โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์

ดัชนี ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์

ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์ (Toshkent Xalqaro Aeroporti –) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของอุซเบกิสถานเป็นท่าอากาศยานที่คึกคักมากที่สุดของภูมิภาคเอเชียกลาง.

22 ความสัมพันธ์: ยางมะตอยอุซเบกิสถานแอร์เวย์ทาชเคนต์ท่าอากาศยานปูลโกโวท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตีท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธีท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติฉงชิ่งเจียงเป่ย์ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโวคอนกรีตประเทศอุซเบกิสถานแอร์อัสตานาแอร์คีร์กีซสถานแอโรฟลอตโคเรียนแอร์ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์เอเชียกลางเอเชียน่าแอร์ไลน์เตอร์กิชแอร์ไลน์

ยางมะตอย

งมะตอย โรงงานยางมะตอยสำหรับการทำยางมะตอย ถนนลาดยาง มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ได้ทดลองระดับลดลงการแสดงให้เห็นความหนืดของยางมะตอย ยางมะตอยเป็นวัสดุที่สกัดจากน้ำมันดิบ มีสีดำ มีลักษณะเหนียวและความหนืดต่ำ ยางมะตอยนิยมมาใช้ในงานก่อสร้างถนน โดยใช้เป็นวัสดุผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุเติมเช่นหินและทราย เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน โดยวัสดุที่นำมาใช้ในการเทผิวหน้าถนนจะเรียกชื่อเต็มว่า แอสฟอลต์คอนกรีต (asphalt concrete) และมักย่อว่า แอสฟอลต์ ภาษาอังกฤษเรียกยางมะตอยว่า แอสฟอลต์ (อเมริกัน) หรือ แอสแฟลต์ (บริเตน) (asphalt) ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า άσφαλτος (asphaltos) ส่วนภูมิภาคอื่นอาจเรียกว่า ไบทูเมน, ไบทิวเมน, บิทูเมน, บิชูเมน (bitumen).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และยางมะตอย · ดูเพิ่มเติม »

อุซเบกิสถานแอร์เวย์

อุซเบกิสถานแอร์เวย์ (O‛zbekiston Havo Yo‛llari, Ўзбекистон Ҳаво Йўллари; Узбекские Авиалинии) เป็นสายการบินแห่งชาติของอุซเบกิสถาน มีฐานหลักที่ทาชเคนต์ สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และอุซเบกิสถานแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทาชเคนต์

ทางอากาศกรุงทาชเคนต์ ทาชเคนต์ (Tashkent หรือ Toshkent; อุซเบก: Тошкент; Ташкент; ชื่อมีความหมายในภาษาอุซเบกว่า "นครศิลา") เป็นเมืองหลวงของประเทศอุซเบกิสถาน มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และทาชเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานปูลโกโว

ท่าอากาศยานปูลโกโว (Аэропо́рт Пу́лково) ตั้งอยู่ที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของรัสเซีย (เป็นรองจากโดโมเดโดโว และเชเรเมเตียโว) เดิมมีชื่อว่าท่าอากาศยานชอสเซนายา และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของรอสซิยาแอร์ไลน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานปูลโกโว · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตี

ท่าอากาศยานนานาชาติอัสมาตี (Халықаралық Алматы Әуежайы, Xalıqaralıq Almatı Äwejayı, حالىقارالىق الماتى أۋەجايى, Международный Аэропорт Алматы, Mezhdunarodnyy Aeroport Almaty) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของคาซัคสถาน ห่างจากกรุงอัลมาตีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าอากาศยานนานาชาติมีการขนส่งผู้โดยสารถึงร้อยละ 68 ในคาซัคสถาน ในปี 2012 ท่าอากาศยานนานาชาติได้รองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 4,003,004 คน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติอัลมาตี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี

ท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี เป็นสนามบินหลักของเขตเมืองหลวงของเดลี ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ที่ปาลาม ห่างจากตัวเมืองนิวเดลีทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นระยะทาง ตั้งชื่อตามนางอินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรีของอินเดีย ในปัจจุบันเป็นสนามบินหลัก และมีผู้โดยสารมากที่สุดของอินเดีย หลังจากการเปิดใช้อาคารผู้โดยสารแห่งใหม่ หรือ อาคาร 3 ท่าอากาศยานแห่งนี้จึงได้กลายเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียใต้ และเป็นศูนย์กลางการบินที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาค พร้อมศักยภาพในการขนส่งผู้โดยสารกว่า 46 ล้านคนต่อปี และมีเป้าหมายที่ 100 ล้านคนต่อปีภายในปีค.ศ. 2030 โดยเมื่อรวมกับท่าอากาศยานนานาชาติฉัตรปติ ศิวาชีที่มุมไบ จะสามารถขนส่งผู้โดยสารมากกว่าครึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ โดยมีบริษัท เดลี อินเตอร์แนชันนัล แอร์พอร์ต ไพรเวท จำกัด (Delhi International Airport Private Limited (DIAL)) เป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งมีเป้าหมายและความมุ่งมั่นที่จะทำให้ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นฐานการบินนานาชาติ ในปีค.ศ. 2011 - ค.ศ. 2012 ท่าอากาศยานอินทิรา คานธี ได้รองรับผู้โดยสารเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้น 35.88 ล้านคน และโครงการต่อเติมในอนาคตจะเพิ่มขีดศักยภาพให้สามารถรับได้ถึง 100 ล้านคนต่อปีในปีค.ศ. 2030 โดยมีอาคารผู้โดยสาร 3 ที่สามารถรองรับผู้โดยสารเพิ่มมากขึ้นถึง 34 ล้านคนต่อปีตั้งแต่การเปิดกีฬาคอมมอนเวลท์ (Commonwealth Game) ในปีค.ศ. 2010 ซึ่งอาคารผู้โดยสาร 3 นี้เคยได้ถูกบันทึกเป็นอาคารผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของโลก ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติอินทิรา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฉงชิ่งเจียงเป่ย์

ท่าอากาศยานนานาชาติฉงชิ่งเจียงเป่ย์ (จีนตัวย่อ: 重庆江北国际机场, จีนตัวเต็ม: 重慶江北國際機場, พินอิน: Chóngqìng Jiāngběi Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ในเขตอู๋เป่ย นครฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระยะทาง 21 กิโลเมตร จากศูนย์กลางนครฉงชิ่ง ท่าอากาศยานฉงชิ่งเจียงเป่ย์เป็นท่าอากาศยานหลักในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติฉงชิ่งเจียงเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว

ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว (รัสเซีย: Международный Аэропорт Москва-Шереметьево) ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นหนึ่งในท่าอากาศสำคัญของกรุงมอสโก โดยมีจำนวนผู้ใช้บริการเป็นรองท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอโรฟลอต และการที่ท่าอากาศยานแห่งนี้เกิดปัญหาในหลายด้าน ทำให้สายการบินจำนวนมาก ได้ทยอยเปลี่ยนเที่ยวบินจากเชเรเมเตียโวไปยังโดโมเดโดโว จึงได้มีการปรับปรุงท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นการใหญ่ เพื่อให้มีบริการที่ได้ระดับมาตรฐานสากล โดยคาดว่าการปรับปรุงทั้งหมดจะแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว · ดูเพิ่มเติม »

คอนกรีต

การเทคอนกรีต สำหรับหล่อพื้น คอนกรีต (คอน-กรีด) (Concrete ในภาษาอังกฤษอ่านว่า คอนครีท) เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ 10% ของแรงอัด) โดยเมื่อต้องการให้คอนกรีตสามารถรับแรงดึง จะมีการเสริมวัสดุอื่นเพิ่มเข้าไปในคอนกรีตโดยจะเรียกว่า คอนกรีตเสริมแรง หรือคอนกรีตเสริมเหล็กที่เรียกกัน (โดยเสริมแรงด้วยเหล็ก) วัสดุเหล่านี้จะช่วยรับแรงดึงภายในคอนกรีต ซึ่งงานโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่นิยมใช้คอนกรีตเสริมแรงแทนที่คอนกรีตเปลือย นอกจากนี้ในงานก่อสร้างยังมีการใช้วิธีการที่เรียกว่า คอนกรีตอัดแรง โดยทำการใส่แรงเข้าไปในคอนกรีตหล่อสำเร็จที่หล่อมาจากโรงงาน โดยเมื่อนำไปใช้งาน แรงที่ใส่เข้าไปในคอนกรีตจะหักล้างกับน้ำหนักของตัวคอนกรีตเองและน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมา ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรง มนุษย์เริ่มใช้คอนกรีตในการก่อสร้างตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ในอดีต ชาวกรีกและชาวโรมันใช้คอนกรีตในการก่อสร้างป้อมปราการทางการทหารและสถานที่สำคัญต่างๆมากม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และคอนกรีต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อัสตานา

แอร์อัสตานา (Эйр Астана) เป็นสายการบินแห่งชาติของคาซัคสถาน มีที่ตั้งที่ อัลมาตี คาซัคสถาน มีฐานการบินหลักที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอัสมาตี และอีกที่คือท่าอากาศยานนานาชาติอัสตาน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และแอร์อัสตานา · ดูเพิ่มเติม »

แอร์คีร์กีซสถาน

Now retired Antonov An-24 of Kyrgyzstan Air Company Now retired Tupolev Tu-154 of Kyrgyzstan Air Company Boeing 737-300 (EX-37301) in current livery of Air Kyrgyzstan แอร์คีร์กีซสถาน หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ บริษัทอากาศคีร์กีซสถาน (Эйр Кыргызстан Авиакомпаниясы, Авиакомпания «Эйр Кыргызстан») เป็นสายการบินของคีร์กีซสถาน มีฐานที่ บิชเคก สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติมารนัส และมีท่าอากาศยานหลักอีกที่คือ ท่าอากาศยานนานาชาติออช ใน ออช แอร์คีร์กีซสถานเป็นหนึ่งในสายการบินที่ถูกแบนในสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และแอร์คีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

แอโรฟลอต

แอโรฟลอต แอร์บัส A320-200 แอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) เป็นสายการบินแห่งชาติของรัสเซีย และเคยเป็นสายการบินแห่งชาติของสหภาพโซเวียตในอดีต ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและภายนอกประเกศ 97 เมือง ใน 48 ประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโคว.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และแอโรฟลอต · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์

รียนแอร์ (ฮันกึล: 대한항공, ฮันจา: 大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962 ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์

China Southern head office ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินหนึ่งในสามสายการบินหลักสัญชาติจีน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เขตไป่หยวน เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลกในจำนวนผู้โดยสาร เป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย, และอันดับ 4 ของโลกในจำนวนผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป้หยวน และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง กับ 121 จุดหมายปลายทาง ปัจจุบันเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรทางการบินสกายทีม ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียน่าแอร์ไลน์

อเชียนาแอร์ไลน์ (Asiana Airlines) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่โซล สาธารณรัฐเกาหลี และเป็นหนึ่งในสองสายการบินหลักของเกาหลีใต้ เอเชียนาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของ Star Alliance และให้บริการเส้นทางการบินไปยังจุดหมายปลายทางภายในประเทศ 12 แห่ง และระหว่างประเทศ 73 แห่งใน 17 ประเทศ สำนักงานใหญ่และศูนย์กลางระหว่างประเทศของเอเชียนาแอร์ไลน์ตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน (ใกล้กับโซล) ขณะที่ศูนย์กลางภายในประเทศตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และเอเชียน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เตอร์กิชแอร์ไลน์

ำนักงานใหญ่ของเตอร์กิชแอร์ไลน์ เตอร์กิชแอร์ไลน์ (Türk Hava Yolları; Turkish Airlines) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศตุรกี ก่อตั้งในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1933 ให้บริการภายในประเทศ 50 เส้นทาง และในต่างประเทศ 242 เส้นทาง ทั้งในทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกา และอเมริกา ใน ค.ศ. 2017 มีผู้ใช้บริการกว่า ล้านคน สายการบินนี้ให้บริการทั้งชั้นธุรกิจและชั้นประหยัด ได้รับรางวัล "สายการบินที่ดีที่สุดในยุโรป" 6 ปีซ้อนจากสกายแทร็กซ์ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรในกลุ่มสตาร์ อัลไลแอนซ.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต์และเตอร์กิชแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »