โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ที่หยุดรถไฟบางระมาด

ดัชนี ที่หยุดรถไฟบางระมาด

ที่หยุดรถไฟบางระมาด ตั้งอยู่ที่ถนนฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 3.42 กิโลเมตร เป็นที่หยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี และ สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตัวย่อของที่หยุดรถคือ รม.

16 ความสัมพันธ์: ชานชาลาด้านข้างกรุงเทพมหานครการรถไฟแห่งประเทศไทยกิโลเมตรรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชันสถานีรถไฟราชบุรีสถานีรถไฟศาลายาสถานีรถไฟสุไหงโก-ลกสถานีรถไฟหลังสวนสถานีรถไฟธนบุรีสถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์ทางรถไฟสายมรณะทางรถไฟสายใต้ป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์เขตตลิ่งชัน

ชานชาลาด้านข้าง

แผนผังชานชลาด้านข้างและสะพานลอย ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและชานชาลาด้านข้าง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้

หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายใต้.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและรายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน

นีรถไฟชุมทางตลิ่งชันในอดีต สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตั้งอยู่ที่ซอยฉิมพลี 12 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 5.21 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี/สถานีรถไฟบางบำหรุ และ สถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์ ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี ตัวย่อของสถานีคือ ต.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟราชบุรี

นีรถไฟราชบุรี ตั้งอยู่ถนนคฑาธร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีนี้แต่ก่อนเป็นจุดเติมน้ำและฟืนสำหรับรถไฟสายใต้ และปลายทางรถไฟสายใต้ บางขบวน ดังนั้น จึงมีถังน้ำ งวงเติมน้ำและวงเวียนกลับรถจักร เป็นอนุสรณ.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟศาลายา

นีรถไฟศาลายา ตั้งอยู่ ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เดิมเป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้ ปัจจุบันได้รับการยกระดับเป็นสถานีชั้น 1 แล้วเนื่องจากรถไฟทุกขบวนต้องจอด เพื่อให้สะดวกแก่นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล และโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้โดยสาร และเก็บค่าโดยสารตามอัตราชานเมือง คือ รถไฟด่วนคิดเพียง 20 บาท.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟศาลายา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก

นีรถไฟสุไหงโก-ลก ตั้งอยู่บนถนนสายเอเชีย 18 เขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้และสถานีสุดท้ายของทางรถไฟสายใต้ โดยสุดเขตแดนเมืองรันตูปันยัง ประเทศมาเลเซีย และมีระยะทางห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพมากที่สุด ถึง 1,142 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหลังสวน

นีรถไฟหลังสวน ตั้งอยู่ ถนนสุขประชา ตำบลขันเงิน อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟหลังสวน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี

ัญญาหางปลาที่สถานี ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์

นีรถไฟประจวบคีรีขันธ์ ตั้งอยู่ ถนนมหาราช 1 ตำบลประจวบคีรีขันธ์ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อยู่ในความควบคุมของงานเดินรถแขวงหัวหิน มีขบวนรถหยุดรับส่งผู้โดยสารรวม 22 ขบวนต่อวัน เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและสถานีรถไฟประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายมรณะ

องเขาขาด ทางรถไฟสายมรณะ หรือ ทางรถไฟสายพม่า หรือ ทางรถไฟสายกาญจนบุรี ทางรถไฟสายนี้เริ่มต้นจากสถานีชุมทางหนองปลาดุก อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ผ่านจังหวัดกาญจนบุรีข้ามแม่น้ำแควใหญ่ โดยสะพานข้ามแม่น้ำแคว ไปทางทิศตะวันตกจนถึงด่านเจดีย์สามองค์ เพื่อให้ถึงปลายทางที่เมืองทันบูซายัด ประเทศพม่าทางรถไฟสายมรณะมีความยาวจากหนองปลาดุกถึงสถานีทันบูซายัดรวม 415 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟอยู่ในเขตประเทศไทยประมาณ 303.95 กิโลเมตร และอยู่ในเขตพม่า 111.05 กิโลเมตร มีสถานีจำนวน 37 สถานี ทางรถไฟสายนี้สร้างขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยใช้แรงงานเชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรและกรรมกรชาวเอเชียที่กองทัพญี่ปุ่นเกณฑ์มาสร้าง เพื่อใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผ่านประเทศพม่า ปัจจุบันเส้นทางนี้ไปสุดปลายทางที่บ้านท่าเสาหรือสถานีน้ำตก ระยะทางจากสถานีกาญจนบุรีถึงสถานีน้ำตกเป็นระยะทางประมาณ 77 กิโลเมตร การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดเดินรถบนเส้นทางนี้ทุกวันและจัดรถไฟขบวนพิเศษสายกรุงเทพฯ - น้ำตก ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการ จุดที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจมากคือช่วงสะพานข้ามแม่น้ำแคว และช่วงโค้งมรณะหรือถ้ำกระแซ ซึ่งเป็นสะพานโค้งเลียบแม่น้ำแควน้อยยาวประมาณ 400 เมตร.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและทางรถไฟสายมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายใต้

ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจาง ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและทางรถไฟสายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์

ป้ายหยุดรถไฟจรัลสนิทวงศ์ ตั้งอยู่ที่ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 0.67 กิโลเมตร เป็นป้ายหยุดรถไฟของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี และ สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตัวย่อของสถานีคือ รว.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตตลิ่งชัน

ตตลิ่งชัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่รอบนอกทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธนบุรี" ปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ สภาพโดยทั่วไปเป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แต่ปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรมกำลังลดลงไปมากจากการสร้างพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการสร้างเส้นทางคมนาคม.

ใหม่!!: ที่หยุดรถไฟบางระมาดและเขตตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สถานีรถไฟบางระมาด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »