โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

น้ำกร่อย

ดัชนี น้ำกร่อย

น้ำกร่อย (Brackish water) คือน้ำทะเล (น้ำเค็ม) ผสมกับน้ำจืด สามารถพบได้ตามตามปากอ่าวแม่น้ำออกทะเล เช่น สมุทรปราการ (แม่น้ำเจ้าพระยาออกทะเล) บริเวณสมุทรสาคร (แม่น้ำท่าจีนออกทะเล) สมุทรสงคราม (แม่น้ำแม่กลองออกทะเล) โดยทั่วไปแล้ว น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ pH ราว 7.3 ไปจนถึง 8.5 เหตุที่น้ำทะเลมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้ำทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทำให้น้ำเป็นด่างอ่อน เครื่องมือวัดความเค็ม เรียก ซาลิโนมิเตอร์ (Salinometer) หรือ รีแฟรกโตซาลิโนมิเตอร์ (Refractosalinometer) วัดโดยใช้หลักการหักเหของแสง ยิ่งเค็มมาก ยิ่งหักเหมาก แล้วแปลงไปเป็นสเกลของ ppt (part per thousand.

75 ความสัมพันธ์: วงศ์ปลาบู่วงศ์ปลากระบอกวงศ์ปลากระทิงวงศ์ปลากระเบนธงวงศ์ปลากุเราวงศ์ปลากดทะเลวงศ์ปลายอดม่วงวงศ์ปลาหลังเขียววงศ์ปลาตูหนาวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่วงศ์ปลาโรนันวงศ์ปลาไหลนาวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำวงศ์ปลาเสือตอสิ่งมีชีวิตอันดับปลาคางคกอันดับปลาซีกเดียวอันดับปลาปักเป้าจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรปราการจากด่าง (แก้ความกำกวม)คาร์บอนไดออกไซด์ปลาบู่เขือคางยื่นปลากระเบนบัวปลากระเบนชายธงปลากระเบนกิตติพงษ์ปลากระเบนลายเสือปลากะพงขาวปลากะพงข้างปานปลากะพงแดงปลากดหัวผานปลากดหัวแข็งปลากดแดงปลากดเหลืองปลามังกงปลายอดม่วงลายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ปลาย่าดุกปลาวัวจมูกสั้นปลาสะแงะปลาสเตอร์เจียนปลาหนวดพราหมณ์ปลาอินทรีทะเลสาบเขมรปลาอุกปลาตะลุมพุกปลาตาเหลือกปลาตาเหลือกยาวปลาตูหนา...ปลาตีนปลาฉลามหัวบาตรปลาฉลามครีบดำปลาฉนากปลาฉนากจะงอยปากกว้างปลาฉนากจะงอยปากแคบปลาฉนากเขียวปลาปักเป้าสมพงษ์ปลานวลจันทร์ทะเลปลาแมวปลาโรนันหัวเสียมปลาโรนันหัวเสียมยักษ์ปลาโรนันจุดขาวปลาไหลหลาดปลาไหลนาปลาไหลแดงปลาเสือพ่นน้ำปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ปลาเอี่ยนหูนาเกลือน้ำจืดน้ำทะเลแม่น้ำท่าจีนแม่น้ำแม่กลองแม่น้ำเจ้าพระยา ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

วงศ์ปลาบู่

วงศ์ปลาบู่ (Goby) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบอาศัยอยู่ทั้งในทะเลลึกกว่า 60 เมตร จนถึงลำธารบนภูเขาสูงกว่า 1,000 เมตร พบทั่วโลกในเขตร้อนและเขตอบอุ่นมากกว่า 1,950 ชนิด และพบในประเทศไทยมากกว่า 30 ชนิด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gobiidae (/โก-บิ-ดี้/) มีลักษณะแตกต่างจากปลาอื่น คือ มีลำตัวยาวทรงกระบอก มีส่วนหัวและจะงอยปากมน มีเส้นข้างลำตัวและแถวของเส้นประสาทอยู่บนหัวหลายแถว ครีบหลังแยกเป็น 2 ตอนชัดเจน ครีบหางกลมมน ครีบก้นยาว ครีบอกใหญ่ ครีบท้องส่วนมากจะแยกออกจากกัน แต่ก็มีในบางชนิดที่เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกล็ดมีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ เป็นปลากินเนื้อ กินแมลง, สัตว์น้ำขนาดเล็ก และปลาอื่นเป็นอาหาร วางไข่โดยตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแล ไข่มีรูปร่างคล้ายผลองุ่นติดกับวัสุดเป็นแพ เมื่อฟักเป็นตัวจะปล่อยให้หากินเอง ส่วนมากมีขนาดเล็กยาวไม่เกิน 20 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่ในทะเลและน้ำกร่อย พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญ นิยมบริโภคด้วยการปรุงสด โดยเฉพาะเมนูอาหารจีน เป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย ราคาแพง รวมทั้งมีสรรพคุณในการปรุงยา ในปลาชนิดที่มีขนาดเล็กและสีสันสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาบู่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระบอก

วงศ์ปลากระบอก (วงศ์: Mugilidae (/มู-จิ-ลิ-ดี/)) เป็นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ที่อยู่ในอันดับ Mugiliformes นับเป็นวงศ์เดียวที่อยู่ในอันดับนี้ ปลากระบอกมีรูปร่างโดยรวมเรียวยาวค่อนข้างกลมเป็นทรงกระบอก ปากเล็ก มีครีบหลัง 2 ตอน เป็นปลาที่พบได้ทั้งในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล มีตาทรงกลมโต พบทั่วไปในทั้งในทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ และทวีปเอเชีย เช่น อินโด-แปซิฟิก, ฟิลิปปิน และออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอยู่รวมเป็นฝูง มีความปราดเปรียวว่องไว เกล็ดโดยมากเป็นสีเงินเหลือบเขียวหรือเทาขนาดใหญ่ ปลากระบอก สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุล 17 สกุล ประมาณ 80 ชนิด โดยมีชนิดที่สำคัญ ๆ เป็นที่รู้จักกันดี อาทิ ปลากระบอกท่อนใต้ (Liza vaigiensis), ปลากระบอกดำ (L. parsia), ปลากระบอกขาว (L. seheli) เป็นต้น เป็นปลาที่เป็นที่นิยมในการตกปลา และเป็นปลาเศรษฐกิจ มีการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ในในเชิงการประมง.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลากระบอก · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระทิง

วงศ์ปลากระทิง เป็นวงศ์ปลาในอันดับ Synbranchiformes พบในน้ำจืดและน้ำกร่อย มีรูปร่างคล้ายปลาไหล แต่ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นแหลม ปากเล็ก จะงอยปากและปลายจมูกเป็นงวงแหลมสั้นปลายแฉก ตาเล็ก ครีบอก ครีบหลัง ครีบก้นและครีบหางเล็ก ด้านหลังมีก้านครีบแข็งสั้นแหลมคมอยู่ตลอดตอนหน้า มีเกล็ดเล็ก ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mastacembelidae (/มาส-ทา-เซม-เบล-อิ-ดี้/) อาศัยอยู่ใกล้พื้นท้องน้ำหรืออยู่ในโพรงไม้และรากไม้ หรือฝังตัวอยู่ใต้กรวดหรือพื้นทราย พบทั้งหมดประมาณ 27 ชนิด ใน 3 สกุล (ดูในตาราง) กินอาหารจำพวก กุ้งฝอยและปลาขนาดเล็ก พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่เกาะบอร์เนียว พบในประเทศไทยประมาณ 12 ชนิด โดยมีชนิดที่รู้จักกันดี คือ ปลาหลด (Macrognathus siamenis) และ ปลากระทิง (Mastacembelus armatus) นิยมใช้เป็นปลาเพื่อการบริโภค เนื้อมีรสอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและตกเป็นเกมกีฬาด้ว.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลากระทิง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากระเบนธง

วงศ์ปลากระเบนธง (Whipray) เป็นวงศ์ของปลากระเบนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dasyatidae (/แด-ซี-แอท-อิ-ดี้/) พบได้ทั้งน้ำจืดสนิท, น้ำกร่อย และทะเล มีรูปร่างแบนราบ ไม่มีครีบหลัง ส่วนครีบอกแผ่กว้างรอบตัว ปากอยู่ด้านล่าง ตาอยู่ด้านบน มีช่องน้ำเข้า 1 คู่อยู่ด้านหลัง มีขากรรไกรและฟันที่แข็งแรงจำนวนมากเรียงติดต่อกันเป็นแถว ใช้ขบกัดสัตว์เปลือกแข็งซึ่งเป็นอาหารหลักได้ดี ผิวหนังเรียบนิ่มไม่มีเกล็ด ยกเว้นบริเวณกลางหลัง มีส่วนหางที่ยาวเหมือนแส้ ซึ่งคนโบราณนิยมตัดหางมาทำเป็นแส้ เรียกว่า "แส้หางกระเบน" ที่โคนหางมีเงี่ยงแหลมอยู่ 1-2 ชิ้น (พบมากสุดถึง 4 ชิ้น) ที่อาจยาวได้ถึง 31 เซนติเมตร เป็นอาวุธใช้สำหรับป้องกันตัว มีพิษแรง มีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประมาณ 6 และเมื่อหักไปแล้วงอกใหม่ได้ มักมีผู้ถูกแทงบ่อย ๆ เพราะไปแตะถูกเข้าโดยไม่ระวัง เช่น เท้าไปถูกเข้าระหว่างที่ปลาฝังตัวอยู่ใต้ทราย ขณะที่เดินบริเวณหาด เพราะมีพฤติกรรมมักฝังตัวอยู่ใต้พื้นทราย โดยโผล่มาแค่ส่วนตาและเงี่ยงหางเท่านั้น จากการที่มีตาอยู่ด้านบนแต่ปากอยู่ด้านล่างทำให้ไม่สามารถมองเห็นอาหารได้เวลาจะกิน จึงมีอวัยวะรับกลิ่นและอวัยวะรับคลื่นไฟฟ้าในการบอกตำแหน่งของอาหาร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัว โดยมีการสืบพันธุ์ในฤดูหนาว ตัวผู้จะว่ายน้ำตามประกบตัวเมียอย่างใกล้ชิดและมักกัดบริเวณขอบลำตัวของตัวเมีย เมื่อจะผสมพันธุ์ตัวผู้จะว่ายไปอยู่ด้านบนแล้วปล่อยน้ำเชื้อเข้าสู่ตัวเมีย โดยส่วนมากจะออกลูกคราวละ 5-10 ตัว ในเลือดของปลาวงศ์นี้มีสารประกอบของยูเรีย จึงมีกลิ่นคล้ายปัสสาว.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลากระเบนธง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากุเรา

วงศ์ปลากุเรา (Threadfins) เป็นวงศ์ปลาในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Polynemidae (/โพ-ลี-นี-มิ-ดี/) มีรูปร่างทั่วไปเป็นทรงกระบอก ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวและจะงอยปากทู่ ปากกว้างอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ตาเล็กอยู่ตอนปลายของหัวและมีเยื่อไขมันบาง ๆ คลุม ครีบหลังแบ่งเป็น 2 ตอนอยู่ห่างกัน ตอนแรกเป็นก้านแข็งสั้น ตอนท้ายเป็นก้านอ่อน ครีบหางเว้าลึก ครีบอกแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนบนเป็นครีบยาวแหลม ส่วนล่างเป็นเส้นยาวแยกออกเป็นเส้นตั้งแต่ 4 - 14 เส้น มีความยาวแล้วแต่ชนิด เกล็ดเป็นแบบสากมีขนาดเล็กละเอียด เป็นปลากินเนื้อ โดยกินกุ้ง, ปลา หาเหยื่อและสัมผัสได้ด้วยครีบอกที่เป็นเส้น มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ พบในเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยมากเป็นปลาทะเล พบในน้ำกร่อยและน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด มีทั้งหมด 8 สกุล 38 ชนิด มีขนาดใหญ่สุดได้ถึง 2 เมตร คือ ปลากุเราแอฟริกา (Polydactylus quadrifilis) พบในประเทศไทยประมาณ 10 ชนิด เช่น ปลากุเรา 4 หนวด (Eleutheronema tetradactylum) เป็นต้น แต่มีเพียง 3 ชนิดเท่านั้นที่พบในน้ำจืด คือ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 7 เส้น (Polynemus paradiseus), ปลาหนวดพราหมณ์ทอง (P. melanochir) และ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น (P. multifilis) นอกจากนี้แล้วยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย สำหรับปลาที่พบในน้ำจื.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลากุเรา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากดทะเล

วงศ์ปลากดทะเล หรือ วงศ์ปลาอุก (Sea catfishes, Crucifix catfishes, Fork-tailed catfishes) จัดอยู่ในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับปลาหนัง ซึ่งเป็นปลาที่หากินตามพื้นน้ำ โดยมากจะไม่มีเกล็ด มีครีบแข็งที่ก้านครีบอก มีหนวด โดยมากเป็นปลากินซาก ทั้งซากพืช ซากสัตว์ พบทั้งน้ำจืด, น้ำเค็ม และน้ำกร่อย ทั่วเขตอบอุ่นของโลก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ariidae (/อา-รี-อาย-ดี้/) สำหรับปลาในวงศ์นี้ เป็นปลาที่อาศัยในบริเวณน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำ และในทะเล ส่วนมากมีรูปร่างคล้ายปลาสวายแต่มีส่วนหัวที่โตกว่าและแบนราบเล็กน้อย ครีบหลังยกสูงมีก้านแข็งคมเช่นเดียวกับครีบอก ครีบไขมันใหญ่ ครีบก้นสั้น ครีบหางเว้าลึก มีหนวด 1-3 คู่รอบปาก บนเพดานมีฟันเป็นแถบแข็งรูปกลมรี โดยการแพร่พันธุ์ ตัวผู้จะอมไข่ไว้ในปาก รอจนกว่าไข่จะฟักเป็นตัว โดยหลังจากการผสมพันธุ์ภายนอกแล้วตัวเมียจะใช้ครีบก้นที่มีขนาดใหญ่และหนากว่าตัวผู้อุ้มไข่ไว้แล้วให้ตัวผู้มารับไป ไข่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 0.5-1 เซนติเมตร แล้วแต่ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วเขตร้อนของโลก พบในประเทศไทยประมาณ 20 ชนิด เช่น ปลาริวกิว หรือปลาลู่ทู (Arius thalassinus) และพบในน้ำจืดราว 10 ชนิด เช่น ปลากดหัวโต (Ketengus typus), ปลาอุก (Cephalocassis borneensis), ปลาอุกจุดดำ (Arius maculatus), ปลาอุกหัวกบ (Batrachocephalus mino) และ ปลากดหัวผาน (Hemiarius verrucosus) เป็นต้น จินตภาพของกะโหลกปลากดทะเล (ขวา) ที่มองเห็นเป็นรูปพระเยซูตรึงกางเขน (ซ้าย) โดยมากปลาในวงศ์นี้ จะถูกเรียกรวมกันว่า "อุก" เนื่องจากเมื่อถูกจับพ้นน้ำได้แล้วจะส่งเสียงร้องได้ โดยส่งเสียงว่า "อุก อุก" นอกจากนี้แล้ว ในมุมมองของชาวตะวันตก เมื่อมองกะโหลกของปลาในวงศ์นี้ซึ่งเป็นกระดูกแข็ง ก่อให้เกิดเป็นจินตภาพเห็นภาพมีคนหรือพระเยซูตรึงกางเขนอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษที่ว่า "Crucifix catfish".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลากดทะเล · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลายอดม่วง

วงศ์ปลายอดม่วง (Tonguefishes) ปลาในวงศ์นี้เป็นปลาที่อยู่ในอันดับ Pleuronectiformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Cynoglossidae (/ไซ-โน-กลอส-ซิ-ดี้/) มีรูปร่างแปลกอย่างเห็นได้เด่นชัดจากปลาในอันดับเดียวกัน เพราะมีลำตัวที่แบนราบ เรียวยาวส่วนท้ายแหลมดูคล้ายใบของมะม่วง ตามีขนาดเล็กอยู่ชิดกันที่ด้านเดียวกัน เมื่อยังเล็กตาจะอยู่ด้านละข้าง แต่เมื่อโตขึ้นกะโหลกจะบิด จึงทำให้รูปร่างศีรษะบิดตาม ตาจึงเปลี่ยนมาอยู่ข้างเดียวกัน จะงอยปากงุ้มและเบี้ยว ปลายริมฝีปากบนเป็นติ่งแหลมโค้ง ปากค่อนข้างกว้าง ส่วนหัวหันไปทางซ้ายได้โดยที่ซีกขวาอยู่ด้านบน ซึ่งจะแตกต่างไปจากวงศ์ปลาลิ้นหมา (Soleidae) อาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำ ว่ายน้ำโดยขนานกับพื้นดินและพริ้วตัวตามแนวขึ้นลง สามารถมุดลงใต้ทรายได้เร็วเวลาตกใจ อาหารได้แก่สัตว์หน้าดินขนาดเล็ก เช่น ลูกกุ้ง, ลูกปลาและอินทรียสารต่าง ๆ มีทั้งสิ้น 3 สกุล ประมาณ 110 ชนิด มีขนาดแตกต่างกันไปตามชนิด เล็กสุดเพียง 5 เซนติเมตร ใหญ่สุดถึง 60 เซนติเมตร ส่วนมากเป็นปลาทะเล ที่พบในทะเลเช่น ปลายอดม่วงหงอนยาว (Cynoglossus lingua), ปลายอดม่วงเกล็ดใหญ่ (C. macrolepidotus) พบในน้ำจืดไม่กี่ชนิด พบในประเทศไทยมากกว่า 20 ชนิด พบในน้ำจืดเพียง 2 ชนิด ได้แก่ ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) และปลายอดม่วงลาย (C. fledmanni) เป็นปลาที่ใช้บริโภคเป็นปลาเศรษฐกิจเช่นเดียวกับปลาในวงศ์ปลาลิ้นหมา และมักจะถูกเรียกซ้ำซ้อนกับปลาในวงศ์ปลาลิ้นหมาด้ว.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลายอดม่วง · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหลังเขียว

วงศ์ปลาหลังเขียว (วงศ์: Clupeidae) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหลังเขียว (Clupeiformes) โดยมากปลาในวงศ์นี้ เป็นปลาทะเล นิยมทำเป็นปลากระป๋อง เช่น ปลาซาร์ดีน (Sardina pilchardus) เป็นต้น แต่ก็มีหลายชนิดที่เป็นปลาน้ำจืด เช่น ปลาซิวแก้ว (Clupeichthys aesarnensis), ปลาหมากผาง หรือ ปลามงโกรยน้ำจืด (Tenualosa thibaudeaui) เป็นต้น ปลาวงศ์นี้มีลักษณะสำคัญคือ ลำตัวค่อนข้างแบนข้าง ริมฝีปากบนเป็นแผ่นกระดูกบาง ๆ มีฟันซี่เล็กละเอียด หรืออาจไม่มีเลยในบางชนิด มีเกล็ดบางแบบขอบเรียบ ปกคลุมทั่วตัว ครีบมีขนาดเล็กไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหางมักเว้าลึก ส่วนมากมักมีเกล็ดที่ด้านท้องเป็นสันคม ลำตัวมักเป็นสีเงินแวววาว และด้านหลังเป็นสีเขียวเรื่อ จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาไทย โดยมากกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง) ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกปลาในวงศ์นี้รวม ๆ กันว่า ปลาเฮร์ริง, ปลาแชด หรือปลาซาร์ดีน เป็นต้น ขณะที่ในภาษาไทยจะเรียกรวม ๆ กันว่า ปลากุแล, ปลากุแลกล้วย, ปลาอกแล, ปลาหมากผาง, ปลาตะลุมพุก, ปลามงโกรย หรือปลาหลังเขียว เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาหลังเขียว · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาตูหนา

วงศ์ปลาตูหนา (True eel, Freshwater eel) เป็นวงศ์ของปลาในชั้นปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Anguillidae (/แอน-กิล-ลิ-ดี้/) โดยมาจากภาษาลาตินว่า "Ae" หมายถึง ปลาไหล ซึ่งปลาวงศ์นี้มักจะถูกเรียกรวมกันว่า ปลาตูหนา มีทั้งหมด 1 สกุล คือ Anguilla และมีทั้งหมด 15 ชนิด กระจายทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิกจนถึงออสเตรเลีย พบในประเทศไทยประมาณ 3–4 ชนิด ปลาวงศ์นี้มีฟันคม ปากกว้าง เขี้ยวเล็กละเอียดบนขากรรไกรเป็นร้อย ๆ ซี่ จมูกมีรูเล็ก ๆ เหมือนหลอด 2 ข้าง ใช้สำหรับดมกลิ่นเพื่อนำทางและหาอาหาร ซึ่งปลาตูหนามีประสิทธิภาพในการดมกลิ่นได้ดีกว่าปลาฉลามเสียอีก ครีบอกเป็นรูปกลมรี ครีบหลังยาวติดต่อกับครีบหางที่มนและครีบก้นที่ยาว ลำตัวดูภายนอกเหมือนไม่มีเกล็ด มีเมือกลื่นปกคลุมทั้งตัว แต่แท้จริงมีเกล็ดขนาดเล็กมากเรียงซ้อนฝังอยู่ใต้ผิวหนัง โดยไม่มีเส้นข้างลำตัว เลือดและน้ำเหลืองของปลาตูหนามีพิษ ซึ่งอาจฆ่าสุนัขให้ตายได้ เป็นปลานักล่า สามารถจับกุ้ง, ปู หรือสัตว์เปลือกแข็ง รวมทั้งปลาต่าง ๆ กิน มักอาศัยในแหล่งน้ำใส มีตอไม้, โพรงไม้ หรือซอกหินอยู่มาก อาจขุดรูอยู่ก็ได้ นอกจากบริเวณปากแม่น้ำแล้ว ยังเคยพบไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขาอีกด้วย เป็นปลาที่มีวงจรชีวิตแบบ ปลาสองน้ำ คือออกไปวางไข่ในทะเลลึก ปลาวัยอ่อนจึงอพยพกลับมาเลี้ยงตัวที่ชายฝั่งหรือป่าชายเลนก่อนเข้ามาเติบโตในน้ำจืดที่ไกลจากทะเลนับร้อย ๆ กิโลเมตร ลูกปลามีตัวใส เรียวยาวดูคล้ายวุ้นเส้น โดยปกติแล้วเป็นปลาที่มีนิสัยรักสงบ แต่จะดุร้ายมากเมื่อถูกจับได้ มีรายงานว่าปลาบางตัวมีอายุมากได้ถึง 105 ปี และอาจยาวได้ถึง 8 ฟุต ในทะเลสาบน้ำจืดที่นิวซีแลนด์พบบางตัวมีน้ำหนักมากกว่า 100 ปอนด์Flesh Ripper, "River Monsters".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่

วงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Puffers, Toadfishes, Blowfishes, Globefishes, Swellfishes) เป็นวงศ์ปลาปักเป้าจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างเฉพาะตัวคือ กลมป้อม ส่วนโคนหางเล็ก ครีบหลังและครีบก้นเล็กสั้นอยู่ค่อนไปทางท้าย ครีบอกใหญ่กลมมน ครีบหางใหญ่ปลายมน ว่ายน้ำโดยใช้ครีบอกโบกพร้อมกับครีบหลังและครีบก้น เวลาตกใจสามารถพองตัวได้โดยสูบน้ำหรือลมเข้าในช่องท้อง ช่องเหงือกเล็ก หัวโต จะงอยปากยื่น มีฟันลักษณะคล้ายปากนกแก้ว 4 ซี่ ตาโตอยู่ค่อนไปทางด้านบนของหัว รูจมูกเป็นติ่งสั้น ๆ ผิวขรุขระ มีเกล็ดเป็นหนามเล็ก ๆ อยู่บริเวณด้านท้อง ผิวลำตัวส่วนอื่นเรียบ ใช้ชื่อวงศ์ว่า Tetraodontidae (/เท-ทรา-โอ-ดอน-ทิ-ดี้/) พบมากในทะเลเขตร้อนรอบโลกและบริเวณปากแม่น้ำ ชนิดที่พบในน้ำจืดมีน้อย สำหรับในประเทศไทย พบทั้งสิ้น 32 ชนิดทั้งในทะเล, น้ำกร่อยและน้ำจืด (ดูในเนื้อหาข้างล่าง) กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำมีเปลือกเป็นอาหารหลัก เนื่องจากมีฟันสำหรับกัดแทะเปลือกแข็งที่เป็นแคลเซี่ยมได้เป็นอย่างดี และปลาด้วย รวมทั้งสามารถกัดแทะครีบปลาชนิดอื่นได้ด้วย ในบางชนิดมีพฤติกรรมชอบซุกตัวใต้พื้นทรายเพื่อรอดักเหยื่อ นอกจากแล้วยังสามารถพ่นน้ำจากปากเพื่อเป่าพื้นทรายหาอาหารที่อยู่ซ่อนตัวอยู่ได้อีกด้วย นิตยสารอควาเรี่ยมบิส Vol.1 issue 4 ฉบับเดือนตุลาคม 2010 คอลัมน์ เปิดกร...ปักเป้าน้ำจืด เป็นปลาที่มีพิษร้ายแรง เมื่อกินเข้าไปอาจถึงตายได้ โดยจากการศึกษาปลาปักเป้าในวงศ์นี้ที่พบในประเทศไทย พบเป็นปลาปลาปักเป้าน้ำจืดที่มีการสะสมพิษในตัวจะมีอยู่จำนวน 8 ชนิด มากกว่าปลาปักเป้าน้ำกร่อยมีพิษ ซึ่งมีอยู่แค่ 4 ชนิด และลักษณะพิษของปลาปักเป้าน้ำจืดจะมีการสะสมพิษในอวัยวะทุกส่วน และพิษจะมีมากเป็นพิเศษในช่วงฤดูวางไข่ ราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน โดยพิษเกิดเนื่องจากแพลงก์ตอน หรือแบคทีเรียที่ทำให้เกิดพิษหลังจากปลาปักเป้ากินเข้าไป เมื่อมีผู้จับไปกินก็เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาโรนัน

ปลาโรนัน (Guitarfishes) ปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ Rhinobatidae มีรูปร่างคล้ายปลาฉลามแต่มีส่วนหัวแบนแหลมเหมือนปลากระเบน ซึ่งเป็นรอยต่อของวิวัฒนาการจากปลาฉลามมาถึงปลากระเบน โดยวิวัฒนาการมาตั้งแต่ยุคจูราสสิกตอนต้น พบในเขตน้ำอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ทั้งทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปแอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลียทางตอนเหนือ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาโรนัน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาไหลนา

วงศ์ปลาไหลนา (Swamp eel, Amphibious fish; কুঁচেমাছ) เป็นวงศ์ปลากินเนื้อ พบในน้ำจืดและน้ำกร่อยของทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา โดยกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในเขตอบอุ่น พบตั้งแต่พื้นที่ชุ่มน้ำและถ้ำในทวีปแอฟริกา, ตะวันออกกลาง, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงโซนโอเชียเนีย ใช้ชื่อวงศ์ว่า Synbranchidae (/ซิน-แบรน-ชิ-ดี้/) โดยพบอยู่ทั้งหมด 18 ชนิด มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู ตามีขนาดเล็ก มีอวัยวะช่วยหายใจเป็นเส้นเลือดฝอยในคอหอย ไม่มีครีบหรืออวัยวะใด ๆ ที่ช่วยในการว่ายน้ำ เว้นแต่บริเวณปลายหางจะแผนแบนคล้ายใบพาย ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิด มีลำตัวลื่นมาก เพราะมีเมือกเยอะ เกล็ดมีขนาดเล็กฝังในลำตัว เมื่อยังเล็กจะมีครีบอก เมื่อโตขึ้นจะหายไป เป็นปลาที่สามารถ เปลี่ยนเพศได้ (Hermphrodite) โดยช่วงแรกจะเป็นเพศเมีย และจะกลายเป็นเพศผู้เมื่อโตขึ้น ด้านน้ำหนักเพศเมียจะมีน้ำหนักตั้งแต่ 100-300 กรัม เพศผู้มีน้ำหนักมากกว่า 400 กรัม ออกหากินในเวลากลางคืน กินเนื้อเป็นอาหาร โดยสามารถกินอาหารได้หลากหลาย แม้กระทั่งซากสัตว์หรือซากพืชที่เน่าเปื่อย มีพฤติกรรมขุดรูอยู่ในพื้นโคลนตม หรือตามตลิ่งน้ำ ชอบรวมตัวกันอาหาร เป็นปลาที่สามารถปรับสภาพให้อาศัยอยู่ได้ในทุกสิ่งแวดล้อม ในฤดูร้อน สามารถขุดรูลึกลงไป 1-1.2 เมตร เพื่อจำศีลได้ สำหรับในประเทศไทยพบทั้งหมด 3 ชนิด คือ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาไหลนา · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fishes) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Toxotidae (/ท็อก-ออท-อิ-ดี้/; มาจากคำว่า "Toxots" เป็นภาษากรีกหมายถึง "นักยิงธนู").

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเสือตอ

วงศ์ปลาเสือตอ (Siamese tiger fishes) เป็นปลากระดูกแข็งจัดอยู่ในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Datnioididae (/แดท-นี-โอ-นอย-เด-อา/) และมีเพียงสกุลเดียว คือ Datnioides (/แดท-นี-โอ-นอย-เดส/).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและวงศ์ปลาเสือตอ · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิต

งมีชีวิต จะมีคุณลักษณะ (properties) ที่ไม่พบในสิ่งไม่มีชีวิต อันได้แก่ความสามารถในการใช้สสารและพลังงานเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม อย่างไรก็ตามสิ่งมีชีวิตเริ่มแรกหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตซึ่งถือกำเนิดมาบนโลกกว่า 4 พันล้านปี เมื่อผ่านการวิวัฒนาการและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมากดังที่ปรากฏในปัจจุบัน.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและสิ่งมีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาคางคก

ปลาคางคก (อังกฤษ: Toadfishes, Frogfishes) เป็นปลาทะเลจำพวกปลากระดูกแข็งกลุ่มหนึ่ง ในอันดับ Batrachoidiformes และวงศ์ Batrachoididae ซึ่งมีเพียงวงศ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในอันดับนี้.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและอันดับปลาคางคก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาซีกเดียว

อันดับปลาซีกเดียว (Flatfish) ปลากระดูกแข็งในกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ในภาษาไทยมักเรียกปลาในอันดับนี้รวม ๆ กัน เช่น "ลิ้นหมา", "ซีกเดียว", "ยอดม่วง", "ลิ้นเสือ", "ลิ้นควาย", "ใบไม้" หรือ "จักรผาน" เป็นต้น โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pleuronectiformes.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและอันดับปลาซีกเดียว · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลาปักเป้า

อันดับปลาปักเป้า (Puffers, Sunfishes, Triggerfishes, Filefishes) เป็นชื่อเรียกของปลาอันดับ Tetraodontiformes มีอยู่หลายชนิด หลายวงศ์ หลายสกุล อาศัยอยู่ทั้งในทะเล น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยมากมีลำตัวกลม ครีบและหางเล็ก จึงว่ายน้ำได้เชื่องช้าดูน่ารัก หัวโต ฟันแหลมคมใช้สำหรับขบกัดสัตว์น้ำมีเปลือกต่าง ๆ เป็นอาหาร คนที่ลงเล่นน้ำจึงมักถูกกัดทำร้ายเป็นแผลบ่อย ๆ เมื่อตกใจหรือข่มขู่สามารถสูดน้ำหรือลมเข้าช่องท้องให้ตัวพองออกได้หลายลูกโป่ง ในบางชนิดมีหนามด้วย แต่การที่ปลาพองตัวออกเช่นนี้ จะมีผลกระทบต่ออวัยวะภายใน ในบางครั้ง เช่น ปลาตกใจอาจไปกระทบกับถุงลมซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ใช้ในการทรงตัวเมื่ออยู่ใต้น้ำ ให้แตกได้ ปลาปักเป้าที่เป็นเช่นนี้จะไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติ แต่จะลอยตัวอยู่บนผิวน้ำไปอย่างนั้น จนกระทั่งตาย เนื่องจากไม่สามารถป้องกันตัวหรือหากินได้อีก ปลาในอันดับนี้ที่รู้จักกันดี คือ ปลาปักเป้า ปักเป้าทุกชนิดเป็นปลาที่มีพิษในตัว โดยเฉพาะอวัยวะภายในและรังไข่ แม้บริโภคเพียงเล็กน้อยก็อาจถึงแก่ความตายได้ แต่บางชนิดในบางแหล่งน้ำหรือบางภูมิภาคก็มีผู้จับมาบริโภค โดยต้องรู้วิธีชำแหละเป็นพิเศษ เช่น ประเทศญี่ปุ่น นิยมบริโภคปลาปักเป้าโดยทำเป็นซูชิ จนเป็นอาหารประจำชาติญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จัก วงศ์ปลาปักเป้ามีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 วงศ์ คือ Diodontidae ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 2 ซี่ Tetraodontidae ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 4 ซี่ และ Triodontidae ปลาในวงศ์นี้ลักษณะลำตัวแบนข้าง สำหรับในประเทศไทยพบปลาทั้ง 3 วงศ์นี้ ทั้งหมด 42 ชนิด เป็นชนิดในน้ำจืด 9 ชนิด อีก 33 ชนิด เป็นชนิดในน้ำกร่อยรวมถึงทะเล ในประเทศไทย มีการนำปลาปักเป้ามาจำหน่ายในท้องตลาดในชื่อปลาเนื้อไก่ ซึ่งผู้บริโภคอาจได้รับพิษทำให้รู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้วิงเวียน แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดินไม่ได้ หายใจลำบาก หมดสติ และอาจจะอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วได้ เนื่องจากสารพิษชื่อว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) ในหนังปลา ไข่ปลา เนื้อปลา ตับ และลำไส้ มีความทนต่อความร้อนสูง ความร้อนในการปรุงอาหาร การหุงต้ม การแปรรูป ไม่สามารถทำลายสารพิษดังกล่าวได้ ส่วนปลาในวงศ์อื่นแต่อยู่ในอันดับนี้ คือ ปลาแสงอาทิตย์ (Mola mola) ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ด้วย รวมทั้งปลาวัว (Balistidae) เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและอันดับปลาปักเป้า · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: น้ำกร่อยและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จาก

ลำต้นของจากอยู่ใต้ดิน ส่วนที่โผล่ขึ้นคือใบ ช่อดอกของจาก เกาะเป็นก้อนกลม จาก เป็นพืชจำพวกปาล์ม โดยมีการจัดอยู่ที่ในวงศ์ย่อย Nypoideae ซึ่งมีสกุลเดียว และเป็นปาล์มเพียงชนิดเดียวที่เป็นพืชในป่าชายเลน และมีลำต้นอยู่ใต้ดิน นับเป็นพืชเก่าแก่มากชนิดหนึ่ง ที่มีซากดึกดำบรรพ์อายุถึง 70 ล้านปี จากพบได้ทั่วไปในเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในบริเวณน้ำจืด และน้ำกร่อย ที่มีน้ำเค็มขึ้นถึง มักจะขึ้นเป็นดงขนาดใหญ่ เรียกว่า ป่าจาก หรือดงจาก จากสามารถเติบโตได้ดีในดินโคลน ตามป่าชายเลน หรือบริเวณริมคลองที่มีไม้ให้ร่มเงาปะปนอยู่ด้วย มักอยู่ในช่วงที่มีน้ำจืดและน้ำกร่อยปนกัน แต่บนบกที่น้ำท่วมถึงก็พบจากได้บ้างเช่นกัน หากดินไม่แห้งแล้งนานจนเกินไป มีคุณสมบัติกันยุงได้.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและจาก · ดูเพิ่มเติม »

ด่าง (แก้ความกำกวม)

ง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและด่าง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บอนไดออกไซด์

ร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) หรือ CO2 เป็นก๊าซไม่มีสี ซึ่งหากหายใจเอาก๊าซนี้เข้าไปในปริมาณมากๆ จะรู้สึกเปรี้ยวที่ปาก เกิดการระคายเคืองที่จมูกและคอ และหาจยใจไม่ออกเนื่องจากอาจเกิดการละลายของแก๊สนี้ในเมือกในอวัยวะ ก่อให้เกิดกรดคาร์บอนิกอย่างอ่อน คาร์บอนไดออกไซด์มีความหนาแน่น 1.98 kg/m3 ซึ่งเป็นประมาณ 1.5 เท่าของอากาศ โมเลกุลประกอบด้วยพันธะคู่ 2 พันธะ (O.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและคาร์บอนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่เขือคางยื่น

ปลาบู่เขือคางยื่น (Bearded worm goby) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยได้ ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มี รูปร่างยาวคล้ายงู หัวเหมือนปลาบู่ทั่วไป แต่หน้าหัก คางยื่นออกมาเล็กน้อย ปากกว้าง มีฟันเป็นซี่แหลมขนาดเล็กในปาก ใต้ปากล่างมีติ่งเนื้อยื่นออกมาโดยรอบ ตามีขนาดเล็กมาก ครีบอกมีขนาดใหญ่ ครีบหลัง ครีบก้นไม่ต่อเนื่องกับครีบก้น ลำตัวลื่นมาก มีเกล็ดขนาดเล็กละเอียด พื้นสีลำตัวเป็นสีชมพูหรือเหลืองเหลือบทองในบางตัว ยาวเต็มที่ประมาณ 30 นิ้ว อาศัยอยู่ในป่าชายเลนหรือป่าจากปากแม่น้ำ โดยขุดรูอยู่ในดินโคลน ออกหากินในเวลากลางคืน และอาศัยอยู่ในที่ ๆ ไม่ต้องใช้แสงสว่าง ตาจึงปรับสภาพให้มีขนาดเล็ก กินอาหารได้หลากหลาย ตั้งแต่ สัตว์น้ำขนาดเล็กรวมถึงซากพืช ซากสัตว์ พบกระจายอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลแอฟริกาตะวันออก, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จรดโอเชียเนียและเอเชียตะวันออก ไม่จัดเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่สามารถนำมาบริโภคได้ โดยไม่มีพิษหรืออันตรายใด ๆ เช่น ทอดกระเทียม ด้วยรูปร่างประหลาดแลดูคล้ายงูหรือมังกรนี้ จึงมักถูกจับมาขายในตลาดปลาสวยงามบ่อย ๆ โดยมีชื่อเรียกเฉพาะว่า "มังกรแยงซีเกียง" หรือ "มังกรเงิน มังกรทอง" หรือ "ดราก้อนบอล" หรือสุดแต่ผู้ขายจะตั้งชื่อ ซึ่งผู้ขายมักจะบอกว่า เป็นปลาหายากจากแดนไกล สามารถเลี้ยงในน้ำจืดได้ แต่การนำมาเลี้ยงจริง ๆ มักไม่รอดเพราะปลาไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะในสถานที่เลี้ยงได้ มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาเขือ", "ปลาเขือหน้าผี", "ปลาเขือยักษ์", "ปลาเขือแดง" หรือ "ปลาเขือลื่น" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาบู่เขือคางยื่น · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนบัว

ปลากระเบนบัว (Whitenose whipray, Bleeker's whipray) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) เป็นปลากระเบนที่อยู่ในน้ำจืดชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายปลากระเบนลายเสือ (H. oxyrhyncha) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก มีจะงอยปากยื่นแหลมกว่า ขอบครีบกว้างกว่า พื้นลำตัวสีนวลหรือสีน้ำตาลแดง ไม่มีลวดลายใด ๆ กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ ด้านล่างสีขาว และมีลักษณะคล้ายกับปลากระเบนทะเลชนิด H. fai และ H. pastinacoides เป็นปลาที่ถูกบรรยายทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกโดย พีเตอร์ บลีกเกอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ในปี..

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากระเบนบัว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง

ปลากระเบนชายธง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) ปลากระเบนชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเลได้ อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเป็นทรงกึ่งสี่เหลี่ยมดูคล้ายชายธง จึงเป็นที่มาของชื่อ โดยความกว้างของลำตัวจะมีมากกว่าความยาวของลำตัวเสียอีก เมื่อมีขนาดเล็กผิวด้านบนจะเรียบ และผิวนี้จะขรุขระขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โดยมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ปกคลุมบริเวณกลางลำตัวจนถึงโคนหาง ตามีขนาดเล็ก หางยาว ปลายหางมีแผ่นริ้วหนังเห็นได้ชัดเจน มีเงี่ยงพิษ 2 ชิ้นที่ตอนกลางของส่วนหาง สีลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ มีความกว้างโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 1 เมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร และยาว 1.8 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ หางที่ยาวมาก โดยที่ความยาวของหางมีมากกว่าความยาวลำตัวถึง 2.5–3 เท่า ซึ่งเมื่อถูกจับ มักจะสะบัดหางด้วยความรุนแรงและเร็วเพื่อแทงเงี่ยงหางเพื่อป้องกันตัว เนื่องจากมีเงี่ยงที่อยู่ตอนกลางของส่วนหางด้วย จึงนับได้ว่ามีอันตรายกว่าปลากระเบนสกุลหรือชนิดอื่นทั่วไป ที่มีเงี่ยงอยู่ที่ส่วนโคนหาง พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งทะเล หรือปากแม่น้ำอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือ เช่น อียิปต์ และแอฟริกาใต้ เรื่อยไปจนถึงทะเลแดง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงภูมิภาคไมโครนีเซีย และ ออสเตรเลีย รวมถึงญี่ปุ่น โดยมีรายงานพบที่แม่น้ำคงคา ประเทศอินเดีย ที่ห่างจากทะเลถึง 2,200 กิโลเมตร รวมถึงมีรายงานการพบตัวที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัมที่คลองรังสิต จังหวัดปทุมธานี ของประเทศไทย แต่พฤติกรรมในทะเลจะอาศัยอยู่ได้ลึกถึง 60 เมตร สำหรับในประเทศไทย พบได้ในแหล่งน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำแม่กลองช่วงจังหวัดกาญจนบุรี และพบได้น้อยที่ทะเลสาบสงขลาตอนใน ในเขตจังหวัดพัทลุงและสงขลา มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ ใช้เนื้อเป็นอาหารในต่างประเทศ และใช้หนังทำเป็นเครื่องหนัง เช่น กระเป๋า เป็นต้น และยังเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาป้อนอาหารให้ที่ชายหาดแถบทะเลแคริบเบียนด้วย เดิมปลากระเบนชายธงเคยถูกจำแนกให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันจากการศึกษาล่าสุดได้ถูกจำแนกออกเป็นถึง 5 ชนิด และในชนิด P. sephen นี้ เป็นปลาที่พบในแถบทะเลแดงและทะเลอาหรับหน้า 102-120, กระเบนน้ำจืดแห่งชาต.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากระเบนชายธง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนกิตติพงษ์

ปลากระเบนกิตติพงษ์ หรือ ปลากระเบนแม่กลอง (Kittipong's whipray) ปลากระเบนน้ำจืดชนิดใหม่ของโลก อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนในวงศ์นี้ทั่วไป ต่างกันที่ด้านหลังจะมีสีน้ำตาลเข้มอมเหลือง รอบวงของลำตัว หาง ช่องหายใจ ช่องเหงือกและขอบด้านล่างของตัวเป็นสีคล้ำ และจำนวนของฟันซึ่งมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรล่างมีจำนวนมากถึง 14-15 แถว ส่วนลำตัวมีขนาดใหญ่สุดประมาณ 60 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 50-80 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 3 กิโลกรัม ปลากระเบนกิตติพงษ์ ได้ถูกจำแนกออกจากปลากระเบนขาว (H. signifer) ซึ่งเป็นปลากระเบนลักษณะคล้ายคลึงกัน จากการสังเกตของเจ้าของร้านขายปลาสวยงามแห่งหนึ่งในตลาดกลางปลาสวยงาม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จากนั้น กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ นักสำรวจปลาน้ำจืดชาวไทยที่มีชื่อเสียงได้ส่งตัวอย่างต้นแบบแรกให้แก่ ดร.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากระเบนกิตติพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนลายเสือ

ปลากระเบนลายเสือ (Marbled whipray) เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หางยาว โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่สามารถงอกใหม่ได้เมื่อหลุดหรือหักไป หางไม่มีริ้วหนัง พื้นลำตัวด้านบนสีน้ำตาลเหลือง กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ มีจุดดำคล้ายลายของเสือดาวกระจายอยู่ทั่วตัวไปจนปลายหาง อันเป็นที่มาของชื่อ พื้นลำตัวด้านล่างสีขาว หากินตามพื้นท้องน้ำโดยอาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็ก, สัตว์หน้าดิน และสัตว์มีเปลือก จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง มีขนาดความกว้างประมาณ 40 เซนติเมตร หางยาว 1.2 เมตร น้ำหนักตั้งแต่ 3-5 กิโลกรัม ปลากระเบนลายเสือเป็นปลาน้ำกร่อยที่พบอาศัยอยู่ค่อนมาทางน้ำจืด เป็นปลาที่พบน้อย พบได้ตามปากแม่น้ำ เช่น ปากแม่น้ำเจ้าพระยา, ปากแม่น้ำโขง, แม่น้ำแม่กลอง, ทะเลสาบเขมร และพบได้ไกลถึงปากแม่น้ำบนเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย แต่มีรายงานทางวิชาการว่าพบครั้งแรกที่แม่น้ำน่าน เนื่องจากเป็นปลาที่มีลวดลายสวยงามจึงนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพง แต่มักจะเลี้ยงไม่ค่อยรอดเพราะปลามักประสบปัญหาปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือภาวะแวดล้อมในที่เลี้ยงไม่ค่อยได้ ปลากระเบนลายเสือมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกว่า "ปลากระเบนเสือดาว", "ปลากระเบนลาย" หรือ "ปลากระเบนลายหินอ่อน".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากระเบนลายเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงขาว

ปลากะพงขาว เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างลำตัวหนาและด้านข้างแบน หัวโต จะงอยปากค่อนข้างยาวและแหลม นัยน์ตาโต ปากกว้างยืดหดได้ มุมปากอยู่เลยไปทางหลังนัยน์ตา ฟันเป็นฟันเขี้ยวอยู่บนขากรรไกรบนและล่าง ขอบกระดูกแก้มเป็นหนามแหลม ขอบกระดูกกระพุ้งเหงือกแข็งและคม คอดหางมีขนาดใหญ่และแข็งแรง เกล็ดใหญ่มีขอบหยักเป็นหนามเมื่อลูบจะสากมือ ครีบหลังอันแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม อันที่สองเป็นครีบอ่อนมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบใหญ่ปลายกลมมน พื้นลำตัวสีขาวเงินปนน้ำตาล แนวสันท้องสีขาวเงิน มีขนาดความยาวประมาณ 20-40 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 2 เมตร หนักได้ถึง 60 กิโลกรัม โดยปลาที่พบในทะเลจะมีขนาดใหญ่กว่าปลาที่พบในน้ำจืด พบกระจายทั่วไปในชายฝั่งทะเลของทวีปเอเชียไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย โดยเป็นปลาที่อพยพไปมาระหว่างทะเลกับน้ำจืด โดยพ่อแม่ปลาจะว่ายจากชายฝั่งเข้ามาวางไข่ในป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ จนกระทั่งลูกปลาฟักและเติบโตแข็งแรงดีแล้ว จึงจะว่ายกลับสู่ทะเล บางครั้งพบอยู่ไกลจากทะเลนับเป็นร้อย ๆ กิโลเมตร เช่นที่ แม่น้ำโขง ก็มีเป็นปลากินเนื้อ อาหารได้แก่ สัตว์น้ำ, ปลา, กุ้ง ที่มีขนาดเล็กกว่า เป็นปลาเศรษฐกิจที่กรมประมงส่งเสริมให้เลี้ยง เกษตรกรนิยมผลิตลูกปลาชนิดนี้ส่งไปจำหน่ายยังประเทศมาเลเซียและไต้หวัน เนื้อมีรสชาติดี นำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น แปะซะ, นึ่งบ๊วย เป็นต้น และนิยมตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย ปลากะพงขาวยังมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "ปลากะพงน้ำจืด" ขณะที่ชื่อท้องถิ่นในลุ่มแม่น้ำบางปะกงเรียก "ปลาโจ้โล้".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากะพงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงข้างปาน

ปลากะพงข้างปาน (Russell's snapper, Moses perch) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) มีรูปร่างคล้ายปลาในวงศ์เดียวกันทั่วไป ครีบหลังมีฐานยาว ครีบหางมีขนาดใหญ่และปลายเว้าเล็กน้อย มีพื้นลำตัวสีเหลืองหรือสีทอง หรือสีน้ำตาลแดงหรือสีขาวเงิน มีเส้นสีแดงปนน้ำตาลจำนวน 8 เส้น พาดผ่านและโค้งไปตามแนวลำตัว บริเวณก่อนถึงโคนหางมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นได้ชัดเจน อันเป็นที่มาของชื่อ มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร เมื่อยังเป็นลูกปลาจะมีลายพาดแนวนอนตามลำตัวตั้งแต่หัวจรดหาง 3-4 ขีด และเมื่อโตขึ้นลายขีดจะหายไป ครีบและหางกลายเป็นสีเหลือง อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน พบในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ในประเทศไทยพบได้ทั้งชายฝั่งอันดามันและอ่าวไทย นิยมอยู่เป็นฝูง นิยมตกเป็นเกมกีฬา เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลากะพงปานข้างลาย", "ปลาเหลืองลีซี" หรือ "ปลากะพงทอง".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากะพงข้างปาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากะพงแดง

ปลากะพงแดง เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งที่อยู่ในสกุล Lutjanus ในวงศ์ปลากะพงแดง (Lutjanidae) คำว่า Latjanus รวมถึง Lutjanidae ที่ใช้เป็นชื่อวงศ์ด้วย มาจากคำว่า ikan lutjan (อีกันลุตจัน) ซึ่งเป็นชื่อเรียกปลาจำพวกนี้ในภาษามลายู ปลากะพงแดงเป็นปลากินเนื้อ อาศัยอยู่ในทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแอตแลนติก บางชนิดอาจปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ และมีอยู่สองชนิดที่พบได้เฉพาะในน้ำจืดและน้ำกร่อยเท่านั้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากะพงแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวผาน

ปลากดหัวผาน (Shovelnose sea catfish) ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemiarius verrucosus อยู่ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากดหัวผาน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวแข็ง

ปลากดหัวแข็ง (Spotted catfish) เป็นปลาหนังมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arius maculatus ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) มีรูปร่างและพฤติกรรมทั่วไปคล้ายปลาอุก (Cephalocassis borneensis) ที่เป็นปลาในวงศ์เดียวกัน ต่างกันตรงที่มีจุดสีดำอยู่ที่ครีบไขมัน มีความยาวประมาณ 35 เซนติเมตร ขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร พบในแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำโขงตอนล่าง รวมถึงทะเลสาบสงขลา หากินอยู่บริเวณพื้นน้ำ โดยกินสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังต่าง ๆ เป็นอาหาร ปลากดหัวแข็ง มีชื่อเฉพาะในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาอุกจุดดำ".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากดหัวแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดแดง

ปลากดแดง (Engraved catfish) เป็นปลาหนังน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nemapteryx caelata ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม หัวโตมีหนวด 6 เส้นอยู่รอบปาก ครีบไขมันเล็กมีจุดสีดำ ครีบหลังแหลมยาวเหมือนปลาเทพา ซึ่งเป็นปลาคนละสกุลและคนวงศ์กัน ลำตัวมีสีเทา ครีบหางมีขนาดเล็ก อาศัยอยู่เป็นฝูง ในชายฝั่งใกล้ปากแม่น้ำหรือป่าชายเลนของเอเชียตะวันออก พบได้ตั้งแต่อินเดีย, ปากีสถาน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย จนถึงชายทะเลอินโด-ออสเตรเลีย แต่ไม่พบในฟิลิปปินส์และออสเตรเลีย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 40 เซนติเมตร นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยชื่อเฉพาะในวงการปลาสวยงามเรียกว่า "ปลากดเทพา" และยังมีชื่ออื่น เช่น "ปลากดหัวโม่ง".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากดแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดเหลือง

ปลากดเหลือง ปลาน้ำจืดในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hemibagrus filamentus อยู่ในวงศ์ปลากด (Bagridae) มีรูปร่างคล้ายปลากดคัง (H. wyckioides) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างเล็กกว่า สีข้างลำตัวเป็นสีเหลืองจึงเป็นที่ของชื่อ หรืออาจเป็นสีเทาคล้ำ สีท้องจาง ครีบหลังยาวจนถึงจุดเริ่มต้นของครีบไขมัน และครีบไขมันมีสีคล้ำ ขนาดโตเต็มที่ราว 50 เซนติเมตร พบในแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน เป็นปลาที่ใช้บริโภคโดยการปรุงสด รมควัน และปลาแห้ง และมีการเพาะเลี้ยงในกระชังเหมือนปลากดคัง นอกจากนี้แล้วยังมีปลากดในสกุลเดียวกันนี้ อีกชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกัน คือ ปลากดขาว (H. spilopterus) ซึ่งบางครั้งอาจสับสนกันและเรียกชื่อสามัญตรงกันว่า "ปลากดเหลือง" ด้วย ซึ่ง 2 ชนิดนั้นยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลากดช่องหลวง", "ปลากดนา", "ปลากดขาว", "ปลากดชงโลง" หรือ "ปลากดคัง" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลากดเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลามังกง

ปลามังกง หรือ ปลาอีกง (Long-whiskered catfish) เป็นปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง เป็นปลาหนังอยู่ในวงศ์ปลากด (Bagaridae) มีลักษณะลำตัวค่อนข้างกลมหนา ปกติมีสีเทาอมทอง หรือเทาอมม่วง ท้องมีสีขาว กินกุ้ง, ตัวอ่อนของแมลง, แพลงก์ตอนพืชและสัตว์เป็นอาหาร เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาดประมาณ 12-15 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 46 เซนติเมตร มักอาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่บริเวณน้ำกร่อยหรือปากแม่น้ำ พบชุกชุมที่อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา คำว่า "บางปะกง" นั้นก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "บางมังกง" อีกทอดหนึ่ง นอกจากนี้ปลามังกงยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกมาก เช่น ปลากดหมู, ปลากด, ปลาแขยงกง ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจและนิยมรวบรวมลูกปลาวัยอ่อนขายเป็นปลาสวยงามด้วย มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูฝน โดยจะว่ายไปวางไข่ในบริเวณน้ำจื.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลามังกง · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอดม่วงลาย

ปลายอดม่วงลาย (River tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus fledmanni ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (C. microlepis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่มีสีลำตัวมีสีเหลืองอ่อนหรือเขียวอ่อน ตามตัวมีลายเส้นสีดำคล้ายลายเสือพาดตามตัว ขนาดที่พบโดยเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร ถิ่นอาศัยอยู่ที่เดียวกับปลายอดม่วงเกล็ดถี่ แต่พบน้อยกว่า พบได้ในแม่น้ำโขง และปากแม่น้ำใกล้ทะเล ในประเทศไทยพบได้ที่ลุ่มน้ำโขง, ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจนถึงเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลายอดม่วงลาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลายอดม่วงเกล็ดถี่

ปลายอดม่วงเกล็ดถี่ (Smallscale tonguesole) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cynoglossus microlepis อยู่ในวงศ์ปลายอดม่วง (Cynoglossidae) มีรูปร่างคล้ายใบมะม่วง ตาเล็กอยู่ชิดกัน ปลายจะงอยปากงุ้ม เฉพาะด้านบนท้องเล็กมาก ครีบหลัง ครีบหาง และครีบก้นยาวตลอดลำตัว ครีบหางมีปลายแหลม เกล็ดเล็กมีขอบหยัก มีเส้นข้างลำตัว 3 เส้นบนลำตัวด้านบนและต่อเนื่องกันบริเวณหัว ตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมแดงโดยไม่มีลวดลายใด ๆ ครีบค่อนข้างใส ลำตัวด้านล่างมีสีขาว ขนาดที่พบเฉลี่ยประมาณ 25 เซนติเมตร ใหญ่สุดประมาณ 1 ฟุต อาศัยตามชายฝั่งแม่น้ำที่เป็นพื้นทราย พบในตอนล่างของแม่น้ำแม่กลอง, เจ้าพระยา, บางปะกง และภาคใต้ พบมากในแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่จังหวัดชัยนาทจนถึงพิษณุโลก บริโภคโดยทำปลาแห้ง มีราคาขายค่อนข้างสูง และพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย มีชื่อเรียกอื่นว่า "ปลายอดม่วง", "ปลายอดม่วงแม่น้ำ" หรือ "ปลายอดม่วงน้ำจืด" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลายอดม่วงเกล็ดถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาย่าดุก

ปลาย่าดุก (Freshwater lionfish, Three-spined frogfish) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Batrachomoeus trispinosus อยู่ในวงศ์ปลาคางคก (Batrachoididae) มีรูปร่างหัวโต ปากกว้าง มีติ่งเนื้อสั้น ๆ อยู่รอบมุมปาก ตาโต ครีบอกเป็นวงกลมและแผ่กางได้ ครีบหลังและครีบท้องยาวไปจรดหาง ครีบหางเป็นวงกลม ลำตัวอ่อนนุ่ม ไม่มีเกล็ด พื้นสีลำตัวสีน้ำตาลมีแถบดำเป็นลายเลอะพาดตลอดทั้งตัว ขนาดโตได้เต็มที่ราว 30 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก และยังพบในปากแม่น้ำ หรือในเขตน้ำกร่อยในภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย ในต่างประเทศพบตั้งแต่อินโด-แปซิฟิก, ปาปัวนิวกินี จนถึงออสเตรเลีย มีพฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นน้ำเพื่อดักรอเหยื่อ โดยสีของลำตัวกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อม สามารถกินปลาที่ใหญ่กว่าตัวได้ โดยปลาในวงศ์นี้จะมีพิษอยู่ที่เงี่ยงครีบหลังและครีบอก เมื่อถูกจับพ้นน้ำจะส่งเสียงร้องว่า "อุบ อุบ" เป็นปลาที่เมื่อกินเบ็ดแล้ว กินลึกลงถึงในคอ ในบางพื้นที่มีการบริโภค โดยเนื้อนุ่ม มีรสชาติอร่อย และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยต้องทำการปรับสภาพน้ำให้อยู่ในน้ำจืดให้ได้เสียก่อน หน้า 110-129, Amphidromous story สุดยอดนักล่า ปลาสองน้ำ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาย่าดุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวัวจมูกสั้น

ปลาวัวจมูกสั้น (Short-nosed tripodfish; ギマ) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยจนเกือบเป็นน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Triacanthus biaculeatus อยู่ในวงศ์ปลาวัวจมูกสั้น (Triacanthidae) มีรูปร่างตัวป้อม ด้านข้างแบน นัยน์ตาใหญ่ จมูกและจะงอยปากสั้นกว่าปลาวัวในวงศ์อื่น ๆ ครีบหลังยาวแยกเป็น 2 ตอน ตอนแรกมีก้านครีบเป็นหนามแข็ง ปลายแหลม ตอนหลังอ่อนนิ่ม ครีบหางใหญ่ปลายเว้ารูปวงเดือน พื้นลำตัวเป็นสีเงิน ปนสีเขียว นิยมอยู่เป็นฝูง บริเวณชายฝั่งทะเลแถบป่าชายเลนหรือชายฝั่ง และปากแม่น้ำ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลเปอร์เซียจนถึงทะเลแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีขนาดโตเต็มที่ 30 เซนติเมตร กินอาหารจำพวก สัตว์ทะเลขนาดเล็กกว่า ไม่จัดเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม ที่มักมีผู้นำมาขายและปรับสภาพให้อาศัยในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ แต่โดยมากจะไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ตลอด โดยจะค่อย ๆ กินอาหารน้อยลง และตายไปในที่สุด หากจะเลี้ยงจึงต้องปรับค่าความเค็มและรักษาค่าพารามิเตอร์ของน้ำให้เหมือนกับน้ำทะเลให้ดี จึงทำให้ปลาอยู่รอดมีชีวิตได้ตามปกต.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาวัวจมูกสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสะแงะ

ปลาสะแงะ (Bengal freshwater eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งที่มีรูปร่างคล้ายปลาไหล จัดอยู่ในวงศ์ปลาตูหนา (Anguillidae) จัดเป็นปลาในวงศ์ปลาตูหนาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย โดยสามารถยาวได้ถึง 1 เมตร หรือ 1.5 เมตร ในตัวเต็มวัยครีบอกมีสีจาง ครีบหลังอยู่ค่อนไปทางด้านท้ายของลำตัว ลำตัวด้านหลังมีสีเทาคล้ำอมเหลืองและมีประสีจางและคล้ำผสมกันคล้ายกับลายหินอ่อน ท้องมีสีน้ำตาลอมเหลือง พบมากในแม่น้ำสาละวินและสาขาในจังหวัดตาก และ แม่ฮ่องสอน และยังสามารถพบได้เป็นครั้งคราวในแม่น้ำของภาคใต้ฝั่งตะวันตก ต่างประเทศพบได้ในบริเวณแม่น้ำชายฝั่งของประเทศอินเดีย, พม่า และทวีปแอฟริกาแถบตะวันออก ปลาสะแงะ มีบันทึกว่าพบครั้งแรกและสร้างความฮือฮาให้กับผู้พบเห็น คือ มีผู้จับได้ในคลองบางกะปิที่กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2469 ด้วยความใหญ่โตของลำตัว ทำให้บางคนเชื่อว่า เป็นปลาไหลไฟฟ้าบ้าง บางคนก็คิดว่าเป็นพญานาค หรือมังกร โดยปลาตัวนั้นมีขนาดความยาว 65 เซนติเมตร ว่ากันว่า ปลาชนิดนี้สามารถส่งเสียงร้องคล้ายเสียงเด็กทารกได้ด้วยในเวลากลางคืน ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันตกและแถบภาคตะวันตกไปจนถึงจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีชื่อพื้นเมืองภาษากะเหรี่ยงว่า "หย่าที" สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย A. b. bengalensis พบได้ในทวีปเอเชีย และ A. b. labiata พบได้ในทวีปแอฟริกา เป็นปลาที่พบน้อย หายาก เนื้อมีรสชาติอร่อย ราคาแพง และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาสะแงะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสเตอร์เจียน

ปลาสเตอร์เจียน (Sturgeon, Oсетр, 鱘) ปลากระดูกแข็งขนาดใหญ่ในวงศ์ Acipenseridae ในอันดับ Acipenseriformes อาศัยได้อยู่ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เมื่อยังเล็กจะอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ทะเลสาบหรือตามปากแม่น้ำ แต่เมื่อโตขึ้นจะว่ายอพยพสลงสู่ทะเลใหญ่ และเมื่อถึงฤดูวางไข่ก็จะว่ายกลับมาวางไข่ในแหล่งน้ำจืด ปลาสเตอร์เจียน เป็นปลาที่มนุษย์ใช้เป็นอาหารมานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งไข่ปลา ที่เรียกว่า คาเวียร์ ซึ่งนับเป็นอาหารราคาแพงที่สุดชนิดหนึ่งของโลก ปลาสเตอร์เจียน มีรูปร่างคล้ายปลาฉลาม มีหนามแหลมสั้น ๆ บริเวณหลัง หัว และเส้นข้างลำตัวไว้เพื่อป้องกันตัว มีหนวดทั้งหมด 2 คู่อยู่บริเวณปลายจมูก ปลายหัวแหลม ปากอยู่ใต้ลำตัว ลำตัวไม่มีเกล็ด ภายในปากไม่มีฟัน ตามีขนาดเล็ก ซึ่งหนวดของปลาสเตอร์เจียนนี้มีหน้าที่สัมผัสและรับคลื่นกระแสไฟฟ้าขณะที่ว่ายน้ำ เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่ด้านใต้ของลำตัว เพราะฉะนั้นหนวดเหล่านี้มีหน้าที่เหมือนมือที่คอยสัมผัสกับสิ่งของที่อยู่ข้างใต้ของตัวเอง หากินตามพื้นน้ำโดยอาหารได้แก่ สัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ สเตอร์เจียนจะพบแต่เฉพาะซีกโลกทางเหนือซึ่งเป็นเขตหนาวเท่านั้น ได้แก่ ทวีปเอเชียตอนเหนือและตะวันออก, ทวีปยุโรปตอนเหนือ และทวีปอเมริกาเหนือตอนบน เช่น อะแลสกา, แคนาดา และบางส่วนในสหรัฐอเมริกา สถานะปัจจุบันของปลาชนิดนี้ในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์เต็มที แต่ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในบางชนิด ปลาสเตอร์เจียน มีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 3 สกุล โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ ปลาฮูโซ่ (Huso huso) พบในรัสเซีย สามารถโตเต็มที่ได้ถึง 5 เมตร หนักกว่า 900 กิโลกรัม และมีอายุยืนยาวถึง 210 ปี นับเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลก เท่าที่มีการบันทึกมา และเป็นชนิดที่ให้ไข่รสชาติดีที่สุดและแพงที่สุดด้วย ส่วนชนิดที่เล็กที่สุดคือ ปลาสเตอร์เจียนแคระ (Pseudoscaphirhynchus hermanni) ที่โตเต็มที่มีขนาดไม่ถึง 1 ฟุตเสียด้วยซ้ำ นอกจากนี้แล้ว ปลาสเตอร์เจียนยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ในประเทศไทย ปลาสเตอร์เจียนชนิด ปลาสเตอร์เจียนไซบีเรีย (Acipenser baerii) ได้มีการทดลองเลี้ยงในโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ดอยคำ อันเป็นโครงการในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่อำเภอเวียงแหง ที่หน่วยวิจัยประมงบนพื้นที่สูงดอยอินทนนท์ อำเภอจอมทอง และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผลการทดลองเป็นไปได้อย่างดี.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาสเตอร์เจียน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหนวดพราหมณ์

ปลาหนวดพราหมณ์ หรือ ปลาหนวดตาแป๊ะ (Threadfins) เป็นสกุลของปลาน้ำกร่อยและน้ำจืดจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลากุเรา (Polynemidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Polynemus (/โพ-ลี-นี-มัส/) เป็นปลาที่พบได้ในน้ำกร่อยและน้ำจืดเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากปลาสกุลอื่นในวงศ์เดียวกัน มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบอกแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนบนเหมือนครีบปลาทั่วไป แต่ส่วนล่างแบ่งเป็นเส้น ๆ มากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่ชนิด ตั้งแต่ 3-14 เส้น เป็นปลาที่ผสมพันธุ์และวางไข่ ฟักเป็นตัวในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ อาจพบได้บ้างตามแหล่งน้ำกร่อย เช่น ปากแม่น้ำหรือชายฝั่ง พบแพร่กระจายพันธุ์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศอินโดนีเซีย มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร สำหรับในชนิดที่พบในประเทศไทย ได้แก่ ปลาหนวดพราหมณ์เหนือ (P. aquilonaris), ปลาหนวดพราหมณ์ตะวันออก (P. dubius), ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 7 เส้น (P. paradiseus), ปลาหนวดพราหมณ์ทอง (P. melanochir) และ ปลาหนวดพราหมณ์หนวด 14 เส้น (P. multifilis) นิยมรับประทานเป็นอาหาร และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาหนวดพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอินทรีทะเลสาบเขมร

ปลาอินทรีทะเลสาบเขมร (Chinese seerfish, Chinese mackerel; เขมร: ត្រីស្បៃកា, ត្រីបីកា) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถอาศัยในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) มีรูปร่างเพรียวยาว หัวแหลม ปากมีฟันแหลมคม ครีบหางเว้าลึก ครีบท้องและครีบหลังแหลมและมีรอยหยักไปจรดครีบหาง ชายครีบเป็นสีดำ ปลายครีบอกหรือครีบอกมนกลมไม่แหลม ลำตัวสีเทาเงินเหลือบเขียว ลำตัวไม่มีลวดลายหรือแต้มจุดเหมือนปลาอินทรีชนิดอื่น อาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่สหรัฐอเมริกาแถบชายฝั่งแปซิฟิก, ญี่ปุ่น, จีน, เวียดนาม และพบบางส่วนเข้ามาอาศัยในแหล่งน้ำจืด ที่ปากแม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมรด้วย โดยพบได้ตั้งแต่น้ำตกคอนพะเพ็งในลาวไปจนถึงจังหวัดกระแจะและพนมเปญในกัมพูชา ในประเทศไทยพบได้บ้างแถบจังหวัดจันทบุรี และมีการตกได้ที่เกาะราชาน้อย จังหวัดภูเก็ต เมื่อปลายเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาอินทรีทะเลสาบเขมร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาอุก

ปลาอุก ปลาน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cephalocassis borneensis อยู่ในวงศ์ปลากดทะเล (Ariidae) มีรูปร่างเพรียว หางคอดเล็ก หลังยกสูงเล็กน้อย จะงอยปากยื่นยาว หัวโตแบนราบเล็กน้อย ปากเล็ก ตาเล็กอยู่กลางหัว ครีบหลังมีก้านแข็งหนาและยาว ครีบไขมันเล็กมีสีคล้ำเล็กน้อย ครีบท้องใหญ่ ครีบหางเว้าลึก ตัวมีสีเทาอมเหลืองอ่อน ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 20 เซนติเมตร อาศัยในแม่น้ำตอนล่าง พบในแม่น้ำแม่กลองถึงแม่น้ำบางปะกง ในแม่น้ำเจ้าพระยาพบขึ้นไปสูงสุดจนถึง จังหวัดชัยนาท นิยมบริโภคตัวผู้ที่มีไข่ในปากเรียก "ไข่ปลาอุก" โดยนิยมนำมาทำแกงส้ม พบจับขึ้นมาขายเป็นครั้งคราวในตลาดของชัยนาท อยุธยา และ อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และพบได้ในภาคใต้จนถึงเกาะบอร์เนียว และพบมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "อุกแดง", "อุกชมพู" หรือ "กดโป๊ะ".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาอุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะลุมพุก

ทความนี้หมายถึงปลา ส่วนตะลุมพุกในความหมายอื่นดูที่: ตะลุมพุก ปลาตะลุมพุก หรือ ปลากระลุมพุก หรือ ปลาหลุมพุก (ใต้) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่เข้ามาวางไข่ในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tenualosa toli ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาตะลุมพุก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเหลือก

ปลาตาเหลือก หรือ ปลาตาเหลือกสั้น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Megalops cyprinoides; Indo-Pacific tarpon, Pacific tarpon, Oxeye) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อยู่ในวงศ์ปลาตาเหลือก (Megalopidae) มีรูปร่างป้อม ปากกว้าง ที่ใต้คางระหว่างกระดูกกรามล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง 1 ชิ้น และมีก้านครีบหลังอันสุดท้ายยื่นยาวเป็นเส้น เกล็ดเป็นสีเงินแวววาวตลอดทั้งลำตัว ตามีขนาดโต จึงเป็นที่มาของชื่อ ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1.5 เมตร น้ำหนักเต็มที่ประมาณ 15 กิโลกรัม อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิก แถบทะเลแดง ชายฝั่งทวีปแอฟริกาและเอเชีย และยังสามารถปรับตัวให้อยู่น้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ด้วย โดยบางครั้งพบว่ายเข้ามาในลำคลองที่ติดกับทะเลหรือนากุ้ง นาเกลือของชาวบ้าน ปลาจะผสมพันธุ์ วางไข่ และลูกปลาวัยอ่อนจะเติบโตที่บริเวณปากแม่น้ำหรือป่าชายเลน เป็นปลากินเนื้อ อาหารได้แก่ ลูกปลา ลูกกุ้งขนาดเล็ก นิยมตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย มีชื่อเรียกแตกต่างไปอีกเช่น "ข้าวเหนียวบูด" ภาษาใต้เรียก "เดือน" และภาษายาวีเรียก "บุหลัน" ซึ่งหมายถึง "ดวงจันทร์" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาตาเหลือก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตาเหลือกยาว

ปลาตาเหลือกยาว (Ladyfish, Tenpounder) ปลาน้ำเค็มชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ อยู่ในวงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Elopidae) มีรูปร่างคล้ายปลาตาเหลือก (Megalops cyprinoides) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ต่างวงศ์กัน แต่อยู่อันดับเดียวกัน โดยที่ปลาตาเหลือกยาวมีรูปร่างที่เปรียวยาวกว่า อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเล บริเวณมหาสมุทรอินเดีย สามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ พฤติกรรมและนิเวศวิทยาคล้ายคลึงกับปลาตาเหลือก มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร นิยมตกเป็นเกมกีฬ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาตาเหลือกยาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตูหนา

ปลาตูหนา หรือ ปลาไหลหูดำ (Shortfin eel, Level-finned eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตูหนา (Anguilidae) มีรูปร่างอ้วนป้อม ลักษณะโดยทั่วไปเหมือนปลาสะแงะ (A. bengalensis) ซึ่งอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกัน แต่ปลาตูหนามีรูปร่างที่เล็กกว่า ครีบอกของปลาตูหนามีสีคล้ำ ในปลาโตเต็มวัยครีบหลังและครีบก้นมีสีคล้ำด้วยเช่นกัน จึงเป็นที่มาของชื่อว่า "ปลาไหลหูดำ" ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนไม่มีลวดลาย ใต้ท้องสีขาว ขนาดโตเต็มที่ได้ 1.5 เมตร ในประเทศไทยพบได้ตั้งแต่ภาคใต้ฝั่งตะวันตกแถบริมชายฝั่งอันดามัน เรื่อยไปจนถึงประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย และในภาคตะวันตกในชายแดนที่ติดกับประเทศพม่า เช่น จังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน เป็นต้น โดยชาวกะเหรี่ยงเรียกปลาชนิดนี้ว่า "หย่าที" ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกพบได้ตั้งแต่พม่า บังกลาเทศ จนถึงอินเดีย โดยปลาที่พบในประเทศแถบนี้จะเป็นสายพันธุ์ย่อยที่เรียกว่า A. b. pacifica ส่วนปลาที่พบในแถบเอเชียตะวันออกมีชื่อเรียกว่า A. b. bicolor ปลาตูหนามีพฤติกรรมจะกลับไปผสมพันธุ์และวางไข่แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำ ลูกปลาแรกเกิดมีลำตัวใสเหมือนวุ้นเส้น มีสีแดงเรื่อ จากนั้นเมื่อโตขึ้นจะค่อยอพยพว่ายทวนน้ำมาสู่แหล่งน้ำจืด ซึ่งบางครั้งอาจพบได้ไกลถึงลำธารน้ำตกบนภูเขา ปลาชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากโดยเฉพาะชาวไทยเชื้อสายจีนในแถบจังหวัดระนองหรือตรัง ถือเป็นเมนูราคาแพง สามารถนำไปปรุงได้หลากหลาย เช่น ต้มยำ ย่าง หรือทำน้ำแดง ในต่างประเทศที่นิยมบริโภคได้แก่จีนและญี่ปุ่น โดยหน่วยงานประมงของประเทศเหล่านี้ได้มีการส่งเสริมให้เป็นปลาเศรษฐกิจ มีการทำฟาร์มเพาะขยายพันธุ์ แต่ว่าเนื้อมีกลิ่นคาวมาก จึงนิยมปลาตูหนาญี่ปุ่น (A. japonica) มากกว.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาตูหนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตีน

ปลาตีน คือปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อย Oxudercinae ในวงศ์ปลาบู่ กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปตามชายทะเลโคลนและป่าชายเลนในเขตร้อนตั้งแต่เขตมหาสมุทรแอตแลนติก ชายฝั่งแอฟริกาจนถึงเอเชียแปซิฟิก มีความยาวลำตัวแตกต่างออกไปตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร ในชนิด Zappa confluentus จนถึงเกือบหนึ่งฟุต ในชนิด Periophthalmodon schlosseri.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาตีน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหัวบาตร

ปลาฉลามหัวบาตร (Bull shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉลามหัวบาตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครีบดำ

ปลาฉลามครีบดำ หรือ ปลาฉลามหูดำ (Blacktip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเพรียวยาว ปากกว้าง มีแถบดำที่ครีบหลัง ครีบไขมัน ครีบก้น และครีบหางตอนล่าง เป็นที่มาของชื่อ กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร มีนิสัยไม่ดุร้ายเมื่อเทียบกับปลาฉลามชนิดอื่น ๆ นิยมอยู่รวมเป็นฝูงบริเวณใกล้ชายฝั่ง และอาจเข้ามาในบริเวณน้ำกร่อย หรือปากแม่น้ำ โดยสามารถเข้ามาหากินใกล้ชายฝั่ง แม้กระทั่งในพื้นที่ ๆ มีน้ำสูงเพียง 1 ฟุต เป็นปลาหากินในเวลากลางคืน ในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวพักผ่อนตามแนวปะการัง โดยจะหากินอยู่ในระดับน้ำความลึกไม่เกิน 100 เมตร ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ตัวเมียตั้งท้องนาน 18 เดือน ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2-4 ตัว เมื่อโตขึ้นมาแล้วสีดำตรงที่ครีบหลังจะหายไป คงเหลือไว้แต่ตรงครีบอกและครีบส่วนอื่น ปลาฉลามครีบดำ นับเป็นปลาฉลามชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในทะเล และเป็นต้นแบบของปลาฉลามในสกุลปลาฉลามปะการัง มีนิสัยเชื่องคน สามารถว่ายเข้ามาขออาหารได้จากมือ เป็นที่ชื่นชอบของบรรดาผู้ที่นิยมการดำน้ำ พบทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นิยมใช้บริโภคโดยเฉพาะปรุงเป็นหูฉลาม เมนูอาหารจีนราคาแพง และนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้ว.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉลามครีบดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนาก

ปลาฉนาก (Sawfishes) เป็นปลาจำพวกหนึ่งของปลาในชั้นปลากระดูกอ่อน ใช้ชื่ออันดับว่า Pristiformes และวงศ์ Pristidae (โดยมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า πρίστης, prístēs หมายถึง "เลื่อย" หรือ "ใบเลื่อย").

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉนาก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากจะงอยปากกว้าง

ปลาฉนากจะงอยปากกว้าง หรือ ปลาฉนากน้ำจืด (Largetooth sawfish, Freshwater sawfish) เป็นปลากระดูกอ่อน ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) เป็นปลากระดูกอ่อน รูปร่างคล้ายปลาฉลาม มีลักษณะเด่นคือ จะงอยปากที่แหลมยาว มีกระดูกแข็งรอบ ๆ จะงอยแลดูคล้ายฟันเลื่อย มีความยาวได้ถึง 2 นิ้ว มีความคม มีจำนวนประมาณ 14–24 แถว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ราว 6 เมตร หนักได้ถึง 600 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่แอฟริกาตะวันออก, อินเดียทางตอนเหนือ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อิเรียนจายา, ปาปัวนิวกินี ไปจนถึงออสเตรเลียทางตอนเหนือบริเวณรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ปลาฉนากจะงอยปากกว้าง เป็นปลาทะเลที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ สามารถพบในเขตน้ำจืดได้ เช่นที่ ปากแม่น้ำคงคา, ปากแม่น้ำโขง, แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำฟริซต์รอย สำหรับในประเทศไทยเคยมีผู้พบไกลถึงบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ในปี ค.ศ. 1957 การเข้ามาในน้ำจืดของปลาฉนากจะงอยปากกว้าง นักวิทยาศาสตร์ที่ทำการวิจัยด้วยการติดแทคที่ตัวปลาเชื่อว่า ปลาเข้ามาเพื่อขยายพันธุ์ เพราะในน้ำจืดมีสัตว์นักล่าและอันตรายน้อยกว่าในทะเล จนกระทั่งปลามีความยาวได้ 8–9 ฟุต หรืออายุราว 5 ปี จึงจะค่อยว่ายออกทะเลไป ในออสเตรเลียทางตอนเหนือ ปลาฉนากจะงอยปากกว้างจะว่ายน้ำเข้ามาในแม่น้ำที่เป็นน้ำจืดไกลถึง 200 ไมล์ ในถิ่นที่เป็นแดนทุรกันดาร และถึงแม้จะเป็นช่วงฤดูแล้งที่ระดับน้ำลดลงอย่างมากก็ตาม พฤติกรรมของปลาชนิดนี้ คือ มักหากินบริเวณหน้าดินที่มีดินเลนค่อนข้างขุ่นในเวลากลางคืน โดยอาหารได้แก่สัตว์น้ำมีกระดอง เช่น กุ้ง, ปู และหอย เป็นต้น โดยใช้จะงอยปากที่เหมือนใบเลื่อยนั้นไล่ตามและตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ และถึงแม้จะมีจะงอยปากยาวเหมือนเลื่อย แต่ปลาฉนากจะงอยปากกว้างก็ยังมีศัตรูตามธรรมชาติ โดยเฉพาะในออสเตรเลียทางตอนเหนือ ปลาฉนากที่นั่นพบว่ามีบาดแผลจากการถูกโจมตีโดยสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่ เช่น ปลาฉลามหัวบาตร หรือจระเข้น้ำจืดออสเตรเลีย โดยปลาที่พบในแม่น้ำฟริซต์รอยจำนวนร้อยละ 60 ที่มีบาดแผลเช่นนี้หน้า 10 ต่างประเทศ, ภาพสะท้อน 'ปลาฉนาก' อยู่ยากเจอจระเข้.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉนากจะงอยปากกว้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ

ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (Knifetooth sawfish, Pointed sawfish) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Anoxypristis โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด" มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (Pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่ ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้ รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉนากจะงอยปากแคบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉนากเขียว

ปลาฉนากเขียว (Green sawfish, Longcomb sawfish, Narrowsnout sawfish) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pristis zijsron ในวงศ์ปลาฉนาก (Pristidae) มีรูปร่างคล้ายปลาฉนากจะงอยปากกว้าง หรือ ปลาฉนากน้ำจืด (P. microdon) ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีจะงอยปากที่ยาวเป็น 1/3 ของความยาวลำตัวและหาง มีซี่ฟันทั้งหมด 24-34 คู่ ครีบหลังอันแรกคู่หลังครีบอก ครีบหางท่อนบนมีขนาดใหญ่ ขนาดโตเต็มที่ได้ 7.3 เมตร พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย, แอฟริกาตะวันออก, มหาสมุทรแปซิฟิคตอนใต้,ทะเลจีนใต้, ปาปัวนิวกินี และตอนเหนือและรัฐนิวเซาท์เวลส์ของประเทศออสเตรเลีย ในบริเวณน้ำขุ่นหรือดินเลน เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อย หรือน้ำจืดสนิทได้ ลูกปลาวัยอ่อนซี่ฟันจะไม่แข็งเหมือนปลาวัยโต และจะแข็งขึ้นเรื่อย ๆ ตามวั.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาฉนากเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปักเป้าสมพงษ์

ปลาปักเป้าสมพงษ์ (Redeye puffer, Sompong's puffer) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีพื้นลำตัวสีเทาอมเขียว ใต้ท้องสีขาว มีลวดลายสีเทาเข้มขนาดใหญ่พาดบนแผ่นหลังและข้างลำตัว สามารถปรับเปลี่ยนสีลำตัวให้เข้มหรือจางได้ตามสภาพแวดล้อม ตามีสีแดงสามารถกรอกกลิ้งไปมาได้ ตัวผู้และตัวเมียความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดยปลาตัวผู้จะมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า ตัวสีแดง ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็ก มีลำตัวสีเขียวมีลาดพาดตามลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 นิ้ว พบกระจายอยู่ทั่วไปตามแม่น้ำลำคลองทั่วประเทศ โดยมักหลบอยู่ใต้กอผักตบชวา หรือในบริเวณน้ำกร่อยตามชายฝั่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบได้แม้แต่ในพื้นที่ฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าว มักกัดกันเองเสมอ ๆ ปัจจุบัน สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในตู้เลี้ยง โดยจะวางไข่ในน้ำกร่อย ปลาชนิดนี้ถูกค้นพบโดยคนไทย จึงตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ค้นพบ คือ นายสมพงษ์ เล็กอารีย์ ซึ่งเป็นนักธุรกิจส่งออกปลาสวยงาม นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และมีชื่อเรียกอื่น เช่น "ปลาปักเป้าตาแดง" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาปักเป้าสมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์ทะเล

ปลานวลจันทร์ทะเล หรือ ปลานวลจันทร์ (milkfish; bangus) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่สามารถอาศัยในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chanos chanos อยู่ในวงศ์ Chanidae ซึ่งถือเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุลนี้ ปลานวลจันทร์ทะเลมีรูปร่างเพรียวยาว เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว ครีบหางเว้าลึก ครีบท้องและครีบหลังเล็ก เป็นปลาที่มีความปราดเปรียวว่องไว พบได้ตามชายฝั่งทะเลแถบอบอุ่นทั่วภูมิภาคของโลก มักอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้แก่ ปลาอื่น ๆ ที่มีขนาดเล็กกว่า และสัตว์น้ำชนิดอื่น ๆ รวมถึงสาหร่ายทะเลด้วย มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ถึง 1.5 เมตร ในประเทศไทยพบมากที่แถบจังหวัดเพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร และบางส่วนในจังหวัดตราด โดยมีการสำรวจพบครั้งแรกที่บ้านคลองวาฬ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์หน้า 24 เกษตร, ปลานวลจันทร์ทะเล ตลาดยังสดใส, "เกษตรนวัตกรรม".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลานวลจันทร์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมว

ปลาแมว (Dusky-hairfin anchovy) เป็นชื่อปลาชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาแมว (Engraulidae) มีลำตัวแบนข้าง ท้องเป็นสันคม เกล็ดเล็กหลุดร่วงง่าย ครีบอกมีปลายเรียวเป็นเส้น ตัวผู้มีสีคล้ำ ครีบหางสีเหลือง และขอบสีคล้ำ มีขนาดประมาณ 15 เซนติเมตร ใหญ่สุด 25 เซนติเมตร สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ โดยมีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูงเล็ก ว่ายในระดับกลางน้ำ อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา พบในปากแม่น้ำตอนล่างถึงชายฝั่ง ในภาคอีสานพบที่แม่น้ำโขง เป็นต้น ไม่พบบ่อยมากนัก และมักตายง่ายมากเมื่อพ้นจากน้ำ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาแมว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันหัวเสียม

ปลาโรนันหัวเสียม (Shovelnose guitarfish) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาโรนัน (Rhinobatidae) จัดเป็นปลาโรนันขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ราว 1.5 เมตร มีรูปร่างเหมือนปลาโรนันจุดขาว (Rhynchobatus djiddensis) แต่มีขนาดเล็กกว่าและไม่มีจุดสีขาว เป็นปลาโรนันที่พบกระจายอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่บริเวณอ่าวเม็กซิโก, อ่าวแคลิฟอร์เนีย, มหาสมุทรแปซิฟิคทางตะวันออก ตลอดจนน่านน้ำในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยจัดเป็น ปลาโรนัน 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้บ่อย (อีก 2 ชนิด คือ ปลาโรนันจุดขาว และปลาโรนิน (Rhina ancylostoma)) แต่เป็นชนิดที่พบได้น้อยกว่าปลาโรนันจุดขาวมาก.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาโรนันหัวเสียม · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันหัวเสียมยักษ์

ปลาโรนันหัวเสียมยักษ์ (Giant shovelnose ray) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Glaucostegus typus อยู่ในวงศ์ปลาโรนัน (Rhinobatidae) มีรูปร่างคล้ายปลาโรนันหัวเสียม (Rhinobatos productus) ที่เคยอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่ว่ามีรูปร่างที่ใหญ่กว่ามาก โดยพบใหญ่เต็มที่ได้ถึง 270 เซนติเมตร ในการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง โดยพบทั้งในศรีลังกา, ออสเตรเลีย, อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, เวียดนามและไทย โดยเป็นปลาที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำกร่อยหรือน้ำจืดได้ สำหรับสถานะในประเทศไทยพบได้น้อยมาก มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาโรนันหัวเสียมยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาโรนันจุดขาว

ปลาโรนันจุดขาว (Spotted guitarfish, Giant guitarfish) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกปลาโรนันยักษ์ (Rhynchobatidae) มีส่วนหัวแบนราบคล้ายปลากระเบน และเป็นทรงแหลมคล้ายหัวหอก ครีบหูขนาดใหญ่ ปาก และช่องเปิดเหงือกอยู่ด้านล่าง ครึ่งหลังคล้ายปลาฉลาม เพราะลำตัวส่วนนี้ค่อนข้างกลมมีครีบหลังสองอัน และมีแพนหางเหมือนปลาฉลาม พื้นลำตัวสีเขียว มีจุดสีขาวกระจายอยู่ทั่วลำตัว ปลาโรนันจุดขาว มีความยาวประมาณ 60–180 เซนติเมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร น้ำหนัก 227 กิโลกรัม จัดว่าเป็นปลาโรนันชนิดที่ใหญ่ที่สุด พบได้ตามพื้นทะเลบริเวณชายฝั่ง ของมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิค, ตอนใต้ของทวีปแอฟริกา, ทะเลแดง ในประเทศไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน มักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำตื้นมากกว่าน้ำลึก รวมทั้งบางครั้งอาจเข้าไปในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดบริเวณปากแม่น้ำได้ด้วย หากินอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดิน เช่น ปลาขนาดเล็ก และสัตว์น้ำมีเปลือกชนิดต่าง ๆ ปลาโรนันจุดขาว ไม่จัดว่าเป็นปลาเศรษฐกิจโดยตรง แต่ในบางครั้งก็ติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมง จึงเจอมีขายเป็นปลาบริโภคในตลาดปลาริมทะเลบางตลาดเป็นบางครั้งบางคราว สถานภาพปัจจุบัน เป็นสัตว์ที่มีแนวโน้มใกล้สูญพัน.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาโรนันจุดขาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลหลาด

ปลาไหลหลาด (Bengal swamp eel, One-gilled eel, Pygmy eel) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู มีลักษณะคล้ายปลาไหลนา (Monopterus albus) มีลักษณะที่แตกต่างคือ บริเวณส่วนหัวเรียวยาวกว่า ลำตัวเพรียวกว่า ปลายหางแบนและมีก้านครีบเห็นชัดเจน สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลแดง หรือ สีเหลือง มีกระดูกเหงือก 4 คู่ มีขนาดทั่วไปประมาณ 30 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร พบอาศัยอยู่บริเวณใต้โคลมตมบริเวณปากแม่น้ำ ในประเทศไทยพบเฉพาะปากแม่น้ำในภาคกลาง เป็นปลาที่พบได้น้อย มีชื่อเรียกอย่างอื่น อีก เช่น "ปลาหลาด" หรือ "ปลาไหลงู" เป็นต้น.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาไหลหลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลนา

ปลาไหลนา หรือ ปลาไหลบึง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monopterus albus อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายงู ตามีขนาดเล็ก คอป่องออก มีอวัยวะช่วยหายใจอยู่ในคอหอยเป็นเส้นเลือดฝอย ซึ่งช่วยให้หายใจได้โดยไม่ต้องผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนปลาทั่วไป และยังสามารถขุดรูในดินเพื่อจำศีลในช่วงฤดูร้อนได้ด้วย ไม่มีครีบใด ๆ ยกเว้นบริเวณปลายหางแบนยาวคล้ายใบพาย เมื่อยังเล็กมีครีบอก แต่โตขึ้นจะหายไป กระดูกเหงือกมีทั้งหมด 3 คู่ ลำตัวลื่นมาก สีลำตัวปกติเป็นสีเหลืองทอง ใต้ท้องสีขาว ในบางตัวอาจมีจุดกระสีน้ำตาล แต่ก็มีพบมากที่สีจะกลายไป เป็นสีเผือก สีทองทั้งตัว หรือสีด่าง มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1.01 เมตร ปลาไหลนา จัดเป็นปลาในวงศ์ปลาไหลนาที่พบมากที่สุดในประเทศไทยและเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดด้วย โดยพบได้ทุกภาค ทุกแหล่งน้ำ พบชุกชุมทั่วไป สำหรับในต่างประเทศพบกว้างขวางมาก ตั้งแต่อเมริกากลาง, ทวีปอเมริกาใต้, ทวีปแอฟริกา, ประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยกินได้แม้กระทั่งซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย มีพฤติกรรมชอบรวมตัวกันหาอาหาร เมื่อยังเล็กจะเป็นตัวเมีย และจะกลายเป็นตัวผู้เมื่อโตขึ้น ผสมพันธุ์ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนกันยายน และมีความสมบูรณ์สูงสุดในการวางไข่ คือ เดือนสิงหาคม โดยไข่จะมีเพียง 1 ฝัก เป็นลักษณะไข่จมไม่สัมผัสกับวัสสุใด ๆ ใต้น้ำ เมื่อสัมผัส จะมีความยืดหยุ่นมาก มีลักษณะสีเหลืองสดใส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร ไข่ที่ได้รับการผสมมีลักษณะกลม สีเหลืองทอง ส่วนไข่ที่ไม่ได้รับการผสมจะมีสีขาวใส ไข่จะใช้เวลาในการฟักประมาณ 3 วัน ลูกปลาเมื่อฟักออกใหม่ ๆ มีความยาว 2.5 เซนติเมตร มีถุงไข่แดง 2 ใน 3 ส่วน และมีครีบอกเมื่ออายุได้ 5 - 6 วัน ถุงไข่แดงยุบพร้อมครีบอกหายไป และเริ่มกินอาหารได้ เป็นปลาที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี เพราะนิยมบริโภคกันมาแต่โบราณ อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า หากปล่อยปลาไหลนาแล้วจะช่วยให้ทุกข์โศกไหลไปตามชื่อ ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์ โดยนิยมเลี้ยงในบ่อปูน ในปลาที่มีสีกลายออกไป นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาไหลนา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาไหลแดง

ปลาไหลแดง หรือ ปลาหล่อย ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macrotrema caligans อยู่ในวงศ์ปลาไหลนา (Synbranchidae) มีรูปร่างคล้ายปลาไหลหลาด (Ophisternon bengalense) ซึ่งเป็นปลาในวงศ์เดียวกัน แต่ปลาไหลแดงจะมีปลายหางที่แผ่แบนเป็นครีบเห็นได้ชัดเจนกว่า มีตาอยู่เยื้องมาทางด้านหน้า กระดูกเหงือกมี 4 คู่ เป็นปลาที่มีขนาดเล็กที่สุดในวงศ์ปลาไหลนาที่พบได้ในประเทศไทยทั้งหมด 3 ชนิด และจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Macrotrema มีขนาดยาวที่สุดประมาณ 17–20 เซนติเมตร สีลำตัวเป็นสีแดง แต่สามารถปรับสีให้เปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมได้ มักอาศัยอยู่ใต้โคลนตมหรือแหล่งน้ำที่มีใบไม้ทับถมกันเป็นจำนวนมาก พบในปากแม่น้ำหรือลำคลองในบริเวณภาคกลาง, ภาคใต้พบได้ที่ทะเลสาบลำปำ จังหวัดพัทลุง ในต่างประเทศพบที่มาเลเซีย จัดเป็นปลาที่พบได้น้อย และหายากที่สุดในวงศ์ปลาไหลนาที่พบในประเทศไท.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาไหลแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือพ่นน้ำ

ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fish, Blowpipe fish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยม ปากกว้างมีขนาดใหญ่เฉียงลงด้านล่างและจะงอยปากยืดหดได้ มีตากลมโต เกล็ดสาก ครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นครีบแข็ง ตอนหลังเป็นครีบอ่อนมีลักษณะใสโปร่งแสง พื้นลำตัวสีขาวอมเหลือง มีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่ ประมาณ 3-4 จุด ซึ่งนับว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้เป็นปลาเสือพ่นน้ำชนิดที่มีจุดวงกลมนี้มากที่สุด และเป็นปลาเสือพ่นน้ำที่พบได้มากและแพร่หลายที่สุด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30-40 เซนติเมตร นิยมว่ายหากินอยู่ตามผิวน้ำเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่เกิน 20 ตัว พบได้ตามแม่น้ำลำคลองทั่วไปจนถึงเขตน้ำกร่อยเช่น ป่าชายเลน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทยด้วย สามารถฉีดพ่นน้ำจากปากใส่แมลงที่อยู่เหนือน้ำได้เหมือนปืนฉีดน้ำ นอกจากนี้แล้วยังกินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาขนาดเล็ก, กุ้งฝอย เป็นต้น มีความสำคัญต่อมนุษย์ในฐานะของการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาเสือพ่นน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่

ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ (Smallscale archerfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีลักษณะลำตัวแบนลึกข้างค่อนข้างมาก ตากลมโต ขอบหลังไล่ตั้งแต่ช่วงครีบไปจนถึงหางมีลักษณะเกือบเป็นเส้นตรง ปากมีขนาดใหญ่และมีลักษณะเฉียงลงลึก ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางด้านท้ายลำตัว พื้นลำตัวทางตอนบนสีเหลือง ช่วงท้องสีขาว ข้างลำตัวจะมีจุดสีดำแต้มอยู่ประมาณ 4-5 แต้ม เกล็ดเป็นแบบสาก โดยปลาใช้กลุ่มนี้มีความสามารถพิเศษ คือ สามารถพ่นน้ำขึ้นไปในอากาศได้สูงถึง 1 เมตร เพื่อล่าเหยื่อ อันได้แก่ แมลงต่าง ๆ ที่อยู่เหนือผิวน้ำ หรือกระโดดตัวขึ้นงับเหยื่อในบางที ปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่มีขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 15 เซนติเมตร อาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทุกประเทศ ไปจนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยู่เป็นฝูง ๆ ตามแม่น้ำสายใหญ่ ๆ หรือ ปากแม่น้ำ ในประเทศไทยพบตั้งแต่ภาคกลางและภาคอีสาน ไม่พบในภาคใต้ วางไข่และเลี้ยงดูตัวอ่อนในน้ำกร่อย โดยปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่เป็นปลาที่พบไม่บ่อยนักในธรรมชาติ ไม่นิยมบริโภค ได้รับความนิยมในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมากกว่า ซึ่งปลาที่นิยมจับมาเป็นปลาสวยงามนั้นมักจับมาจากบึงบอระเพ็ดหรือสถานที่ใกล้เคียงในจังหวัดนครสวรรค์ จึงมีชื่อเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาเสือพ่นน้ำนครสวรรค์" หรือ "ปลาเสือพ่นน้ำเหลือง" ทั้งนี้ปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้จะมีสีเหลืองตามลำตัวสดและเห็นได้ชัดเจนกว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดอื่น มีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "หม่อง".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาเสือพ่นน้ำเกล็ดถี่ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเอี่ยนหู

ปลาเอี่ยนหู หรือ ปลาไหลหูขาว (Marbled eel, Giant mottled eel) เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตูหนา (Anguilla) มีลำตัวยาวเหมือนปลาตูหนา (A. bicolor) ปากกว้าง ครีบอกสีจางรูปกลมรีอันเป็นที่มาของชื่อ "ปลาไหลหูขาว" ครีบหลังค่อนมาทางด้านหน้าลำตัว แต่ครีบก้นอยู่ไปทางด้านหลังลำตัว ลำตัวด้านบนมีลวดลายสีเทาคล้ำอมเหลืองและมีสีประทั้งเข้มและจางปะปนกันไปคล้ายปลาสะแงะ (A. bengalensis) ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอมเหลือง มีขนาดโตเต็มได้ราว 1.50 เมตร พบกระจายอยู่อย่างกว้างขวางตั้งแต่ฝั่งแอฟริกาตะวันออก ถึงเฟรนช์โปลินีเซีย พบในภาคใต้ของประเทศญี่ปุ่นและไต้หวัน ในประเทศไทยพบเฉพาะในแม่น้ำโขงแถบชายแดนไทย-ลาว และเรื่อยไปตามแม่น้ำโขงจนถึงดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงในเวียดนาม จัดเป็นปลาที่พบได้น้อยมาก เมื่อถูกชาวบ้านจับได้จะพบปรากฏเป็นข่าวฮือฮา บ้างจะถือว่าเป็นพญานาคบ้าง หรือปลาเจ้าบ้าง ชาวพื้นเมืองของภูมิภาคเฟรนช์โปลินีเซียและหมู่เกาะโซโลมอนมีความผูกพันกับปลาเอี่ยนหูมาก โดยจะให้อาหารบนบกให้ปลาเอี่ยนหูคลานขึ้นมากินเอง โดยเฉพาะเด็ก ๆ จะเล่นน้ำในลำธารพร้อมกับลูบคลำตัวปลาโดยที่ปลาเอี่ยนหูไม่ทำอันตรายแต่อย่างใด โดยถือว่าปลาเอี่ยนหูช่วยกินของเน่าเสีย ทำให้แหล่งน้ำดื่มสะอาด และที่เกาหลีใต้ถูกกำหนดให้เป็นอนุสรณ์แห่งธรรมชาต.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและปลาเอี่ยนหู · ดูเพิ่มเติม »

นาเกลือ

นาเกลือ คือพื้นที่สำหรับผลิตเกลือ คล้ายนาข้าวแต่ไม่ได้ปลูกพืช มีมากในบริเวณพื้นที่ติดทะเล เช่น ตำบลบางหญ้าแพรก นาโคก บางโทรัด บ้านบ่อ บางกระเจ้า ชายทะเลของสมุทรสาคร เป็นดินเลนมีคุณสมบัติสามารถขังน้ำไม่ให้ซึมลงดินได้ นาเกลือที่ได้มาตรฐานต้องมีเนื้อที่ไม่ควรน้อยกว่า 25 ไร่ เพราะต้องใช้พื้นที่ในการตากน้ำจำนวนมาก.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและนาเกลือ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำจืด

น้ำจืดในลำธาร น้ำจืด หมายถึงน้ำในแหล่งน้ำทั่วไปอาทิ บ่อน้ำ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำธาร เป็นต้น ที่ซึ่งมีเกลือและของแข็งอื่นละลายอยู่ในระดับต่ำ มีความหนาแน่นน้อย นั่นคือน้ำจืดไม่ได้เป็นน้ำเค็มและน้ำกร่อย น้ำจืดสามารถเป็นผลผลิตของน้ำทะเลที่เอาเกลือออกแล้วได้ น้ำจืดเป็นทรัพยากรหมุนเวียนที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนบกเป็นส่วนใหญ่ และเป็นที่จำเป็นต่อมนุษย์สำหรับน้ำดื่ม และใช้ในเกษตรกรรม เป็นต้น องค์การสหประชาชาติได้คาดการณ์ไว้ว่า ประชากรโลกประมาณร้อยละ 18 ขาดแคลนน้ำดื่มที่ปลอดภั.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

น้ำทะเล

้อมูลจากแผนที่มหาสมุทรโลก แสดงค่าความเค็มในแต่ละพื้นที่ น้ำทะเล เป็นของเหลวที่ได้จากทะเลหรือมหาสมุทร โดยทั่วไปมหาสมุทรทั่วโลกมีความเค็ม (salinity) ประมาณ 3.5% หรือ 35 ส่วนต่อพันส่วน นั่นหมายความว่าในน้ำทะเลทุกๆ 1 กิโลกรัม จะพบเกลืออยู่ 35 กรัม (ส่วนมากจะพบในรูปของไอออนโซเดียมคลอไรด์ (Na+, Cl−) ความหนาแน่นเฉลี่ยที่ผิวน้ำของมหาสมุทรอยู่ที่ 1.025 กรัมต่อมิลลิลิตร น้ำทะเลมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำจืด (น้ำจืดมีความหนาแน่นสูงสุดที่ 1.000 กรัมต่อมิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส) เพราะน้ำทะเลมีความหนักของเกลือและ Electrostriction (ไฟฟ้าที่ไม่นำกระแส แต่อยู่ในเรื่องของสนามไฟฟ้า) จุดเยือกแข็งของน้ำทะเลอยู่ที่อุณหภูมิ −2 องศาเซลเซียสหรือ 28.4 องศาฟาเรนไฮต์ นัลว่ามากกว่าน้ำจืด ในน้ำทะเลที่มีความเข้มข้น 35 ส่วนต่อพันส่วน (35 ppt).

ใหม่!!: น้ำกร่อยและน้ำทะเล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ใหม่!!: น้ำกร่อยและแม่น้ำท่าจีน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแม่กลอง

แม่น้ำแม่กลอง ขณะไหลผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม แม่น้ำแม่กลอง เป็นแม่น้ำสำคัญสายหนึ่งในภาคตะวันตก เกิดจากแม่น้ำแควใหญ่และแควน้อย ไหลมาบรรจบกันที่ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และไหลลงสู่ปากอ่าวไทยที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวประมาณ 132 กิโลเมตร พื้นที่รับน้ำที่ปากแม่น้ำแม่กลอง 30,106 ตารางกิโลเมตร โดยช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "แม่น้ำราชบุรี" มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 30,837 ตร.กม.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและแม่น้ำแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: น้ำกร่อยและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »