โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บุคลิกวิปลาส

ดัชนี บุคลิกวิปลาส

ลิกวิปลาส (depersonalisation (บริติช) หรือ depersonalization (อเมริกัน)) เป็นอาการทางประสาทประเภทหนึ่ง เป็นภาวะที่เกิดตัวตนและบุคลิกภาพขึ้นในจิตใจของบุคคล ทั้ง ๆ ที่บุคคลนั้นมีตัวตนและบุคลิกภาพของตัวเองอยู่แล้ว โดยสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่นั้นเป็นกระบวนการรู้จำซึ่งทำหน้าที่เป็นอิสระและแปลกแยกจากสิ่งที่มีอยู่แล้ว บุคคลผู้นั้นจึงประหนึ่งนั่งมองการกระทำของตน แต่ไม่สามารถควบคุมการกระทำนั้นได้ รู้สึกว่าไม่ใช่การกระทำของตนแน่นอน แต่เป็นของใครก็ไม่รู้ พูดไม่ออกบอกไม่ถูก เป็นต้นAmerican Psychiatric Association (2004).

37 ความสัมพันธ์: บอดี้ ศพ*19บุคคล (แก้ความกำกวม)พ.ศ. 2552กระดูกการบาดเจ็บกาเฟอีนภววิทยามิโนไซคลีนร็อกละครลิงคินพาร์กสมองสว่านสาปภูษาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3อัตถิภาวนิยมอิศริยา สายสนั่นฮอร์โมนจิตวิทยาธัญญาเรศ เองตระกูลความวิตกกังวลความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจความซึมเศร้าความเครียด (ชีววิทยา)คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตตัวเอกประชานประสาทวิทยาปริญญาตรีนักเรียนแอลกอฮอล์โรคย้ำคิดย้ำทำโรคอัลไซเมอร์โรคตื่นตระหนกโรคประสาทโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งเบ็นโซไดอาเซพีน

บอดี้ ศพ*19

อดี้ ศพ #19 (Body) เป็นภาพยนตร์สยองขวัญแนวจิตวิทยา กำกับโดย ปวีณ ภูริจิตปัญญา เข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและบอดี้ ศพ*19 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคล (แก้ความกำกวม)

ล อาจหมายถึง บุคคลธรรม1.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและบุคคล (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กระดูก

กระดูกต้นขาของมนุษย์ กระดูก เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งภายใน (endoskeleton) ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง หน้าที่หลักของกระดูกคือการค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสมแร่ธาตุและการสร้างเซลล์เม็ดเลือด กระดูกเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อกระดูก (osseous tissue) ที่มีความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักเบา การเจริญพัฒนาของเนื้อเยื่อกระดูกในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทำให้กระดูกเป็นอวัยวะที่มีหลายรูปร่างลักษณะ เพื่อให้สอดคล้องกันกับการทำงานของกระดูกในแต่ละส่วน เช่นกะโหลกศีรษะ (skull) ที่มีลักษณะแบนแต่แข็งแรงมาก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนของสมอง หรือกระดูกต้นขา (femur) ที่มีลักษณะยาวเพื่อเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของรยางค์ล่าง เป็นต้น.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและกระดูก · ดูเพิ่มเติม »

การบาดเจ็บ

การบาดเจ็บ (Injury) เป็นความเสียหายหรืออันตรายต่อหน้าที่หรือโครงสร้างของร่างกาย อันมีสาเหตุจากแรงหรือปัจจัยภายนอกทั้งทางกายภาพหรือเคมี และทั้งโดยเจตนา (เช่นการฆ่าตัวตาย ฆาตกรรม) หรือไม่ได้เจตนา (เช่นอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บจากกีฬา).

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและการบาดเจ็บ · ดูเพิ่มเติม »

กาเฟอีน

กาเฟอีน (caféine) เป็นสารแซนทีนอัลคาลอยด์ ซึ่งสามารถพบได้ในอาหารหลายชนิดได้แก่ เมล็ดกาแฟ, ชา, โคล่า กาเฟอีนถือว่าเป็นยากำจัดศัตรูพืชโดยธรรมชาติ เพราะมันออกฤทธิ์ทำให้อัมพาต และสามารถฆ่าแมลงบางชนิดได้ กาเฟอีนยังมีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ร่างกายเกิดความตื่นตัวและลดความง่วงได้ เครื่องดื่มหลายชนิดมีกาเฟอีนเป็นส่วนผสม เช่นในกาแฟ น้ำชา น้ำอัดลม รวมทั้งเครื่องดื่มชูกำลัง ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นประสาทที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและกาเฟอีน · ดูเพิ่มเติม »

ภววิทยา

ววิทยา (ontology) เป็นปรัชญาสาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเรื่องสภาวะแห่งความเป็นอยู่ หรือสัตตะ (being) การแปรสภาพ (becoming) การดำรงอยู่ (existence) และรวมทั้งการจัดปทารถะ หรือประเภทของสัตตะภาวะ (categories of being) ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร ภววิทยามุ่งสนใจกับคำถามถึงการมีอยู่ (exist) ของสัตภาพ (entity) ต่างๆ หรือการมีอยู่ของสัตภาพนั้นมีอยู่อย่างไร ดำรงอยู่อย่างไร สัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ การดำรงอยู่ต่างๆ อย่างไร ซึ่งการศึกษาภววิทยาจะมีมุมมองแตกต่างตามแต่ละสำนึกคิด เช่น ในหนทางแบบอภิปรัชญาของปรัชญาวิเคราะห์ซึ่งมองว่าธรรมชาติของความเป็นจริง (reality) นั้นต้องพูดถึงการเป็นอยู่ขั้นปาทรถะ (category) ของความเป็นจริง ซึ่งทำให้นักปรัชญาเหล่านี้มองว่า ธรรมชาติของความเป็นจริงมีเบื้องหลังที่เป็นสิ่งพื้นฐาน (basic) และมีสิ่งที่เป็นอนุพันธ์ (derivatives) ตามออกมาจากสิ่งพื้นฐานเหล่านั้น อาทิ เชื่อว่ามีบางอย่างเป็นเหตุกำเนิดของสิ่งต่างๆ เช่น พระเจ้าเป็นสิ่งพื้นฐานแรกที่อยู่เบื้องหลัง และให้กำเนิดแก่สิ่งต่างๆ ตามมา ภววิทยา ถือว่าเป็นปรัชญาแขนงหนึ่งของอภิปรัชญา (metaphysics) อันเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความจริงของสรรพสิ่ง ความเป็นจริงของสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร อะไรอยู่ในฐานะที่เรียกได้ว่า จริง หรือ มีอยู่จริง และความจริงสูงสุด (Ultimate Reality) ที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่ปรากฏนั้นคืออะไร อะไรคือความจริงสูงสุดอันนั้น ความจริงสูงสุดนั้นเป็นยังไง เช่น ความดีคืออะไร ความยุติธรรมคืออะไร พระเจ้าคืออะไร จิตเป็นความจริงมูลฐาน หรือวัตถุเป็นความจริงมูลฐาน เป็นต้น แต่ในส่วนภววิทยา (Ontology) จะศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความจริงเหล่านั้น การดำรงอยู่ของสิ่งเหล่านั้น หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไร โดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของสัตตะ (being) ความเป็นจริงที่มีอยู่ของสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งอภิปรัชญากับภววิทยานั้น มีความแตกต่างตรงที่ อภิปรัชญาสนใจคำถามว่า: what is "x" แต่ภววิทยาสนใจคำถามว่า: what "is" x.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและภววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

มิโนไซคลีน

มิโนไซคลีน (Minocycline) หมวดหมู่:เตตราไซคลีน.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและมิโนไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ละคร

ละคร หมายถึงการแสดงรำที่เป็นเรื่องเป็นราว ดำเนินเรื่องไปโดยลำดับ มีตัวเอกของเรื่อง ฝ่ายชายเรียกว่าตัวพระ เพราะสมัยโบราณแสดงแต่เรื่องจักรๆวงศ์ๆ เป็นเรื่องของกษัตริย์ มีชื่อว่าพระต่างๆ เช่น พระอนิรุทธิ์ พระไชยเชษฐ์ พระอภัยมณี ฝ่ายหญิงเรียกว่า ตัวนาง เพราะในเรื่องที่แสดงมักชื่อว่านางต่างๆ เช่น นางสีดา นางบุษบา นางทิพย์เกสร ยังไม่มีการแบ่งเป็นนางสาวและนางที่มีสามีแล้ว และตัวประกอบอื่นๆแล้วแต่ในเรื่องจะมีละครมีหลายแบบ แต่ละวฝฝใมีการแสดงและความมุ่งหมายแตกต่างกัน เช่น ละครโนรา ละครนอก ละครใน ละครถาม😴😴😴😴😴 และละครดึกดำบรรพ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีการจดบันทึกโดย ซิมง เดอ ลาลูแบร์ ราชฑูตแห่งราชอาณาจักรฝรั่งเศส ใน ปี..

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและละคร · ดูเพิ่มเติม »

ลิงคินพาร์ก

ลิงคินพาร์ก เป็นวงดนตรีร็อกชาวอเมริกันจากอะกูราฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและลิงคินพาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมอง

มอง thumb สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท คำว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คำนี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษ.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและสมอง · ดูเพิ่มเติม »

สว่าน

ว่านไฟฟ้าไร้สาย สว่าน คือเครื่องมือชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับเจาะรูบนวัสดุหลายประเภท เป็นเครื่องมือที่ใช้บ่อยในงานไม้และงานโลหะ ประกอบด้วยส่วนสำคัญคือดอกสว่านที่หมุนได้ ดอกสว่านยึดอยู่กับเดือยด้านหนึ่งของสว่าน และถูกกดลงไปบนวัสดุที่ต้องการจากนั้นจึงถูกทำให้หมุน ปลายดอกสว่านจะทำงานเป็นตัวตัดเจาะวัสดุ กำจัดเศษวัสดุระหว่างการเจาะ (เช่น ขี้เลื่อย) หรือทำงานเป็นตัวสูบอนุภาคเล็กๆ (เช่นการเจาะน้ำมัน).

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและสว่าน · ดูเพิ่มเติม »

สาปภูษา

ปภูษา เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย พงศกร (นายแพทย์พงศกร จินดาวัฒนะ) นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด บทโทรทัศน์ ฐา-นวดี สถิตยุทธการ, นันทวรรณ รุ่งวงศ์พาณิชย์ กำกับการแสดงโดย โชติรัตน์ รักเริ่มวงษ์ และออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552–14 เมษายน พ.ศ. 2552 และนำกลับมาออกอากาศรีรันให้ชมอีกครั้งทางช่อง 3 เอสดี ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 11.00 - 12.15 น. และเวลาใหม่ 10.30 - 11.45 น. เริ่ม 30 มกราคม – 6 มีนาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและสาปภูษา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

อัตถิภาวนิยม

อัตถิภาวนิยม (existentialism) คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังเชื่อว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและอัตถิภาวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

อิศริยา สายสนั่น

อิศริยา สายสนั่น หรือ เอ๊ะ (ชื่อเกิด: เกียรติญา โหมดลายคำ; เกิด: 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัมพรไพศาล ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเซนต์ฟรังค์ซีสซาเวียร์ คอนแวนต์ แล้วจึงสอบเทียบ ม.6 ได้ ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และกำลังศึกษาต่อปริญญาเอก คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและอิศริยา สายสนั่น · ดูเพิ่มเติม »

ฮอร์โมน

อร์โมน (hormone มาจากภาษากรีก horman แปลว่า เคลื่อนไหว) คือ ตัวนำส่งสารเคมีจากเซลล์กลุ่มของเซลล์หนึ่งไปยังเซลล์อื่น ๆ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งพืชและสัตว์ สามารถผลิตฮอร์โมนได้ที่ ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) โมเลกุลของฮอร์โมนจะถูกปล่อยโดยตรงยังกระแสเลือด ของเหลวในร่างกายอื่นๆ หรือเนื้อเยื่อใกล้เคียง หน้าที่ของฮอร์โมน คือการส่งสัญญาณให้ทำงานหรือหยุดทำงาน เช่น.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและฮอร์โมน · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยา

ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและจิตวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญาเรศ เองตระกูล

ัญญาเรศ เองตระกูล นามสกุลเดิมก่อนสมรส รามณรงค์ ชื่อเล่น ธัญญ่า เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เธอเกิดที่อินเดียน่าประเทศสหรัฐอเมริกา บิดาคือสุรพันธ์ รามณรงค์ มารดาคือ Jacklin ซึ่งเป็นชาวอเมริกันพื้นเพครอบครัวของคุณพ่อ คือคุณปู่ของคุณธัญญ่านั้นเป็นชาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ธัญญ่าเป็นลูกสาวคนกลาง ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยพี่ชายคือ แดนนี่ และน้องสาวคือ มัยร่า ซึ่งธัญญาเรศมีผู้จัดการส่วนตัว คือ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์,มีหลานสาวคืออริต์ตา รามณรงค์ และหลานชาย แดนอรุณ รามณรง.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและธัญญาเรศ เองตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ความวิตกกังวล

วิตกกังวล (Anxiety) เป็นอารมณ์อันไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากความยุ่งเหยิงภายในจิตใจ มักเกิดขึ้นพร้อมกับพฤติกรรมทางประสาท อาทิ ความแปรปรวนทางอารมณ์, ความวิตกกังวลทางกาย และภาวะคิดรำพึงความวิตกกังวลเป็นรู้สึกเชิงลบที่เป็นนามธรรม เกิดขึ้นได้เมื่อครุ่นคิดคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อาทิ คิดเรื่องที่ตนเองจะตาย และการคิดคำนึงถึงเรื่องต่างๆ ความวิตกกังวลเป็นอารมณ์คนละอย่างกับความกลัวซึ่งความกลัวนั้นเป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ใกล้ตัวและเป็นรูปธรรมมากกว่า ความวิตกกังวลเป็นความรู้สึกกระวนกระวายและกังวลใจ ผู้มีอาการนี้มักจะตอบสนองต่อภาวะถูกคุกคามต่างๆอย่างเกินจริง ความวิตกกังวลนอกจากจะส่งผลทางด้านจิตประสาทแล้ว ยังอาจก่อให้เกิดความตึงเครียดในกล้ามเนื้อและความอิดโรยของร่างกายได้อีกด้วย ความวิตกกังวลหาได้เกิดจากความนึกคิดได้อย่างเดียว ยาบางประเภทอาจเป็นสาเหตุให้เกิดความวิตกกังวลได้.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและความวิตกกังวล · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ

วามผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ หรือ ภาวะความเครียดผิดปกติหลังเหตุสะเทือนใจ (Posttraumatic stress disorder) มีชื่อย่ออย่างเป็นสากลว่า PTSD เป็นภาวะความเครียดที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าว อาการมักเป็นหลังจากเจอสถานการณ์ที่สะเทือนใจ ซึ่งต่างจาก Acute stress reaction ที่จะเกิดอาการขึ้นทันที่ที่เจอเหตุการณ์นั้น.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ · ดูเพิ่มเติม »

ความซึมเศร้า

วามซึมเศร้า (depression) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและความซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

ความเครียด (ชีววิทยา)

วามเครียด ในความหมายทางจิตวิทยาและชีววิทยา เป็นคำยืมจากวิชาฟิสิกส์และวิศวกรรม ใช้ในบริบททางชีววิทยาครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1930 ซึ่งในทศวรรษหลังได้กลายมาเป็นคำใช้ทั่วไปในการสนทนา ความเครียดหมายความถึงผลสืบเนื่องจากการที่สิ่งมีชีวิต (ทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น) ไม่สามารถตอบสนองอย่างพอเหมาะกับความต้องการทางจิต อารมณ์หรือกายได้อย่างพอเหมาะ ไม่ว่าจะเป็นจริงหรือสมมติขึ้น สัญญาณของความเครียดอาจเกี่ยวเนื่องกับการรู้ทางอารมณ์ ทางกาย หรือทางพฤติกรรม สัญญาณอื่นมีตั้งแต่การตัดสินใจที่เลว ทัศนคติแง่ลบทั่วไป การวิตกกังวลเกินไป อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย ภาวะกายใจไม่สงบ การไม่สามารถพักผ่อนได้ ความรู้สึกโดดเดี่ยว การปลีกตัวหรือภาวะซึมเศร้า การปวดและความเจ็บปวด ท้องร่วงหรือท้องผูก อาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ เจ็บที่หน้าอก หัวใจเต้นเร็ว กินมากเกินหรือไม่พอ นอนมากเกินหรือไม่พอ การหลีกหนีสังคม การผลัดวันประกันพรุ่งหรือปฏิเสธความรับผิดชอบ การเพิ่มปริมาณบริโภคแอลกอฮอล์ นิโคตินหรือยาเสพติด และพฤติกรรมทางประสาท อย่างการกัดเล็บและการเจ็บที่คอ.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและความเครียด (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต

ู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, ย่อ: DSM) เป็นหลักเกณฑ์การวินิจฉัยความผิดปกติทางจิตซึ่งจัดทำโดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (American Psychiatric Association) ซึ่งถูกอ้างอิงอย่างกว้างขวางโดยแพทย์ นักวิจัย ผู้ผลิตและผู้ตรวจสอบคุณภาพยาในทางจิตเวช และบริษัทประกันภัยทั้งในสหรัฐอเมริกาและที่อื่นๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ในปัจจุบันฉบับปรับปรุงล่าสุดคือเป็นฉบับที่ 4 เรียกว่า DSM-IV ในปี พ.ศ. 2537 และมีฉบับปรับปรุงครั้งย่อยในปี พ.ศ. 2543 นอกเหนือจากเกณฑ์การวินิจฉัยดังกล่าว ยังมีเกณฑ์วินิจฉัยอีกอย่างหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้มากเช่นกันในประเทศไทยและหลายประเทศ คือส่วนของความผิดปกติทางจิตในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Classification of Diseases and Related Health Problems, ย่อ: ICD) ซึ่งมีการจัดระบบใกล้เคียงกันและแตกต่างกันในบางรายละเอี.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเอก

ตัวเอก คือบุคคลที่เป็นศูนย์กลางของเรื่อง และมักถูกกล่าวถึงในฐานะที่เป็น ตัวละครหลัก ของเรื่อง เรียกว่า "พระเอก" หากเป็นผู้ชาย และเรียกว่า "นางเอก" หากเป็นผู้หญิง อย่างไรก็ตาม วรรณกรรมบางเรื่องอาจมีเฉพาะพระเอกหรือนางเอกก็ได้ เรื่องจะดำเนินตาม และมักจะมุ่งความสนใจไปที่ตัวเอก (หรือบางครั้งเป็นกลุ่มของตัวเอก) บ่อยครั้งที่เรื่องเล่าด้วยมุมมองของตัวเอก และถ้าในกรณีที่การเล่าเรื่องไม่ได้เป็นแบบการบรรยายแบบบุรุษที่หนึ่ง ความรู้สึกนึกคิดและการกระทำของตัวเอกมักถูกแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนมากกว่าตัวละครอื่น ๆ ตัวเอกมักเป็นตัวละครที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการ แม้ว่านวนิยายจะมีศูนย์กลางอยู่ที่เหตุการณ์หรือตัวละครอื่น ๆ (เช่นในเรื่องสั้น Bartleby the Scrivernet ของเฮอร์มาน เมลวิลล์) ตัวเอกจะเป็นตัวละครที่มีพลวัตร และมักจะทำให้นิยายคลี่คลายไปในทิศทางที่นำไปสู่บทสรุปหลักของชิ้นงานนั้น และมักทำให้ผู้อ่านเกิดความชื่นชมหรือความสนใจได้ ตัวเอกนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นวีรบุรุษของเรื่อง ผู้ประพันธ์หลายคนเลือกเล่าเรื่องจากมุมมองของตัวละครที่อาจไม่ใช่ศูนย์กลางของเรื่อง แต่อยู่ในฐานะที่จะแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องราวนั้น อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งกว่าที่เรื่องจะเกี่ยวข้องกับตัวเอก แม้ว่าตัวเอกจะไม่ได้สร้างวีรกรรมอะไรในเรื่องนั้น แต่การกระทำของตัวเอกมักสำคัญต่อการดำเนินเรื่อง นอกจากนี้ตัวเอกกับผู้บรรยายไม่จำเป็นต้องเป็นตัวละครเดียวกัน ทั้งคู่อาจเป็นตัวละครเดียวกันได้ แต่แม้กระทั่งผู้บรรยายบุรุษที่หนึ่งก็ไม่จำเป็นต้องเป็นตัวเอก เนื่องจากผู้บรรยายนั้นอาจแค่รำลึกเรื่องราว โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในเหตุการณ์จริงเช่นเดียวกับผู้ฟัง.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและตัวเอก · ดูเพิ่มเติม »

ประชาน

ประชาน หรือ ปริชาน หรือ การรับรู้ (Cognition) เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจผ่านความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส" ซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและประชาน · ดูเพิ่มเติม »

ประสาทวิทยา

Jean-Martin Charcot ประสาทวิทยา (Neurology) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของระบบประสาท กล่าวคือเกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยและรักษาโรคที่จัดว่าเกี่ยวข้องกับระบบประสาทกลาง, ระบบประสาทนอกส่วนกลาง และระบบประสาทอิสระ รวมทั้งหลอดเลือด เนื้อเยื่อปกคลุม และอวัยวะที่ประสาทสั่งการ เช่น กล้ามเนื้อ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาจะได้รับการฝึกเพื่อการสืบค้น, การวินิจฉัย และรักษาความผิดปกติของระบบประสาท.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและประสาทวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและปริญญาตรี · ดูเพิ่มเติม »

นักเรียน

นักเรียนขณะเข้าร่วมประชุมภายในหอประชุม นักเรียน ผู้เรียน นิสิต หรือ นักศึกษา ในความหมายโดยรวมคือผู้ที่เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยแบ่งเป็น.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและนักเรียน · ดูเพิ่มเติม »

แอลกอฮอล์

รงสร้างของแอลกอฮอล์ ในทางเคมี แอลกอฮอล์ (alcohol) คือสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิลหรือหมู่ที่แทนแอลคิล สูตรทั่วไปของแอลกอฮอล์แบบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง) คือ CnH2n+1OH โดยทั่วไป แอลกอฮอล์ มักจะอ้างถึงเอทานอลเกือบจะเพียงอย่างเดียว หรือเรียกอีกอย่างว่า grain alcohol ซึ่งเป็นของเหลวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และสามารถระเหยได้ ซึ่งเกิดจากการหมักน้ำตาล นอกจากนี้ยังสามารถใช้อ้างถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นที่มาของคำว่าโรคพิษสุรา (alcoholism) เอทานอลเป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์กดประสาท ที่ลดการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง แอลกอฮอล์ชนิดอื่น ๆ จะอธิบายด้วยคำวิเศษณ์เพิ่มเติม เช่น isopropyl alcohol (ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์) หรือด้วยคำอุปสรรคว่า -ol เช่น isopropanol (ไอโซโพรพานอล).

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและแอลกอฮอล์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคย้ำคิดย้ำทำ

รคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive–compulsive disorder หรือ OCD) คือความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยต้องตรวจสอบสิ่งรอบตัวซ้ำ ๆ, มีความคิดผุดขึ้นมา, หรือมีความรู้สึกอยากทำในสิ่งที่ทำไปแล้วซ้ำไปซ้ำมา --> ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมและความคิดของตนเองได้ --> พฤติกรรมซึ่งพบเห็นได้บ่อย อาทิ การล้างมือ, การนับสิ่งของ, การตรวจสอบว่าประตูล็อกแล้วหรือยัง --> บางรายรู้สึกยากลำบากในการทิ้งสิ่งของ --> โดยพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลเสียต่อชีวิตประจำวันของผู้ป่วย หลายครั้งพฤติกรรมเหล่านี้กินเวลาในแต่ละวันไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง ผู้ใหญ่หลายคนรู้ตัวว่าพฤติกรรมของพวกเขาไม่มีเหตุผล ความเจ็บป่วยนั้นเกี่ยวเนื่องกับอาการกระตุกบนใบหน้า, โรควิตกกังวล และการฆ่าตัวต.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและโรคย้ำคิดย้ำทำ · ดูเพิ่มเติม »

โรคอัลไซเมอร์

รคอัลซไฮเมอร์ หรือ โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease หรือ AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer) และถูกตั้งชื่อตามท่าน โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปแล้วสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี แต่ก็พบโรคอัลไซเมอร์ชนิดหนึ่งคือ โรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset Alzheimer's) ซึ่งเกิดในคนอายุน้อยแต่มีความชุกของโรคน้อยกว่า ประมาณการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2549 มีประชากรราว 26.6 ล้านคนทั่วโลกที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ และจะเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าใน พ.ศ. 2593ประมาณการณ์ความชุกใน..

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและโรคอัลไซเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคตื่นตระหนก

โรคตื่นตระหนก (panic disorder) เป็นโรควิตกกังวลอย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะเกิดอาการตื่นตระหนกกระทันหัน (panic attack) เป็นซ้ำ ทำให้เกิดช่วงวิตกกังวลสุดขีดเข้มข้นเป็นชุดระหว่างอาการตื่นตระหนกกระทันหัน อาจรวมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างสำคัญกินเวลาอย่างน้อยหนึ่งเดือนและความวิตกกังวลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับความนัยหรือความกังวลว่าจะมีอาการครั้งต่อ ๆ ไป โรคตื่นตระหนกมิใช่อย่างเดียวกับโรคกลัวที่โล่ง (agoraphobia) แม้ผู้ป่วยโรคตื่นตระหนกจำนวนมากยังเป็นโรคกลัวที่โล่งด้วย อาการตื่นตระหนกกระทันหันไม่สามารถทำนายได้ ฉะนั้นบุคคลจึงอาจเครียด วิตกกังวลหรือกังวลสงสัยว่าจะเกิดอาการครั้งถัดไปเมื่อไร โรคตื่นตระหนกอาจแยกได้เป็นภาวะทางการแพทย์ หรือภาวะเสียดุลเคมี DSM-IV-TR อธิบายโรคตื่นตระหนกและความวิตกกังวลไว้แยกกัน ขณะที่ความวิตกกังวลจะมีสิ่งกระตุ้นความเครียด (stressor) เรื้อรังนำมา ซึ่งสร้างปฏิกิริยาปานกลางซึ่งกินเวลาได้หลายวัน สัปดาห์หรือเดือน แต่อาการตื่นตระหนกเป็นเหตุการณ์เฉียบพลันซึ่งเกิดจากสาเหตุกระทันหันและไม่ได้คาดหมาย ระยะเวลาสั้นและอาการรุนแรงกว่ามาก อาการตื่นตระหนกกระทันหันเกิดในเด็กได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ อาการตื่นตระหนกในเยาวชนอาจเป็นทุกข์เป็นพิเศษ เพราะเด็กมีแนวโน้มเข้าใจน้อยกว่าว่าเกิดอะไรขึ้น และบิดามารดายังมีแนวโน้มประสบความทุกข์เมื่อเกิดอาการ หมวดหมู่:โรควิตกกังวล หมวดหมู่:ปัญหาอารมณ์ หมวดหมู่:โรคประสาท เกี่ยวข้องกับความเครียดหรือโซมาโตฟอร์ม หมวดหมู่:ความกลัว หมวดหมู่:การวินิจฉัยจิตเวช.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและโรคตื่นตระหนก · ดูเพิ่มเติม »

โรคประสาท

รคประสาท (neurosis) เป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่งที่ไม่รุนแรง แสดงอาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้จิตใจแปรปรวน อ่อนไหวง่าย มักมีความรู้สึกไม่สบายใจ วิตกกังวลอยู่เสมอ ไม่สามารถควบคุมความรู้สึกอารมณ์หรือพฤติกรรมให้เหมือนเดิมได้ อาการทางกายภาพแสดงออกได้ หลายรูปแ.

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและโรคประสาท · ดูเพิ่มเติม »

โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

รคมัลติเพิล สเกลอโรซิส (multiple sclerosis, MS, disseminated sclerosis, encephalomyelitis disseminata) เป็นโรคซึ่งทำให้มีการทำลายปลอกไมอีลินซึ่งหุ้มใยประสาทของสมองและไขสันหลังเอาไว้ ทำให้ใยประสาทไม่มีปลอกไมอีลินหุ้ม เกิดเป็นเนื้อเยื่อแผลเป็น และมีอาการและอาการแสดงอื่นๆ ตามมา ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น และมักพบในเพศหญิง มีความชุกอยู่ระหว่าง 2 - 150 ต่อ 100,000 ประชากร โดยพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

เบ็นโซไดอาเซพีน

รงสร้างทางเคมีของเบ็นโซไดอาเซพีน เบ็นโซไดอาเซพีน (Benzodiazepine) หรือเรียกสั้นๆว่า "เบ็นโซส" เป็นกลุ่มยาในหมวดสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท เกิดขึ้นจากการทำพันธะโครงสร้างทางเคมีระหว่างเบนซีนกับไดอาเซพีน ทั้งนี้ในปี..

ใหม่!!: บุคลิกวิปลาสและเบ็นโซไดอาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

บุคลิกภาพแตกแยกโรคบุคลิกภาพแตกแยก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »