โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธาตุคาบ 6

ดัชนี ธาตุคาบ 6

ธาตุคาบ 6 (period 6 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 6 ของตารางธาตุ ธาตุในคาบจะรวมกลุ่มอนุกรมเคมีแลนทาไนด์ด้วย มีรายละเอียดดังนี้: ธาตุเคมีในคาบที่ 6 หมู่ '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' #ชื่อธาตุ 55Cs 56Ba 57-71 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn แลนทาไนด์ 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71Lu e--conf. โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

59 ความสัมพันธ์: บิสมัทพอโลเนียมยูโรเพียมรีเนียมลูทีเชียมหมู่ (ตารางธาตุ)หมู่คาร์บอนหมู่โบรอนออสเมียมอิริเดียมอิตเทอร์เบียมอโลหะธาตุกึ่งโลหะธาตุหมู่ 10ธาตุหมู่ 11ธาตุหมู่ 12ธาตุหมู่ 3ธาตุหมู่ 4ธาตุหมู่ 5ธาตุหมู่ 6ธาตุหมู่ 7ธาตุหมู่ 8ธาตุหมู่ 9ทองคำทังสเตนทูเลียมดิสโพรเซียมตะกั่วตารางธาตุซาแมเรียมซีเรียมซีเซียมปรอทนิกโทเจนนีโอดิเมียมแชลโคเจนแบเรียมแพลทินัมแก๊สมีตระกูลแกโดลิเนียมแลนทานัมแลนทาไนด์แอกทิไนด์แอสทาทีนแฮฟเนียมแฮโลเจนแทลเลียมแทนทาลัมโพรมีเทียมโลหะหลังทรานซิชัน...โลหะทรานซิชันโลหะแอลคาไลโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทโฮลเมียมโครงแบบอิเล็กตรอนเพรซีโอดิเมียมเรดอนเออร์เบียมเทอร์เบียม ขยายดัชนี (9 มากกว่า) »

บิสมัท

มัท (Bismuth) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 83 และสัญลักษณ์คือ Bi บิสมัทเป็นธาตุโลหะหนัก เป็นผลึกสีขาวอมชมพู มีสมบัติทางเคมีคล้ายสารหนูและพลวง ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เภสัชกรรม และเครื่องสำอาง เป็นส่วนผสมของฟิวส์ มีผู้ค้นพบ เมื่อปี..

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และบิสมัท · ดูเพิ่มเติม »

พอโลเนียม

พอโลเนียม (Polonium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 84 และสัญลักษณ์คือ Po พอโลเนียมเป็นธาตุกึ่งอโลหะเรดิโอแอคตีฟ (radioactive metalloid) มีสมบัติทางเคมีคล้ายเทลลูเรียมและบิสมัท พบว่ามีอยู่ในแร่ยูเรเนียม กำลังศึกษาการใช้งานเกี่ยวกับความร้อนในยานอวกาศ ค้นพบโดยมารี กูรี ในปี 1898 หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:ธาตุกึ่งโลหะ หมวดหมู่:แชลโคเจน หมวดหมู่:โลหะมีสกุล.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และพอโลเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรเพียม

ูโรเพียม(อังกฤษ:Europium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 63 และสัญลักษณ์คือ Eu ยูโรเพียมเป็นธาตุที่ตั้งชื่อตามทวีปยุโรปมีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก มันอ๊อกซิไดซ์อย่างรวดเร็วในอากาศ มันทำปฏิกิริยากับน้ำเหมือนแคลเซียม ยูโรเพียมติดไฟได้เองในอากาศที่อุณหภูมิ 150 °C ถึง 180 °C ยูโรเพียมมีความแข็งเท่าตะกั่วและตีเป็นแผ่นได้.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และยูโรเพียม · ดูเพิ่มเติม »

รีเนียม

รีเนียม (Rhenium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 75 และสัญลักษณ์คือ Re รีเนียมเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีขาวเงิน รีเนียมมีสมบัติทางเคมีคล้ายแมงกานีส ใช้ประโยชน์ในการผลิตโลหะผสมรีเนียมเป็นผลพลอยได้จากการทำให้โมลิบดีนัมบริสุทธิ์และการผลิตโลหะผสมระหว่างรีเนียมและโมลิบดีนัม หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ตารางธาตุ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:โลหะมีสกุล หมวดหมู่:โลหะมีค่า.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และรีเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ลูทีเชียม

ลูทีเชียม (Lutetium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 71 และสัญลักษณ์คือ Lu ลูทีเชียมเป็นธาตุโลหะที่อยู่ในกลุ่มหายากมักพบอยู่กับอิตเทรียม ใช้ประโยชน์ในโลหะผสมและเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี หมวดหมู่:ตารางธาตุ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และลูทีเชียม · ดูเพิ่มเติม »

หมู่ (ตารางธาตุ)

ตารางธาตุ หมู่ตารางธาตุ (periodic table group) คือคอลัมน์ในแนวดิ่งของธาตุเคมีในตารางธาตุ มีทั้งหมด 18 หมู่ในตารางธาตุมาตรฐานในยุคใหม่นี้การจัดหมวดหมู่ของธาตุในตารางธาตุจะพิจารณาจากการโคจรของอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอม ซึ่งคุณสมบัติทางเคมีของธาตุจะขึ้นอยู่กับการให้อิเล็กตรอนชั้นนอกสุดนี้ ธาตุที่อะตอมมีวงโคจรของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดเหมือนกันมักจะมีคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์เหมือนกัน หมู่ตารางธาตุมีรายละเอียดดังนี้ (ในวงเล็บเป็นระบบเก่า: ยุโรป-อเมริกัน).

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และหมู่ (ตารางธาตุ) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่คาร์บอน

ตุหมู่ 14 (group 14 element) หรือ ธาตุหมู่คาร์บอน (carbon group) คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 แนวโน้มการสูญเสียอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านี้จะแปรผันตามขนาดของอะตอมที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งก็หมายถึงจำนวนเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นด้วย ธาตุคาร์บอนตามลำพังตัวมันเองจะแสดงตัวเป็นไอออนปะจุลบ คือ คาร์ไบด์ไออน (carbide (C4-) ions) ส่วนทั้งซิลิกอน และ เจอร์เมเนียมเป็นธาตุกึ่งโลหะจะแสดงตัวเป็นไอออน +4 (+4 ions) ธาตุหมู่ 14 ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และหมู่คาร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่โบรอน

ตุหมู่โบรอน คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุหมู่ 13 ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 3 ธาตุหมู่โบรอน มีทั้ง ธาตุกึ่งโลหะ และ โลหะหลังทรานซิชัน ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และหมู่โบรอน · ดูเพิ่มเติม »

ออสเมียม

ออสเมียม(อังกฤษ:Osmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 76 และสัญลักษณ์คือ Os ออสเมียมเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีน้ำเงินเทาหรือน้ำเงิน-ดำแข็งและเปราะอยู่ในกลุ่มของแพลทินัมออสเมียมเป็นธาตุที่มีความหนาแน่นมากที่สุดใช้ผสมกับแพลทินัมและอิริเดียม ในธรรมชาติพบออสเมียมในรูปโลหะผสมในแร่แพลทินัม ออสเมียมในรูปเต็ตรอกไซด์ใช้ย้อมเนื้อเยื่อและหมึกพิมพ์ลายนิ้วมือ โลหะผสมของออสเมียมใช้ทำหัวปากกาหมึกซึม หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ตารางธาตุ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:โลหะมีสกุล หมวดหมู่:โลหะมีค่า.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และออสเมียม · ดูเพิ่มเติม »

อิริเดียม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และอิริเดียม · ดูเพิ่มเติม »

อิตเทอร์เบียม

อิตเทอร์เบียม (Ytterbium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 70 และสัญลักษณ์คือ Yb อิตเทอร์เบียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่มสามารถตัดได้ด้วยมีดและตีเป็นแผ่นได้ อิตเทอร์เบียมเป็นธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์ (lanthanide) พบมากในแร่โมนาไซต์ (monazite) และแกโดลิไนต์ (gadolinite) และซีโนไทม์ (xenotime) อิตเทอร์เบียม อิตเทอร์เบียม อิตเทอร์เบียม อิตเทอร์เบียม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และอิตเทอร์เบียม · ดูเพิ่มเติม »

อโลหะ

แก๊สมีตระกูลนอกเหนือจากไฮโดรเจน อโลหะอยู่ในบล็อก-p ธาตุฮีเลียมแม้เป็นธาตุบล็อก-s แต่ปกติวางอยู่เหนือนีออน (ในบล็อก-p) เนื่องจากคุณสมบัติแก๊สมีตระกูลของมัน ในวิชาเคมี อโลหะเป็นธาตุเคมีซึ่งส่วนมากขาดคุณสมบัติของโลหะ ทางกายภาพ อโลหะมักกลายเป็นไอ (ระเหย) ง่าย มีความยืดหยุ่นต่ำ และเป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดี ในทางเคมี ธาตุเหลานี้มักมีพลังงานไอออไนเซชันและค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตี (electronegativity) สูง และให้หรือได้อิเล็กตรอนเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุหรือสารประกอบอื่น มีสิบเจ็ดธาตุที่จัดเป็นอโลหะโดยทั่วไป ส่วนมากเป็นแก๊ส (ไฮโดรเจน ฮีเลียม ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน นีออน คลอรีน อาร์กอน คริปทอน ซีนอนและเรดอน) หนึ่งธาตุเป็นของเหลว (โบรมีน) และส่วนน้อยเป็นของแข็ง (คาร์บอน ฟอสฟอรัส กำมะถัน เซเลเนียมและไอโอดีน) ธาตุอโลหะมีโครงสร้างซึ่งมีเลขโคออร์ดิเนชัน (อะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด) น้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อเลื่อนไปทางขวามือของตารางธาตุแบบมาตรฐาน อโลหะหลายอะตอมมีโครงสร้างที่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดสามอะตอม เช่นในกรณีของคาร์บอน (ในสถานะมาตรฐานกราฟีน) หรือสองอะตอม เช่นในกรณีของกำมะถัน อโลหะสองอะตอม เช่น ไฮโดรเจน มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดหนึ่งอะตอม และแก๊สมีตระกูลอะตอมเดียว เช่น ฮีเลียม ไม่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ยิ่งมีจำนวนอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดน้อยลงเท่าใดยิ่งสัมพันธ์กับการลดลงของความเป็นโลหะและเพิ่มความเป็นอโลหะมากขึ้นเท่านั้น แต่ข้อแตกต่างระหว่างอโลหะสามหมวดในแง่ของความเป็นโลหะที่ลดนั้นไม่สัมบูรณ์ มีขอบเขตทับซ้อนกันเมื่อธาตุรอบนอกในแต่ละหมวดแสดง (หรือเริ่มแสดง) คุณสมบัติที่ต่างกันน้อย คล้ายลูกผสมหรือไม่ตรงแบบ แม้ว่าธาตุโลหะมีมากกว่าอโลหะห้าเท่า แต่ธาตุอโลหะสองธาตุ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ประกอบเป็นร้อยละ 99 ของเอกภพที่สังเกตได้ และหนึ่งธาตุ ออกซิเจน ประกอบเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของเปลือกโลก มหาสมุทรและบรรยากาศของโลก สิ่งมีชีวิตยังประกอบด้วยอโลหะแทบทั้งหมด และธาตุอโลหะก่อสารประกอบมากกว่าโลหะมาก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และอโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุกึ่งโลหะ

ตุกึ่งโลหะ (metalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ ส่วนใหญ่เป็นสารกึ่งตัวนำ (semiconductors) โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอน, ซิลิคอน, เจอร์เมเนียม, สารหนู, พลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอน, อะลูมิเนียม, ซีลีเนียม, พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้ ธาตุกึ่งโลหะมีลักษณะเหมือนโลหะ แต่เปราะและนำไฟฟ้าได้ไม่ดี ในทางเคมีนั้นธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติคล้ายกับธาตุอโลหะ และยังสามารถผสมกับโลหะได้เป็นอัลลอยหรือโลหะผสม คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมีส่วนใหญ่เป็นกลางในธรรมชาติ สารประกอบและธาตุกึ่งโลหะใช้ในการผลิตโลหะผสม, สารชีวภาพ, ตัวเร่งปฏิกิริยา, สารทนไฟ, แก้วและใยแก้วนำแสง คุณสมบัติทางไฟฟ้าของซิลิกอนและเจอเมเนียมได้มีการใช้ประโยชน์ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมของสารกึ่งตัวนำในปี 1950 และได้มีการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งในต้นปี 1960 กึ่งโลหะเป็นองค์ประกอบที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง หรือเรียกว่าไฮบริด กึ่งโลหะได้เป็นที่แพร่หลายในปี 1940-1960 กึ่งโลหะบางครั้งถูกเรียกว่ากึ่งโลหะ จากการปฏิบัติที่นิยม กึ่งโลหะเป็นคำที่มีความหมายที่แตกต่างกันในทางฟิสิกส์มากกว่าในทางเคมี ทางฟิสิกส์จะมีความหมายโดยเฉพาะหมายถึงโครงสร้างวงอิเล็กทรอนิกส์ของสาร.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุกึ่งโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 10

ตุหมู่ 10 (group 10 element)หรือ ธาตุหมู่ VIIIB คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 11

ตุหมู่ 11 (Group 11 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันหรือเรียกกันในชื่อเดิมว่าโลหะคอยน์เอจ(coinage metals)ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 12

ตุหมู่ 12 (Group 12 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุเป็นโลหะทรานซิชัน มี 2 ตัวเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้องคือ ปรอท และ โคเปอร์นิเซียม ซึ่งโคเปอร์นิเซียมได้จากการสังเคราะห์ขึ้นเท่านั้นไม่มีในธรรมชาติธาตุในหมู่ 12 นี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 3

'''หมู่''' '''3''' '''คาบ''' '''4''' 21Sc --> 21Sc '''5''' 39Y ธาตุหมู่ 3 (group 3 element) ธาตุเหล่านี้ทุกตัวอยู่ในหมู่ 3 เพราะว่าวงโคจรชั้นนอกของอะตอมของมันมีอิเล็กตรอน 3 ตัว สแคนเดียมอิตเทรียม และธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์ยกเว้นโพรมีเทียมสามารถพบได้ในธรรมชาติ โพรมีเทียม แอกทิเนียม โพรแทกทิเนียม เนปทูเนียม และอะเมริเซียม ถึงลอว์เรนเซียมสังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลองไม่พบในธรรมชาติเลย ธาตุหมู่ 3 คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีของหมู่ในตารางธาตุซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 4

ตุหมู่ 4 (Group 4 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 5

ตุหมู่ 5 (group 5 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 6

ตุหมู่ 6 (group 6 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุที่เป็นโลหะทรานซิชัน ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 7

ตุหมู่ 7 (Group 7 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 8

ตุหมู่ 8 (Group 8 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหมู่ 9

ตุหมู่ 9 (Group 9 element) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 4 เป็นโลหะทรานซิชันซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และธาตุหมู่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทังสเตน

|- | 182W || 26.50% || > 1 E21 y | α || colspan.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และทังสเตน · ดูเพิ่มเติม »

ทูเลียม

ทูเลียม (Thulium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 69 และสัญลักษณ์คือ Tm ทูเลียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายาก มีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่ม สามารถตัดได้ด้วยมีดและตีเป็นแผ่นได้ เป็นธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์ (lanthanide) ทนต่อการกัดกร่อนได้ดีในอากาศแห้ง ไอโซโทปที่เสถียรคือ Tm-169 หมวดหมู่:โลหะ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และทูเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ดิสโพรเซียม

รเซียม (Dysprosium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 66 และสัญลักษณ์คือ Dy ดิสโพรเซียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่มสามารถตัดได้ด้วยมีดมีความเสถียรในอากาศที่อุณหภูมิห้องละลายได้ดีในกรดเจือจางและเข้มข้นโดยจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออกม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และดิสโพรเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ตะกั่ว

ตะกั่ว (Lead) เป็นธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 82 และสัญลักษณ์คือ Pb (Plumbum) ตะกั่วเป็นธาตุโลหะ เนื้ออ่อนนุ่มสามารถยืดได้ เมื่อตัดใหม่ๆ จะมีสีขาวอมน้ำเงิน แต่เมื่อถูกกับอากาศสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ตะกั่วเป็นโลหะหนักที่มีพิษ ใช้ทำวัสดุก่อสร้าง แบตเตอรี่ กระสุนปืน โลหะผสม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ

ตารางธาตุในลักษณะที่เป็นมาตรฐาน ตารางธาตุ (Periodic table) คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมี ซึ่งจัดเรียงบนพื้นฐานของเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส) การจัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัติทางเคมี โดยจะเรียงตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะระบุไว้ในร่วมกับสัญลักษณ์ธาตุเคมี ในกล่องของธาตุนั้น ตารางธาตุมาตรฐานจะมี 18 หมู่และ 7 คาบ และมีคาบพิเศษเพิ่มเติมมาอยู่ด้านล่างของตารางธาตุ ตารางยังสามารถเปลี่ยนเป็นการจัดเรียงตามบล็อก โดย บล็อก-s จะอยู่ซ้ายมือ บล็อก-p จะอยู่ขวามือ บล็อก-d จะอยู่ตรงกลางและบล็อก-f อยู่ที่ด้านล่าง แถวแนวนอนในตารางธาตุจะเรียกว่า คาบ และแถวในแนวตั้งเรียกว่า หมู่ โดยหมู่บางหมู่จะมีชื่อเฉพาะ เช่นแฮโลเจน หรือแก๊สมีตระกูล โดยคำนิยามของตารางธาตุ ตารางธาตุยังมีแนวโน้มของสมบัติของธาตุ เนื่องจากเราสามารถใช้ตารางธาตุบอกความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของธาตุแต่ละตัว และใช้ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ ธาตุที่ยังไม่ถูกค้นพบ หรือธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น และด้วยความพิเศษของตารางธาตุ ทำให้มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการศึกษาวิชาเคมีหรือวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ ดมีตรี เมนเดเลเยฟ รู้จักกันในฐานะผู้ที่ตีพิมพ์ตารางธาตุในลักษณะแบบนี้เป็นคนแรก ใน..

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และตารางธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ซาแมเรียม

ซาแมเรียม (Samarium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 62 และสัญลักษณ์คือ Sm ซาแมเรียมเป็นธาตุหายาก ลักษณะเป็นสีเงินมันวาว ซาแมเรียมมีความเสถียรในอากาศ และติดไฟได้เองที่อุณหภูมิ 150 °C.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และซาแมเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ซีเรียม

ซีเรียม (Cerium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 58 และสัญลักษณ์คือ Ce ซีเรียมเป็นธาตุเป็นธาตุโลหะลักษณะเงินอยู่ในกลุ่มแลนทาไนด์ (lanthanide group) ใช้ในการทำโลหะผสมสีและสนิมเหมือนเหล็กแต่อ่อนนุ่มกว่าสามารถยืดเป็นเส้นและตีเป็นแผ่นได้ มันสามารถละลายในสารละลายด่างและกรดเข็มข้นได้อย่างรวดเร็ว ในสภาพที่เป็นโลหะบริสุทธิ์มันสามารถติดไฟได้เองถ้าตัดเฉือนหรือขีดข่วนด้วยมีด ซีเรียมอ๊อกซิไดซ์ช้าในน้ำเย็นและจะรวดเร็วในน้ำร้อน หมวดหมู่:ซีเรียม ซีเซียม ซีเรียม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และซีเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ซีเซียม

ซีเซียม (อังกฤษ:Caesium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 55 และสัญลักษณ์คือ Cs ซีเซียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลมีลักษณะเป็นเงินทองอ่อนนุ่มเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ธาตุนี้ใช้ในนาฬิกาอะตอม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และซีเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ปรอท

ปรอท (Mercury; Hydragyrum) เป็นธาตุเคมีสัญลักษณ์ Hg และเลขอะตอมเท่ากับ 80 รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ควิกซิลเวอร์ (quicksilver) และมีชื่อเดิมคือ ไฮดราเจอรัม (hydrargyrum) ปรอทเป็นโลหะหนักสีเงินในบล็อก-d เป็นธาตุโลหะชนิดเดียวที่เป็นของเหลวในที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุอื่นอีกธาตุหนึ่งที่เป็นของเหลวภายใต้สภาวะเช่นนี้คือ โบรมีน แม้ว่าโลหะอย่างซีเซียม แกลเลียม และรูบิเดียมจะละลายที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้อง ปรอทพบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่พบในรูปซินนาบาร์ (เมอร์คิวริกซัลไฟด์) เมอร์คิวริกซัลไฟด์บริสุทธิ์เป็นผงสีแดงชาด ได้จากปฏิกิริยาของปรอท (เกิดจากรีดักชันจากซินนาบาร์) กับกำมะถัน หากสัมผัส สูดดมไอ หรือทานอาหารทะเลที่ปนเปื้อนปรอทที่ละลายน้ำ (เช่น เมอร์คิวริกคลอไรด์ หรือเมธิลเมอร์คิวรี) อาจเกิดเป็นพิษได้ ปรอทมักใช้ประโยชน์ในเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ มาโนมิเตอร์ สฟิกโมมาโนมิเตอร์ โฟลตวาล์ว สวิตช์ปรอท ปรอทรีเลย์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และอุปกรณ์อื่น ๆ แม้ว่ายังมีประเด็นเรื่องพิษที่อาจทำให้เทอร์โมมิเตอร์และสฟิกโมมาโนมิเตอร์ไม่ถูกนำมาใช้อีก แต่จะใช้แอลกอฮอล์ หรือแก้วที่เติมกาลินสแตน หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเทอร์มิสเตอร์ หรืออินฟราเรดแทน เช่นเดียวกัน สฟิกโมมาโนมิเตอร์ถูกแทนด้วยเกจความดันเชิงกลและเกจรับความตึงอิเล็กทรอนิกส์ ปรอทยังคงมีใช้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสารอะมัลกัมสำหรับอุดฟันในบางท้องที่ ปรอทนำมาใช้ผลิตแสงสว่าง กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านไอปรอทในหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์จะสร้างแสงอัลตราไวโอเลตคลื่นสั้น ก่อให้เกิดฟอสเฟอร์ ทำให้หลอดเรืองแสง และเกิดเป็นแสงสว่างขึ้นม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และปรอท · ดูเพิ่มเติม »

นิกโทเจน

ตุหมู่ไนโตรเจน หรือ นิโคเจน หรือ นิกโทเจน (Nitrogen group หรือ pnicogens หรือ pnictogens) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 15 ของตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 โดยอิเล็กตรอน 2 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยเอส (s subshell) อีก 3 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยพี (p subshell) ดังนั้นธาตุเหล่านี้จึงมีอิเล็กตรอน 3 ตัวอยู่ในวงโคจรนอกสุด และ 3 ตัว ในภาวะที่อะตอมไม่อยู่ในระดับไอโอไนส์ (non-ionized state) สารประกอบของธาตุเหล่านี้ เรียกว่า นิกไทด์ (pnictides).

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และนิกโทเจน · ดูเพิ่มเติม »

นีโอดิเมียม

นีโอดิเมียม (Neodymium) เป็นธาตุโลหะลักษณะเงินมันวาวหายาก เมื่อสัมผัสอากาศสีจะหมองเพราะเกิดสนิมสารประกอบออกไซด์ หมายเลขอะตอมคือ 60 สัญลักษณ์ Nd จัดอยู่ในกลุ่มแลนทาไนด์ มีปริมาณบนพื้นโลกมากเป็นอันดับ2 ในกลุ่มเดียวกันรองจากซีเรียม นีโอดีเมียมเป็นธาตุที่ไม่ได้พบในรูปแบบโลหะหรือบริสุทธิ์เหมือนกับธาตุอื่นๆในกลุ่มแลนทาไนด์ และนีโอดีเมียมยังใช้การกลั่นปกติสำหรับการใช้งานทั่วไป แม้ว่านีโอดิเมียมถูกจัดว่าเป็น "โลกที่หายาก" มีการกระจายกันอย่างแพร่หลายในโลกอยู่ในชั้นเปลือกโลก ส่วนใหญ่นีโอดิเมียมในโลกจะขุดได้ที่ในประเทศจีน นีโอดิเมียมเป็นธาตุที่อยู่ในบล็อกF จำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละชั้นนีโอดีเมียม คือ 2, 8, 18, 22, 8, 2 และการกำหนดค่าอิเล็กตรอนของมันคือ 4f46s2 นีโอไดเมียเป็นที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของธาตุหายากหลังจากซีเรียมและแลนทานัม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และนีโอดิเมียม · ดูเพิ่มเติม »

แชลโคเจน

ตุหมู่แชลโคเจน (chalcogens) คือ อนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 16ตารางธาตุ ซึ่งอยู่ในตระกูลธาตุเดียวกับ ออกซิเจน (oxygen family) มีอีกชื่อหนึ่งว่าหมู่ออกซิเจน สารประกอบของธาตุหมู่นี้ เรียกว่า แชลโคเจไนด์ (chalcogenides).

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแชลโคเจน · ดูเพิ่มเติม »

แบเรียม

แบเรียม (Barium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 56 และสัญลักษณ์คือ Ba แบเรียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทมีลักษณะเป็นสีเงินอ่อนนุ่มหลอมเหลวที่อุณหภูมิสูงมาก อ๊อกไซด์ของมันเรียกแบริตา (baryta) ตามธรรมชาติพบในแร่แบไรต์ไม่พบในสภาพบริสุทธิ์เพราะไวต่อปฏิกิริยาเคมีกับอาก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแบเรียม · ดูเพิ่มเติม »

แพลทินัม

แพลทินัม หรือ ทองคำขาว (Platinum) คือธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 78 และสัญลักษณ์คือ Pt เป็นธาตุโลหะทรานซิชัน มีสีเงินเทา มีน้ำหนักมาก สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ แพลทินัมทนต่อการกัดกร่อนมาก ในธรรมชาติพบอยู่กับสินแร่ของนิกเกิลและทองแดง ปัจจุบันแพลทินัมมีราคาสูงกว่าทองคำ 2-3 เท่า แพลทินัมสามารถใช้ทำเครื่องประดับ อุปกรณ์ในห้องทดลอง ตัวนำไฟฟ้า งานทันตกรรม และเครื่องกรองไอเสียในรถยนต์ ธาตุแพลทินัมเรียกได้อีกอย่างว่า ทองคำขาว ซึ่งอาจจะสร้างความสับสนกับ ทองขาว (White gold) แพลทินัมจะแกะลายได้สวยกว่าทองเนื่องจากความหนาแน่นสูง และเมื่อใช้ไปในระยะยาวจะยังคงมีลายที่คมชัดเหมือนเดิมไม่สึกออกไปเหมือนทอง (แพลทินัมจะน้ำหนักเท่าเดิมไม่สูญหายเหมือนทองที่พอใช้ไปเรื่อยๆ เนื้อทองจะหลุดร่อนทุกครั้งที่กระทบกับวัตถุอื่นๆ).

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแพลทินัม · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สมีตระกูล

แก๊สมีตระกูล (Noble gas) หมายถึง แก๊สที่ไม่ไวต่อการทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ไม่เกิดสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์และซัลไฟล์ กลุ่มธาตุเคมีที่มีสมบัติเหมือนกัน: ที่ภาวะมาตรฐาน ธาตุในหมู่นี้จะไม่มีกลิ่น ไม่มีสี เป็นแก๊สที่เฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา แก๊สมีตระกูลหกตัวที่ปรากฏในธรรมชาติ ได้แก่ ฮีเลียม (He), นีออน (Ne), อาร์กอน (Ar), คริปทอน (Kr), ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn) ซึ่งเป็นกัมมันตรังสี ธาตุพวกนี้เป็นธาตุโมเลกุลเดี่ยว (monoatomic molecule) แก๊สมีตระกูลมีคุณสมบัติดังนี้.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแก๊สมีตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

แกโดลิเนียม

แกโดลิเนียม (Gadolinium) คือธาตุที่มีเลขอะตอม 64 และสัญลักษณ์ Gd เป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายาก มีลักษณะสีขาวเงินวาวอ่อนนุ่ม ยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้ ผลึกเป็นรูปหกเหลี่ยม (hexagonal) ที่อุณหภูมิห้องจะอยู่ในฟอร์มอัลฟาและจะเปลี่ยนเป็นฟอร์มบีต้าที่อุณหภูมิ 1,508 เคลวิน โดยมีโครงสร้างเป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ (body-centered cubic) แกโดลิเนียมเสถียรในอากาศแห้ง แต่ในอากาศชื้นผิวโลหะจะหมอง เนื่องจากเกิดปฏิกิริยาเป็นออกไซด์ แกโดลิเนียมจะมีปฏิกิริยาเคมีช้า ๆ ในน้ำเย็น และละลายได้ดีในกรดเจือจาง.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแกโดลิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

แลนทานัม

แลนทานัม (อังกฤษ:Lanthanum) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 57 และสัญลักษณ์คือ La แลนทานัมเป็นธาตุโลหะมีลักษณะเป็นสีเงินขาวอ่อนนุ่มยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้และตัดได้ด้วยมีด แลนทานัมเป็นธาตุโลหะหนักที่ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากตัวหนึ่ง มันสามารถทำปฏิกิริยาได้โดยตรงกับธาต.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแลนทานัม · ดูเพิ่มเติม »

แลนทาไนด์

แลนทาไนด์ (Lanthanide) เป็น อนุกรมเคมีของธาตุ ในตารางธาตุ จำนวน 15 ตัว ตั้งแต่ ธาตุแลนทานัม ถึง ธาตุลูทีเตียม ชื่ออนุกรมมีที่มาจากชื่อธาตุแลนทานัม ซึ่งเป็นธาตุแรกในอนุกรม สิ่งที่น่าสนใจ ได้แก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแลนทาไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอกทิไนด์

แอกทิไนด์ (อ.: Actinide) เป็น อนุกรมเคมีของธาตุ ในตารางธาตุ จำนวน 15 ตัว ตั้งแต่ ธาตุแอกทิเนียม ถึง ธาตุลอว์เรนเซียม สิ่งที่น่าสนใจ ได้แก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแอกทิไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แอสทาทีน

แอสทาทีน (Astatine) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 85 และสัญลักษณ์คือ At แอสทาทีนเป็นธาตุกัมมันตภาพรังสี (radioactive element) ในธรรมชาติได้จากการสลายตัวของ ยูเรเนียมและทอเรียม แอสทาทีนเป็นธาตุในกลุ่มแฮโลเจนที่มีน้ำหนักมากที่สุด สมบัติทางเคมีก็เหมือนกับแฮโลเจนอื่นๆโดยเฉพาะไอโอดีนคือมันอาจจะสะสมอยู่ในต่อมไธรอยด์เหมือนไอโอดีน แต่มันมีความเป็นโลหะมากกว่าไอโอดีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแอสทาทีน · ดูเพิ่มเติม »

แฮฟเนียม

แฮฟเนียม (Hafnium) เป็นธาตุโลหะกลุ่มโลหะทรานซิชัน ในตารางธาตุ คุณสมบัติทางเคมีคล้ายเซอร์โคเนียม เลขอะตอม 72 สัญลักษณ์คือ Hf.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแฮฟเนียม · ดูเพิ่มเติม »

แฮโลเจน

แฮโลเจน (halogens) คือ อนุกรมเคมีของกลุ่มธาตุในหมู่ 7 ของตารางธาตุ ซึ่งประกอบด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแฮโลเจน · ดูเพิ่มเติม »

แทลเลียม

แทลเลียม (Thallium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 81 และสัญลักษณ์คือ Tl เป็นธาตุโลหะสีเทา เนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดได้คล้ายดีบุก แต่เมื่อสัมผัสอากาศจะเปลี่ยนสี แทลเลียมเป็นธาตุที่มีลักษณะคล้ายอินเดียมคือเป็นโลหะที่หายาก และอ่อนนิ่มมาก ไม่มีการออกไซด์เคลือบที่ผิว ดังนี้นจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับออกซิเจนในอากาศอย่างรวดเร็ว แทลเลียมมีเลขออกซิเดชันได้ทั้ง +1 และ +3 แทลเลียมมีพิษมาก ใช้ทำยาเบื่อหนูและฆ่าแมลง เป็นต้นเหตุให้เกิดมะเร็งจึงถูกห้ามใช้ในหลายประเทศ นอกจากนี้ยังใช้ตรวจสอบรังสีอินฟราเรดด้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแทลเลียม · ดูเพิ่มเติม »

แทนทาลัม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และแทนทาลัม · ดูเพิ่มเติม »

โพรมีเทียม

โพรมีเทียม (Promethium) ธาตุ มีเลขอะตอม 61 และสัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุสังเคราะห์ในกลุ่มแลนทาไนด์ โพรมีเทียมไม่มีไอโซโทปที่เสถียร ซึ่งแผ่รังสีเบต้า แต่ไม่แผ่รังสีแกมม่า โพรมีเทียมที่บริสุทธิ์มี 2 อัญรูป (allotropic forms) เกลือของโพรมีเทียมเรืองแสงสีน้ำเงินหรือสีเขียวในที่มืดได้ เนื่องจากมีกัมมันตภาพรังสีสูง พโรมีทเอียม พโรมีทเอียม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโพรมีเทียม · ดูเพิ่มเติม »

โลหะหลังทรานซิชัน

ลหะหลังทรานซิชัน (อังกฤษ: post-transition metals) คือธาตุในอนุกรมเคมีของตารางธาตุที่อยู่ระหว่างธาตุกึ่งโลหะ (metalloids) และธาตุโลหะทรานซิชัน (transition metals) มีประจุไฟฟ้าบวกมากกว่าโลหะแอลคาไล (alkali metals) และโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metals) มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำกว่าโลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชันมีดังนี้.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโลหะหลังทรานซิชัน · ดูเพิ่มเติม »

โลหะทรานซิชัน

ลหะทรานซิชัน (transition metal) มีการนิยามความหมายของโลหะทรานซิชันในอนุกรมเคมี 2 ประการดังนี้.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโลหะทรานซิชัน · ดูเพิ่มเติม »

โลหะแอลคาไล

ลหะแอลคาไล (Alkali metals) เป็นหมู่ (คอลัมน์) ในตารางธาตุ ประกอบไปด้วยธาตุเคมี ลิเทียม (Li), โซเดียม (Na)สัญลักษณ์เคมี "Na" ของธาตุโซเดียมเป็นตัวย่อของคำว่า "นาเทรียม" (Natrium) ซึ่งเป็นคำในภาษาละติน และยังมีการใช้ชื่อนี้อยู่ในบางภาษา เช่น เยอรมัน หรือรัสเซีย ก่อนหน้านั้นโซเดียมถูกเสนอว่าให้มีสัญลักษณ์เคมีว่า So, โพแทสเซียม (K)สัญลักษณ์เคมี "K" ของธาตุโพแทสเซียม เป็นตัวย่อของคำว่า "คาเลียม" (Kalium) แต่ก็ยังมีการใช้ชื่อธาตุว่า คาเลียม ในบางภาษา เช่น เยอรมัน หรือ รัสเซีย ก่อนหน้านั้นโพแทสเซียมถูกเสนอให้มีสัญลักษณ์ว่า Po ซึ่งไปชนกับพอโลเนียม ที่มีสัญลักษณ์ทางเคมีว่า Po เหมือนกัน, รูบิเดียม (Rb), ซีเซียม (Cs) และแฟรนเซียม (Fr).

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโลหะแอลคาไล · ดูเพิ่มเติม »

โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท

ลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (Alkaline earth metal) เป็นอนุกรมเคมี ในตารางธาตุ ประกอบด้วยธาตุเคมี ใน หมู่ที่ 2 ได้แก.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โฮลเมียม

โฮลเมียม (Holmium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 67 และสัญลักษณ์คือ Ho โฮลเมียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่มสามารถยืดเป็นเส้นได้ มีความเสถียรในอากาศที่อุณหภูมิห้องโฮลเมียมเป็นธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์พบมากในแร่โมนาไซต์ (monazite) และแกโดลิไนต์ (gadolinite) ฮโฮลเมียม ฮโฮลเมียม ฮโฮลเมียม ฮโฮลเมียม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโฮลเมียม · ดูเพิ่มเติม »

โครงแบบอิเล็กตรอน

ออร์บิทัลของอิเล็กตรอนและการจัดเรียงระดับพลังงาน การจัดเรียงอิเล็กตรอน หมายถึง อิเล็กตรอนในแต่ละอะตอมจะมีการจัดเรียงตามระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย โดยมีการแบ่งชั้นที่แน่นอน เรียงไปเรื่อย ๆ ตามเลขอะตอม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และโครงแบบอิเล็กตรอน · ดูเพิ่มเติม »

เพรซีโอดิเมียม

รซีโอดิเมียม (Praseodymium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 59 สัญลักษณ์คือ Pr เพรซีโอดิเมียม เป็นธาตุโลหะ อยู่ในกลุ่มแลนทาไนด์ (lanthanide group) มีสีเงิน ทนต่อการกัดกร่อนในอากาศได้ดีกว่า ยูโรเพียม (europium), แลนทานัม (lanthanum), ซีเรียม (cerium) และ นีโอดิเมียม (neodymium) เกิดสนิมสารประกอบออกไซด์สีเขียวเมื่อสัมผัสอากาศ ซึ่งป้องกันได้โดยเก็บในน้ำมันแร่หรือเคลือบด้วยพลาสติกหรือแก้ว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และเพรซีโอดิเมียม · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และเรดอน · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เบียม

เออร์เบียม (Erbium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 68 และสัญลักษณ์คือ Er เออร์เบียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่มสามารถยืดเป็นเส้นได้ เออร์เบียมเป็นธาตุใน กลุ่มแลนทาไนด์ (lanthanide) พบมากในแร่แกโดลิไนต์ (gadolinite) จากเมืองอิตเตอร์บี้ประเทศสวีเดน อเออร์เบียม อเออร์เบียม อเออร์เบียม อเออร์เบียม.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และเออร์เบียม · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์เบียม

ทอร์เบียม (Terbium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 65 และสัญลักษณ์คือ Tb เทอร์เบียมเป็นธาตุโลหะเอิร์ธหายากมีลักษณะสีเทาเงินวาวอ่อนนุ่มยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้ และสามารถตัดได้ด้วยมีดมีความเสถียรในอากาศ มีสองรูปผลึก (allotropes) ที่ต่างกันโดยจะเปลี่ยนรูปที่อุณหภูมิ 1289 °C.

ใหม่!!: ธาตุคาบ 6และเทอร์เบียม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »