ในฝรั่งเศส อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ และไอซ์แลนด์ และบางครั้งก็ไปถึงอเมริกาเหนือ บาร์บารีที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา และ โอรุค ไรส์ (Oruç Reis) ผู้มีอำนาจในแอลเจียร์สเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นการเริ่มการมีอิทธิพลของจักรวรรดิออตโตมันในแอฟริกาเหนือเป็นเวลาสี่ร้อยปี และเป็นการก่อตั้งศูนย์กลางของกิจการโจรสลัดในทะเลเมดิเตอเรเนียน หลังจากสงครามนโปเลียนและการประชุมแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 และการเข้าเกี่ยวข้องของรัฐนาวีของสหรัฐอเมริกาในสงครามบาบารีครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1801 ถึงปี ค.ศ. 1805 และ ครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1815 เมื่อมหาอำนาจของยุโรปเห็นถึงความจำเป็นในการกำจัดอำนาจของโจรสลัดบาร์บารี หลังจากนั้นอำนาจของโจรสลัดบาร์บารีก็ลดถอยลง นอกจากนั้นฝรั่งเศสก็เข้ายึดบริเวณส่วนใหญ่ตามฝั่งทะเลบาร์บารีในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโจรสลัดบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

โฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร

โฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร (José Luis Rodríguez Zapatero) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศสเปน และอดีตหัวหน้าพรรคแรงงานสังคมนิยมสเปนซึ่งได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2547 และครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2551 หมวดหมู่:นักการเมืองสเปน หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโฆเซ ลุยส์ โรดริเกซ ซาปาเตโร · ดูเพิ่มเติม »

โตเลโด

ตเลโด (Toledo; Toletum (โตเลตุม); طليطلة (ตุไลเตละห์)) เป็นเมืองและเทศบาลแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ทางภาคกลางของประเทศสเปน ห่างจากกรุงมาดริดไปทางทิศใต้ประมาณ 70 กิโลเมตร โตเลโดเป็นเมืองหลักของจังหวัดโตเลโดและของแคว้นกัสติยา-ลามันชา ในปี ค.ศ. 1986 (พ.ศ. 2529) องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้เมืองนี้เป็นแหล่งมรดกโลก เนื่องจากมีมรดกทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอย่างมากมายในฐานะหนึ่งในเมืองหลวงของจักรวรรดิสเปน รวมทั้งยังเป็นสถานที่ที่ปรากฏร่องรอยวัฒนธรรมของชาวคริสต์ ชาวยิว และชาวมัวร์อยู่ร่วมกันอีกด้วย บุคคลและศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายคนต่างเกิดและเคยพำนักอยู่ในเมืองนี้ เช่น การ์ซีลาโซ เด ลา เบกา, พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 10 และเอลเกรโก ในปี ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) เมืองนี้มีประชากร 75,578 คน และมีพื้นที่ 232.1 ตารางกิโลเมตร (89.59 ตารางไมล์) โตเลโดเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรวิซิกอท (ในสเปนโบราณ) ตั้งแต่สมัยพระเจ้าลีอูวีกิลด์ และมีฐานะเป็นเมืองหลวงจนกระทั่งชาวมัวร์ (ชาวมุสลิมจากแอฟริกาเหนือ) ได้เข้ามายึดครองคาบสมุทรไอบีเรียเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 ภายใต้การปกครองของอาณาจักรกาหลิบแห่งกอร์โดบา โตเลโด (ซึ่งในขณะนั้นมีชื่อเรียกว่า "ตุไลเตละห์" طليطلة) ก็ได้เข้าสู่ยุคทอง ช่วงเวลาแห่งความรุ่งเรืองอันยาวนานนี้รู้จักกันในชื่อ "ลากอนบีเบนเซีย" (La Convivencia) หรือการอยู่ร่วมกัน (ของชาวคริสต์ ชาวยิว และชาวมุสลิม) ในวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 แห่งกัสติยาทรงยึดเมืองโตเลโดคืนจากชาวมุสลิมได้และสถาปนาเป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจักรกัสติยา-เลออนในช่วงของการพิชิตดินแดนคืน (Reconquista) โตเลโดในอดีตมีชื่อเสียงจากการผลิตเหล็ก (โดยเฉพาะดาบ) และปัจจุบันยังคงเป็นศูนย์กลางการผลิตมีดและเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากเหล็ก เมื่อพระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งสเปนทรงย้ายราชธานีจากโตเลโดไปมาดริดในปี ค.ศ. 1561 (พ.ศ. 2104) นั้น เมืองเก่าแห่งนี้ก็ค่อย ๆ เสื่อมลงและไม่ได้รับการฟื้นฟู ป้อมอัลกาซาร์ (Alcázar) ซึ่งตั้งอยู่บนส่วนที่สูงที่สุดของเมืองนี้มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ในฐานะสถาบันวิชาทหารแห่งหนึ่ง เมื่อสงครามกลางเมืองสเปนระเบิดขึ้นในปี ค.ศ. 1936 (พ.ศ. 2479) กองทหารในป้อมนี้ถูกล้อมโดยกองกำลังของฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ ที่ตั้งเมืองโตเลโดในประเทศสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโตเลโด · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไม้

ตอไม้ ภาพของประดับที่ทำจากไม้ ภาพพื้นไม้ปาเก้ ภาพไม้แปรรูป Medium-density fibreboard (MDF) ไม้ เป็นวัสดุแข็งที่ทำจากแก่นลำต้นของต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น โดยแบ่งเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้เต็ง ไม้แดง และไม้เนื้ออ่อน เช่น ไม้สัก ไม้ยางพารา โดยนิยามแล้วไม้ จะหมายถึงเนื้อเยื่อไซเล็มชั้นที่สอง (Xylem) ของต้นไม้ แต่ในความเข้าใจไม้ อาจหมายรวมไปถึงวัสดุใดๆ ที่มีส่วนประกอบทำมาจากไม้ด้วย ไม้สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ประโยชน์อย่างหนึ่งคือ ใช้เป็นเชื้อเพลิง เช่น ถ่านหรือฟืน บางครั้งก็ใช้ในงานศิลปะ ทำเฟอร์นิเจอร์ ทำอาวุธ หรือเป็นวัสดุก่อสร้าง ไม้ยังคงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการก่อสร้าง ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสามารถสร้างบ้านที่อยู่อาศัย หรือเรือ โดยเรือแทบทุกลำในช่วงปี 80 ทำมาจากไม้แทบทั้งสิ้น ซึ่งในปัจจุบันบ้านหรือเรือที่ทำจากไม้ เริ่มมีจำนวนลดลง โดยปัจจุบันมีการนำวัสดุอื่นมาใช้ในการสร้างแทน แต่ว่าไม้ยังคงมีส่วนสำคัญในด้านการเสริมโครงสร้าง หรือเป็นวัสดุเสริม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการสร้างหลังคา และของประดับนอกบ้าน ไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้างรู้จักกันในชื่อ ไม้แปรรูป ไม้โดยสภาพแล้ว ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้ในการก่อสร้างโดยตรง เนื่องจากอาจจะมีการแตกหักในโครงสร้าง จึงต้องนำไปแปรรูปเป็นอย่างอื่นก่อน เช่น ไม้อัด,chipboard, engineered wood, hardboard, medium-density fibreboard (MDF), oriented strand board (OSB) เป็นต้น ไม้ดังกล่าวนี้ใช้ประโยชน์กันในวงกว้าง อีกทั้งเยื่อไม้ยังเป็นส่วนประกอบสำคัญในการผลิตกระดาษอีกด้วย เซลลูโลสที่อยู่ในไม้ยังใช้การทำวัสดุสังเคราะห์ ซึ่งไม้ยังใช้ประโยชน์ในการทำอุปกรณ์อื่นนอกเหนือจากการก่อสร้าง เช่น ใช้ทำตะเกียบ เครื่องดนตรี เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ไวน์

วน์แดง (หน้า) และไวน์ขาว (หลัง) บนโต๊ะอาหาร ไวน์ (wine) เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทำจากองุ่นหรือผลไม้อื่นหมัก สมดุลเคมีธรรมชาติขององุ่นทำให้มันหมักโดยไม่ต้องเพิ่มน้ำตาล กรด เอ็นไซม์ น้ำหรือสารอาหารอื่น ยีสต์บริโภคน้ำตาลในองุ่นแล้วเปลี่ยนเป็นเอทานอลและคาร์บอนไดออกไซด์ พันธุ์ขององุ่นและสายพันธุ์ของยีสต์ที่ต่างกันทำให้ได้ไวน์คนละแบบ แบบที่รู้จักกันดีเกิดจากอันตรกิริยาที่ซับซ้อนยิ่งระหว่างการเจริญทางชีวเคมีของผลไม้ ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องในการหมัก แหล่งที่ปลูก (terrior) และการระบุแหล่ง (appellation) ตลอดจนการแทรกแซงของมนุษย์ในกระบวนการโดยรวม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและไวน์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนิโต มุสโสลินี

นีโต อามิลกาเร อานเดรอา มุสโสลีนี (Benito Amilcare Andrea Mussolini) เรียกชื่อโดยทั่วไปว่า "อิลดูเช" (Il Duce) แปลว่า "ท่านผู้นำ" เป็นจอมเผด็จการและนายกรัฐมนตรีของประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2465 – พ.ศ. 2486) เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 ในครอบครัวที่ยากจนที่เมืองโดวีอาดีเปรดัปปีโอ (Dovia di Predappio) ในจังหวัดฟอร์ลิ แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา แต่ด้วยเวลาไม่นาน มุสโสลีนีได้กลายเป็นนักสังคมนิยมยุวชนที่หลักแหลมและมีอันตราย แต่ต่อมาต้องลาออกจากพรรคสังคมนิยมอิตาลีเนื่องจากสนับสนุนการเข้าแทรกแซงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2462 มุสโสลีนีได้เข้าร่วมการก่อตั้งพรรคสันนิบาตการต่อสู้แห่งอิตาลี (Fasci Italiani di Combattimento) หรือพรรคฟาสซิสต์เพื่อเตรียมเป็นกองกำลังปฏิวัติ ในปี พ.ศ. 2465 ได้เป็นนายกรัฐมนตรีซึ่งฉลองชัยชนะด้วย "การสวนสนามแห่งโรม" (เดือนตุลาคม) ล่วงมาถึงปี พ.ศ. 2468 เขาได้สถาปนาตนเองเป็นเผด็จการเต็มรูปแบบ บังคับให้ยกเลิกระบบรัฐสภาทดแทนด้วย "รัฐบรรษัท" (Corporate State) และวางระบบรวบอำนาจอย่างเป็นทางการ ได้จัดตั้งนครรัฐวาติกัน (พ.ศ. 2472) บุกยึดอะบิสซิเนีย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2478-พ.ศ. 2479 ปัจจุบันคือเอธิโอเปีย) และแอลเบเนีย (พ.ศ. 2482) ไว้ในการครอบครอง พร้อมกับการประกาศเข้าร่วมเป็นฝ่ายอักษะกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์แห่งประเทศเยอรมนี มุสโสลินีถูกจับกุมตัวได้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยกองกำลังปาร์ติซานของพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลี ที่บริเวณใกล้ชายแดนอิตาลี-สวิสเซอร์แลนด์ ในขณะที่เขาพยายามจะหลบหนีออกจากอิตาลี และถูกประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าในข้อหาทรยศต่อชาติ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2488 โดยคำตัดสินลับหลังของคณะลูกขุนแห่งคณะกรรมการปลดแอกแห่งชาติ ร่างของมุสโสลินี อนุภรรยา และผู้นิยมลัทธิฟาสซิสต์คนอื่นๆ อีกประมาณ 15 คน ได้ถูกนำไปยังเมืองมิลาโน เพื่อแขวนประจานต่อสาธารณชน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเบนิโต มุสโสลินี · ดูเพิ่มเติม »

เมริดา (ประเทศสเปน)

มริดา (Mérida) เป็นเมืองหลักของแคว้นเอซเตรมาดูรา ทางภาคตะวันตกของประเทศสเปน ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเมริดา (ประเทศสเปน) · ดูเพิ่มเติม »

เมลียา

มลียา (Melilla), มริตช์ (เบอร์เบอร์: ⵎⵔⵉⵞ) หรือ มะลีลียะฮ์ (مليلية) เป็นเมืองหนึ่งของประเทศสเปน ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของแอฟริกาเหนือ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้ติดต่อกับประเทศโมร็อกโก ชาวสเปนมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองนี้ในปี พ.ศ. 2040 แต่เดิมเมืองนี้จัดอยู่ในแคว้นอันดาลูซีอาเนื่องจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์ ต่อมาจึงถูกปกครองในฐานะส่วนหนึ่งของจังหวัดมาลากา ก่อนจะได้รับสิทธิ์ในการปกครองตนเองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2538 และเมืองนี้ยังเคยเป็นเมืองท่าปลอดภาษีก่อนที่สเปนจะเข้าร่วมสหภาพยุโรป พลเมืองประกอบด้วยคริสต์ศาสนิกชน ชาวมุสลิม ชาวยิว และชนกลุ่มน้อยชาวฮินดู ใช้ภาษาสเปนและ/หรือภาษาเบอร์เบอร์ในการสื่อสาร.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเมลียา · ดูเพิ่มเติม »

เรกองกิสตา

“การยอมแพ้ของกรานาดา” (La rendición de Granada) (ค.ศ. 1882) โดยฟรันซิสโก ปราดียา อี ออร์ติซ เรกองกิสตา (สเปน, กาลีเซีย และอัสตูเรียส: Reconquista); เรกงกิชตา (Reconquista); เรกุงเกสตา (Reconquesta); เอร์เรกอนกิสตา (Errekonkista) หรือ อัลอิสติรดาด (الاسترداد) เป็นช่วงเวลา 800 ปีในยุคกลางที่อาณาจักรคริสเตียนในคาบสมุทรไอบีเรียได้รับการพิชิตคืนมาจากอำนาจของมุสลิม การพิชิตของฝ่ายมุสลิมในอาณาจักรวิซิกอทในคริสต์ศตวรรษที่ 8 (เริ่มในปี ค.ศ. 710–712) เป็นไปเกือบทั่วคาบสมุทรไอบีเรีย (นอกจากบริเวณส่วนใหญ่ของแคว้นกาลิเซีย แคว้นอัสตูเรียส แคว้นกันตาเบรีย และแคว้นบาสก์) แต่เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนเหล่านี้ (นอกไปจากอาณาจักรเอมีร์แห่งกรานาดาของราชวงศ์นาสริดที่ได้ถูกพิชิตในปี ค.ศ. 1492) ก็คืนมาอยู่ภายใต้การปกครองของประมุขผู้นับถือคริสต์ศาสนา การพิชิตดินแดนคืนเริ่มขึ้นทันทีหลังจากที่ฝ่ายมุสลิมพิชิตคาบสมุทรได้เกือบทั้งหมด และเป็นสงครามที่ต่อเนื่องกันมาหลายยุคหลายสมัยกว่าจะมาสิ้นสุดลง การก่อตั้งราชอาณาจักรอัสตูเรียสภายใต้เปเลเจียสแห่งอัสตูเรียสในยุทธการที่หมู่บ้านโกบาดองกา ในปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเรกองกิสตา · ดูเพิ่มเติม »

เลฟ เอริกสัน

ลฟ เอริกสัน (Leif Ericsson) (พ.ศ. 1523 - พ.ศ. 1563) เป็นนักสำรวจชาวไอซ์แลนด์ เป็นผู้ค้นพบทวีปยุโรป และ ทวีปอเมริกาเหนือ เลฟ อีริคสัน เขาได้ทำการสำรวจเกาะกรีนแลนด์สืบต่อจากพ่อของเขา และเขายังได้เคย เข้าร่วมขบวนเดินทางสำรวจที่พ่อของเขาส่งไปยัง ทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเลฟ เอริกสัน · ดูเพิ่มเติม »

เวสเทิร์นสะฮารา

วสเทิร์นสะฮารา (Western Sahara; الصحراء الغربية; เบอร์เบอร์: Taneẓroft Tutrimt; Sáhara Occidental) เป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในภูมิภาคมาเกร็บ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือติดกับประเทศโมร็อกโก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศแอลจีเรีย ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศมอริเตเนีย ส่วนทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ประมาณ 266,000 ตารางกิโลเมตร (103,000 ตารางไมล์) เป็นหนึ่งในดินแดนที่มีประชากรเบาบางที่สุดในโลก เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบทะเลทราย มีประชากรประมาณ 500,000 คน เกือบร้อยละ 40 อาศัยอยู่ที่เอลอายูน ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเวสเทิร์นสะฮารา เวสเทิร์นสะฮาราถูกสเปนปกครองจนถึงปลายคริสตศวรรษที่ 20 หลังจากนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของสหประชาชาติตั้งแต่ปี 2506 เป็นต้นมา ซึ่งเกิดจากข้อเรียกร้องของโมร็อกโก เป็นดินแดนที่มีประชากรและพื้นที่มากที่สุดที่อยู่ในรายชื่อนี้ ในปี 2508 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้มีมติครั้งแรกเกี่ยวกับเวสเทิร์นสะฮารา ในการขอให้สเปนให้เอกราชแก่ดินแดนนี้ หนึ่งปีต่อมามติใหม่ได้รับการรับรองจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเพื่อขอให้มีการลงประชามติโดยสเปนเกี่ยวกับการตัดสินใจด้วยตนเอง ในปี 2518 สเปนได้ยกเลิกการบริหารจัดการดินแดนนี้ไปสู่การจัดการบริหารร่วมโดยโมร็อกโก (ซึ่งได้เรียกร้องสิทธิเหนือดินแดนนี้มาตั้งแต่ปี 2500)และมอริเตเนีย สงครามปะทุขึ้นระหว่างประเทศเหล่านี้กับขบวนการชาตินิยมซาห์ราวี แนวร่วมโปลีซารีโอซึ่งได้ประกาศให้ดินแดนนี้กลายเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีมีรัฐบาลพลัดถิ่นอยู่ในทินดูฟ แอลจีเรีย ต่อมา มอริเตเนียได้ถอนการอ้างสิทธิเหนือดินแดนในปี 2522 และในที่สุดโมร็อกโกก็ได้ควบคุมดินแดนส่วนใหญ่รวมทั้งเมืองสำคัญและทรัพยากรธรรมชาติ องค์การสหประชาชาติพิจารณาว่าแนวร่วมโปลีซารีโอเป็นตัวแทนที่ถูกต้องตามกฎหมายของชาวซาห์ราวีและยืนยันว่าชาวซาห์ราวีมีสิทธิในการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง ในปี 2560 ไม่มีรัฐสมาชิกสหประชาชาติใดให้การยอมรับอำนาจอธิปไตยของโมร็อกโกเหนือดินแดนเวสเทิร์นสะฮารา อย่างไรก็ตาม หลายประเทศได้แสดงการสนับสนุนต่อการรับรองในอนาคตเกี่ยวกับการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโมร็อกโกในฐานะดินแดนปกครองตนเองของราชอาณาจักร กล่าวโดยสรุป การผนวกดินแดนยังไม่ได้รับความสนใจมากนักในประชาคมนานาชาติเนื่องจากมีกรณีพิพาทเรื่องของการผนวกดินแดนอื่นๆ อีก (เช่น การผนวกดินแดนของรัสเซียในคาบสมุทรไครเมีย) ตั้งแต่ที่สหประชาชาติผลักดันให้มีการทำข้อตกลงหยุดยิงในปี 2534 สองในสามของดินแดน(รวมถึงส่วนใหญ่ของชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก) ถูกปกครองโดยรัฐบาลโมร็อกโกซึ่งได้รับการสนับสนุนแบบลับๆ จากฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกปกครองโดยสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแอลจีเรีย ในระดับนานาชาติ ประเทศต่างๆ เช่น รัสเซียอยู่ในฐานะที่คลุมเครือและเป็นกลางในการอ้างสิทธิของทั้ง 2 ฝ่าย แต่ก็ได้กดดันให้ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องกันในการแก้ปัญหาอย่างสันติ ทั้งโมร็อกโกและโปลีซาริโอต่างพยายามที่จะเพิ่มแรงสนับสนุนในการรับรองดินแดนอย่างเป็นทางการจากชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะชาติจากแอฟริกา เอเชีย และลาตินอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศกำลังพัฒนา แนวร่วมโปลีซาริโอได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการสำหรับการจัดตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีจาก 37 ประเทศ และยังเป็นสมาชิกของสหภาพแอฟริกาต่อไป ขณะที่โมร็อกโกได้รับการยอมรับหรือสนับสนุนจากรัฐบาลประเทศในแอฟริกาหลายแห่ง และส่วนใหญ่จากโลกมุสลิมและสันนิบาตอาหรับ ตลอดสองทศวรรษหลัง การยอมรับที่มีต่อทั้งสองฝ่ายขยายเพิ่มและถดถอยลงตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเวสเทิร์นสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลซิด

อนุสาวรีย์เอลซิดในเมืองบูร์โกส ดาบของเอลซิด ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑสถาน La Real Armería ภาพเอลซิด ขณะอยู่ในอิริยาบถขี่ม้า เอลซิด (El Cid) เป็นขุนศึกชาวสเปนผู้เก่งกาจคนหนึ่ง เกิดใน พ.ศ. 1586 (ค.ศ. 1043) ที่หมู่บ้านบีบาร์ ในเมืองบูร์โกส อาณาจักรคาสตีล เกิดในตระกูลขุนนางสเปน มีชื่อจริงว่า โรดรีโก ดีอัซ เด บีบาร์ (Rodrigo Díaz de Vivar) โรดรีโกได้รู้จักและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับเจ้าชายซานโช รัชทายาทแห่งอาณาจักรคาสตีลในฐานะเจ้านายและข้ารับใช้มาตั้งแต่เด็ก แต่ไม่นานทั้งคู่ก็สนิทสนมกันจนแทบจะเรียกว่าเป็นสหายกันก็ได้ โรดรีโกจงรักภักดีต่อเจ้าชายซานโชมาก ดังจะเห็นได้จากใน พ.ศ. 1606 (ค.ศ. 1063) อาณาจักรคาสตีลมีสงครามกับอาณาจักรอารากอน เพราะต้องการแย่งชิงดินแดนซาราโกซา สงครามครั้งนี้ไม่สามารถตัดสินได้ในสมรภูมิรบ เพราะต่างฝ่ายต่างเข้มแข็งจนไม่มีใครเอาชนะใครได้ จึงตกลงกันว่า ให้แต่ละฝ่ายส่งตัวแทนมา 1 คนมาประลองกันแบบ 1:1 ใครชนะจะได้ดินแดนซาราโกซาไป ฝ่ายคาสตีลนั้น โรดรีโกอาสาไปเป็นตัวแทนประลอง และในวันจริงนั้น แม้คู่ต่อสู้จากอารากอนจะมีร่างกายกำยำ แรงเยอะ และตัวโตกว่าโรดรีโกอย่างมาก แต่โรดรีโกก็สามารถชนะได้ ทำให้คาสตีลชนะในสงครามนี้ ทหารของคาสตีลจึงให้ฉายาจากการสร้างวีรกรรมของเขา คือ "เอลซิดกัมเปอาดอร์" (El Cid Campeador) โดย El Cid มีที่มาจากคำในภาษาอาหรับถิ่นอันดาลูเซียว่า "อัลซีด" (al-sīd) แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Lord" ส่วน Campeador นั้นเป็นภาษาสเปน แปลว่า "Champion" ซึ่งฉายาเอลซิดก็เป็นชื่อที่คนส่วนใหญ่ที่รู้จักโรดรีโกใช้เรียกเขามาจนถึงปัจจุบัน หลังจากสงครามกับอารากอนแล้ว อาณาจักรคาสตีลยังพบสงครามใหม่อีกครั้ง ครั้งนี้เป็นสงครามกับแขกมัวร์ (เป็นส่วนหนึ่งของการพิชิตดินแดนคืนหรือ Reconquista ของชาวคริสต์ในคาบสมุทรไอบีเรีย) ผลคือกองทัพคาสตีลภายใต้การนำของเจ้าชายซานโชที่ 2 และโรดรีโก ชนะแทบทุกครั้ง ทำให้คาสตีลมีเมืองขึ้นและแผ่ขยายอาณาเขตไปได้กว้างขวาง แต่พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 กษัตริย์แห่งคาสตีลและพระชนก (พ่อ) ของเจ้าชายซานโชได้เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 1608 (ค.ศ. 1065) โดยที่ก่อนจะเสด็จสวรรคต พระองค์ได้ทรงจัดสรรดินแดนให้พระโอรสและพระธิดาได้แบ่งกันไปปกครอง โดยเจ้าชายซานโช เจ้านายเอลซิดได้ขึ้นครองบัลลังก์คาสตีล แต่ไม่นาน พระเจ้าซานโชที่ 2 ทรงเห็นว่า พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 พระอนุชา (น้องชาย) ของพระองค์ที่ได้ไปปกครองอาณาจักรเลออนนั้น ขาดความสามารถในการปกครอง ประกอบกับคาสตีลมีสงครามกับแขกมัวร์ ควรรวมคาสตีลและเลออนเข้ากับคาสตีลดีกว่า เพื่อที่อาณาจักรคาสตีลจะได้เข้มแข็ง ดังนั้น พระเจ้าซานโชที่ 2 จึงทรงเปิดศึกแย่งชิงดินแดนเลออนกับพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ใน พ.ศ. 1608 นั้นเอง ศึกแย่งชิงเลออนดำเนินมาจนถึง พ.ศ. 1615 (ค.ศ. 1072) พระเจ้าซานโชที่ 2 ทรงมีชัยต่อพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 และผนวกอาณาจักรคาสตีลกับเลออนได้สำเร็จ ต่อไปก็ต้องทรงสังหารพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 เพื่อให้กษัตริย์ของอาณาจักรคาสตีล-เลออนมีเพียงพระองค์เดียว คือพระเจ้าซานโชที่ 2 แต่ว่าพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ทรงลี้ภัยไปยังอาณาจักรซาโมรา เพื่อขอความช่วยเหลือกับพระนางอูร์รากา พระกนิษฐา (น้องสาว) ของพระองค์ พระนางอูร์รากาและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 จึงสมคบคิดกันลอบปลงพระชนม์พระเจ้าซานโชที่ 2 เสียใน พ.ศ. 1615 นั้นเอง แผนการลอบสังหารในครั้งนี้ทรงมอบให้ทหารอาสาผู้ภักดีต่อพระนางอูร์รากาและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ทำอย่างลับ ๆ ทำให้ไม่มีใครรู้ว่าพระนางอูร์รากาและพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 มีส่วนเกี่ยวข้องกับการลอบปลงพระชนม์พระเจ้าซานโชที่ 2 เมื่อพระเจ้าซานโชที่ 2 เสด็จสวรรคตแล้ว ก็ไม่มีใครเหมาะสมจะเป็นกษัตริย์ของอาณาจักรคาสตีล-เลออนมากไปกว่าพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 และเข้าพิธีเพื่อสถาปนาเป็นกษัตริย์แห่งคาสตีล-เลออน แต่ในพิธีแต่งตั้งพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 เอลซิดไม่คุกเข่าถวายพระพร เพราะเขาคลางแคลงใจว่าพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 มีส่วนเกี่ยวข้องกับการลอบปลงพระชนม์พระเจ้าซานโชที่ 2 และขอร้องให้พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 สาบานต่อหน้าพระคัมภีร์ว่า ทรงไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการลอบปลงพระชนม์พระเจ้าซานโชที่ 2 (แต่ความจริงแล้วพระองค์กับพระนางอูร์รากาทรงมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมาก) แต่พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ได้ทรงสาบานออกมาอย่างเต็มพิธี เอลซิดจึงยอมรับอำนาจและถวายตัวเข้าเป็นข้ารับใช้พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 เอลซิดแต่งงานกับคีเมนา เด โอเบียโด พระญาติของพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ใน พ.ศ. 1617 (ค.ศ. 1074) มีบุตรด้วยกัน 3 คน ชื่อ กริสตีนา มารีอา และดีเอโก โรดรีเกซ เอลซิดรับใช้พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 อย่างจงรักภักดีเรื่อยมา จนพระเจ้าอัลฟอนโซไว้วางใจดูแลเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ขุนนางอื่น ๆ เกิดความอิจฉาเอลซิด จึงกล่าวหาเอลซิด ว่ายักยอกเครื่องบรรณาการที่เก็บมาจากรัฐเซบียา พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 จึงสั่งเนรเทศเอลซิดออกจากอาณาจักรคาสตีล-เลออน เมื่อเอลซิดถูกเนรเทศจึงเดินทางไปยังซาราโกซา ซึ่งผู้ครองเมืองได้ให้การต้อนรับเอลซิดเป็นอย่างดี ขณะที่พำนักอยู่ที่เมืองนี้ ได้รับจ้างทำสงครามอยู่เรื่อย ๆ จนกระทั่งใน พ.ศ. 1629 (ค.ศ. 1086) ปัญหาสงครามระหว่างแขกมัวร์กับอาณาจักรคาสตีล-เลออนหนักขึ้น พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 เริ่มต้านแขกมัวร์ไม่อยู่ ใน พ.ศ. 1635 (ค.ศ. 1092) พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 ได้ส่งสาส์นขอความช่วยเหลือให้เอลซิดกลับมาทำงานให้พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 และคำตอบจากเอลซิดคือ จะไม่รบให้กับพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 แต่จะรบให้อาณาจักรคาสตีล-เลออน โดยมีตนเป็นผู้นำและเจ้าของทัพเพียงคนเดียว ไม่ขึ้นต่อพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 6 เริ่มช่วยรบใน พ.ศ. 1635 นั้นเอง การรบระหว่างแขกมัวร์ดำเนินไปเรื่อย ๆ แต่ส่วนใหญ่เอลซิดเป็นผู้ชนะ แต่ในที่สุด ในศึกครั้งหนึ่งที่เมืองบาเลนเซียซึ่งเขารบกับแขกมัวร์เพื่อรับใช้อาณาจักรคาสตีล-เลออนอยู่นั้น เอลซิดพลาดท่าถูกยิงได้รับบาดเจ็บ และเสียชีวิตในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 1642 แต่ภรรยาของเขาก็นำร่างของเขาขึ้นไปกับม้าคู่ใจ เพื่อไม่ให้ทหารรู้ว่าเอลซิดเสียชีวิตแล้ว เพราะอาจเสียขวัญ และก็ชนะ กษัตริย์อาหรับชื่อ เบน ยูซุฟ ในที่สุด ร่างของเอลซิดและภรรยา (คีเมนา) ถูกฝังไว้ที่มหาวิหารบูร์โกส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1586 อเลซิด.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอลซิด · ดูเพิ่มเติม »

เอลเกรโก

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1604) โดยเอลเกรโก โดเมนิคอส เทโอโทโคพูลอส (Δομήνικος Θεοτοκόπουλος; Doménicos Theotokópoulos; ค.ศ. 1541 7 เมษายน ค.ศ. 1614) หรือที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ เอลเกรโก (El Greco; "ชาวกรีก") เป็นจิตรกร ประติมากร และสถาปนิกสมัยเรอเนซองซ์คนสำคัญของประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เอลเกรโกมักจะลงนามในภาพเขียนด้วยชื่อเต็มเป็นภาษากรีก เอลเกรโกเกิดที่เกาะครีตซึ่งในสมัยนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเวนิสและเป็นศูนย์กลางของศิลปะไบแซนไทน์ยุคปลาย เอลเกรโกได้รับการฝึกฝนลักษณะศิลปะไบแซนไทน์ก่อนที่เดินทางไปเวนิสเมื่ออายุ 26 ปึเช่นเดียวกับศิลปินชาวกรีกคนอื่น ๆJ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอลเกรโก · ดูเพิ่มเติม »

เอลเอสโกเรียล

ระราชฐานซานโลเรนโซเดเอลเอสโกเรียล (Real Sitio de San Lorenzo de El Escorial) หรือเรียกอย่างย่อว่า เอลเอสโกเรียล ในอดีตเป็นที่ประทับของกษัตริย์แห่งสเปน สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ เริ่มสร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอลเอสโกเรียล · ดูเพิ่มเติม »

เอตา

อตา (ETA) หรือ ดินแดนบาสก์และอิสรภาพ (Euskadi Ta Askatasuna) หรือที่สื่อไทยบางแห่งเรียก กบฏแบ่งแยกดินแดนแคว้นบาสก์ เป็นองค์กรชาตินิยมและแบ่งแยกดินแดนติดอาวุธชาวบาสก์ กลุ่มนี้ก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอตา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออก

แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเอเชียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเทววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาพิเรนีส

ทือกเขาพิเรนีสตอนกลาง ยอดเขาบูกาเตในเขตสงวนธรรมชาติเนอูวีเยย์ เทือกเขาพิเรนีส (Pyrenees; Pirineus; Pyrénées; Pirineos; Pirinioak) เป็นทิวเขาในยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสเปน เทือกเขานี้ยังแบ่งคาบสมุทรไอบีเรียออกจากฝรั่งเศสและมีความยาวประมาณ 430 กิโลเมตร (267 ไมล์) จากมหาสมุทรแอตแลนติก (อ่าวบิสเคย์) จนถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (แหลมแกร็วส์) ส่วนใหญ่แล้ว ยอดเขาหลัก ๆ จะเป็นแนวพรมแดนฝรั่งเศส-สเปน ซึ่งมีอันดอร์ราแทรกอยู่ตรงกลาง ข้อยกเว้นหลักของกฎนี้คือ บัลดารันที่เป็นของสเปน แต่ตั้งอยู่ทางลาดเขาด้านเหนือของทิวเขา ส่วนข้อผิดปกติอื่น ๆ ได้แก่ ซาร์ดัญญา และดินแดนส่วนแยกของสเปนที่ชื่อยิบิอ.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเทือกเขาพิเรนีส · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาแอลป์

ทือกเขาแอลป์ระบบดิจิตอล เทือกเขาแอลป์ในประเทศออสเตรีย เทือกเขาแอลป์ (Alpen; Alpes; Alpi; สโลวีเนีย: Alpe; Alps) เป็นเทือกเขาที่ใหญ่สุดของทวีปยุโรปโดยครอบคลุมตั้งแต่ออสเตรีย, อิตาลี และสโลวีเนียทางด้านตะวันออก ไปจนถึงสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, เยอรมนี และฝรั่งเศสทางด้านตะวันตก เทือกเขาแอลป์เป็นเทือกเขาอายุน้อย เกิดขึ้นเมื่อแผ่นทวีปแอฟริกามุดใต้แผ่นทวีปยูเรเซีย (อนุทวีปสเปนและอิตาลีชนกับแผ่นดินใหญ่) ภูเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาแอลป์คือ ยอดเขามองต์บลังก์ ที่ความสูง 4,807 เมตร บริเวณชายแดนฝรั่งเศสกับอิตาลี.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเทือกเขาแอลป์ · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาแอนดีส

ทือกเขาแอนดีสระหว่างชิลีและอาร์เจนตินา right เทือกเขาแอนดีส เป็นเทือกเขาที่วางตัวขนานกับด้านตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ เป็นเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก พาดผ่าน 7 ประเทศตั้งแต่ เวเนซุเอลา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เปรู โบลิเวีย อาร์เจนตินา และชิลี เทือกเขาเกิดจากแนวรอยปะทะกันของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นปะทะกันเป็นเวลานานหลายล้านปี โดยแผ่นเปลือกโลกอเมริกาใต้กดทับแผ่นเปลือกโลกนาซกา โดยแนวเทือกเขาแอนดิสจะมีความสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปีและมียอดเขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาอากอนกากัว เทือกเขาแอนดิสบริเวณประเทศโบลิเวียมีที่ราบสูงที่ชาวโบลีเวียเรียกว่า อัลติพลาโน (altiplano) หรือที่ราบสูงโบลิเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของประเทศโบลิเวียชื่อลาปาซซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากที่สุดในโลก และบริเวณที่ราบสูงโบลิเวียนี้ก็เป็นที่ตั้งของทะเลสาบติติกากาซึ่งตั้งอยู่พรมแดนระหว่างประเทศเปรูกับประเทศโบลิเวีย และได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลมากที่สุดในโลกด้วย แนวเขาในเขตประเทศเปรูเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำอเมซอนที่ความยาวเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ บริเวณตอนใต้ของเทือกเขาแอนดิสเป็นที่ราบเชิงเขาอยู่เขตรอยต่อระหว่างประเทศอาร์เจนตินากับประเทศชิลี และเรียกบริเวณนั้นว่าที่ราบสูงปาตาโกเนีย บริเวณเทือกเขาแอนดีนั้นเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรอินคา และเป็นแหล่งกำเนิดของตัวลาม.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเทือกเขาแอนดีส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเดอะนิวยอร์กไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนมาร์ก–นอร์เวย์

นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ. 1536 และรุ่งเรืองมาจนถึง ค.ศ. 1814 บางครั้งคำว่า "ราชอาณาจักรเดนมาร์ก" ก็จะหมายถึงทั้งสองอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1536 จนถึง ค.ศ. 1814 เพราะอำนาจทางการเมืองและทางการเศรษฐกิจมีศูนย์กลางอยู่ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก คำนี้ครอบคลุมส่วนที่เป็น "ราชอาณาจักร" โอลเดนบูร์กของปี..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเดนมาร์ก–นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาะลีฟะฮ์

ลีฟะฮ์ หรือ กาหลิบ (خليفة) มาจากคำว่า "เคาะลีฟะฮ์ อัรเราะซูล" (ผู้แทนของท่านเราะซูล) คือคำที่ใช้เรียกประมุขของอาณาจักรอิสลามต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่หลังจากนบีมุฮัมมัดเสียชีวิต จนถึงปลายอาณาจักรอุษมานียะหฺ ประมุขสี่คนแรกเรียกว่า อัลคุละฟาอ์ อัรรอชิดูน คือ อะบูบักรฺ อุมัร อิบนุลค่อฏฏอบ อุษมาน บินอัฟฟาน, และอะลีย์ บินอะบีฏอลิบ ต่อมาเมื่ออำนาจของรัฐอิสลามตกภายใต้การปกครองของตระกูลอุมัยยะฮ์ ตระกูลอับบาซียะฮ์ และตระกูลอุษมาน ประมุขแต่ละคนก็ยังใช้คำนี้ เคาะลีฟะฮ์คนสุดท้ายคือ อับดุลมะญีด ที่ 2 เขตปกครองของเคาะลีฟะฮ์เรียกว่ารัฐเคาะลีฟะฮ์ (Caliphate).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเคาะลีฟะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H. Greco.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

เซบิยา

ที่ตั้งเมืองเซบิยาในประเทศสเปน เซบิยา (Sevilla) หรือ เซวิลล์ (Seville) เป็นศูนย์กลางทางการเงิน วัฒนธรรม และศิลปะของภาคใต้ของประเทศสเปน และยังเป็นเมืองหลวงของแคว้นปกครองตนเองอันดาลูซีอาและจังหวัดเซบิยาอีกด้วย พิกัดภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ที่ 37°22′38″ เหนือ และ 5°59′13″ ตะวันตก) มีแม่น้ำกวาดัลกีวีร์ (Guadalquivir) ไหลผ่าน ผู้อยู่อาศัยในเมืองนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เซบิยาโนส (Sevillanos) เฉพาะในเมืองเซบิยามีจำนวนประชากร 704,154 คนในปี พ.ศ. 2548 แต่ถ้ารวมพื้นที่เขตเมือง (urban area) จะมีจำนวนประชากร 1,043,000 คน และถ้ารวมประชากรในเขตมหานคร (เขตเมืองรวมกับเมืองบริวาร) จะมีจำนวนสูงถึง 1,317,098 คน ทำให้เขตมหานครเซบิยาเป็นเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของสเปน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเซบิยา · ดูเพิ่มเติม »

เซวตา

ซวตา (Ceuta) หรือ ซับตะฮ์ (سبتة) เป็นนครปกครองตนเองแห่งหนึ่งของประเทศสเปนในแอฟริกาเหนือ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งด้านใต้ของช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่ประมาณ 28 ตารางกิโลเมตร ประเทศโมร็อกโกได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเมืองนี้รวมทั้งเมลียาและหมู่เกาะเล็ก ๆ ของสเปนในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเซวตา · ดูเพิ่มเติม »

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเนโท · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์ของสเปน

นเธอร์แลนด์ของสเปน (Spanish Netherlands) มีเรียกว่า เซาเทิร์นเนเธอร์แลนด์ (Southern Netherlands) เป็นพื้นที่ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โดยบางส่วนก็แยกตัวออกมาจากจักรวรรดิ มีทั้งหมด 17 มณฑลในตอนแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมีเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อภิเษกสมรสกับแมรีแห่งเบอร์กันดี โดยมีรัฐ 7 รัฐที่แยกเป็นสาธารณรัฐดัต.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเนเธอร์แลนด์ของสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ. 1825 ถึง พ.ศ. 2349 ต่อมาได้ถูกผนวกอาณาจักรเข้ากับราชอาณาจักรซิซิลี และกลายเป็นเมืองหลวงของ Kingdom of Two Sicilies จนกระทั่งอาณาจักรต่าง ๆ บนคาบสมุทรถูกผนวกรวมเป็นประเทศอิตาลีเมื่อ พ.ศ. 2404 ซึ่งหลังสงคราม Neapolitan ฝ่ายเนเปิลส์ก็ได้สนับสนุนการรวมประเทศนี้อย่างเต็มที่ ภายในอาณาเขตการปกครองของเนเปิลส์มีประชากรประมาณ 1 ล้านคน แต่จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ระบุว่าเขตมหานครของเนเปิลส์มีประชากรมากเป็นอันดับสอง (รองจากมหานครมิลาน ซึ่ง Svimez Data ระบุว่ามีผู้อยู่อาศัย 4,434,136 คน ขณะที่สถาบัน Censis ระบุว่ามี 4,996,084 คน)) หรือสาม (ตามข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา มีผู้อยู่อาศัย 3.1 ล้านคน) ของอิตาลี นอกจากนี้ยังเป็นมหานครที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในอิตาลี เนเปิลส์ถูกจัดให้เป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งมากเป็นอันดับสี่ในอิตาลี รองจากมิลาน โรม และตูริน และถูกจัดให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยเป็นอันดับที่ 91 ของโลกโดยวัดจากกำลังซื้อของประชากร และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ที่ 43,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเหนือกว่าเศรษฐกิจของบูดาเปสต์และซูริก ท่าเรือเนเปิลส์เป็นท่าเรือที่มีความสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป (มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากท่าเรือฮ่องกง) เมื่อไม่นานมานี้เศรษฐกิจของเนเปิลส์ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และอัตราการว่างงานของประชากรในเมืองและบริเวณโดยรอบก็ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2542 กระนั้นก็ยังคงเต็มไปด้วยการทุจริตทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นแหล่งตลาดมืดที่เฟื่องฟู ในตัวเมืองเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทขนาดใหญ่สัญชาติอิตาลีหลายแห่ง เช่น MSC-Cruises และเป็นที่ตั้งของ Center Rai of Naples (สื่อ) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2501 ขณะที่ในเขตบัญโญลีเป็นที่ตั้งของสำนักงานขนาดใหญ่ขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ และยังมี SRM institution for economic research และบริษัทและศูนย์การศึกษา OPE ที่ตั้งอยู่ในตัวเมืองเช่นกัน เนเปิลส์เป็นสมาชิกเต็มของเครือข่าย Eurocities นอกจากนี้ ยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์กลางของ Acp/Ue และได้รับการยกย่องจาก Creative Cities Network ในสังกัดขององค์การยูเนสโกให้เป็นเมืองแห่งวรรณกรรม ในเขตโปซิลลีโปของเมืองเป็นที่ตั้งของ Vill Rosebery ซึ่งเป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการหนึ่งในสามแห่งของประธานาธิบดีอิตาลี ในศตวรรษที่ 20 เนเปิลส์ตกอยู่ภายใต้การปกครองของลัทธิฟาสซิสต์ และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองก็เป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดในอิตาลี ภายหลังสงครามสงบได้มีการบูรณะเมืองซึ่งได้ขยายตัวเมืองออกไปยังพื้นที่รอบนอก ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ได้มีการสร้างย่านธุรกิจ (เชนโตรดีเรซีโอนาเล) ที่มีอาคารระฟ้าและโครงสร้างพื้นฐานแบบ TGV ในโรม รวมถึงการขยายเส้นทางรถไฟใต้ดินที่จะครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งของภูมิภาค และเนเปิลส์จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม International Astronautical Congress ใน พ.ศ. 2555 และ Universal Forum of Cultures ใน พ.ศ. 2556 เนเปิลส์เป็นเมืองที่เริ่มมีการทำพิซซาขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในขณะนั้นจะใช้การทอดก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นการอบในภายหลัง นอกจากนี้วัฒนธรรม Neapolitan ยังมีอิทธิพลด้านดนตรีอย่างแพร่หลาย อย่างเช่นการประดิษฐ์ Romantic guitar และแมนโดลิน รวมทั้งอุปรากรและเพลงท้องถิ่น บุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ของเนเปิลส์คือนักบุญ Januarius ผู้ปกป้องคุ้มครองเมือง ส่วนตัวละครจากเรื่องแต่งที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์คือ พูลชิเนลลา และไซเรน สิ่งมีชีวิตจากมหากาพย์โอดิสซีของกรีก.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ11 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประวัติศาสตร์สเปนและ9 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ประวัติศาสตร์ของสเปน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »