โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางรถไฟสายแม่กลอง

ดัชนี ทางรถไฟสายแม่กลอง

ทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ถึงสถานีรถไฟมหาชัย ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจากสถานีรถไฟบ้านแหลม ถึงสถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้นเรือข้ามฟากข้ามแม่น้ำท่าจีน เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิดถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟปากคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตคือรางรถไฟ.

73 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2444พ.ศ. 2447พ.ศ. 2448พ.ศ. 2495พ.ศ. 2498พ.ศ. 2502พ.ศ. 2504พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกรุงเทพมหานครการรถไฟแห่งประเทศไทยมีเตอร์เกจยางมะตอยรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรถไฟชานเมืองรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟระหว่างเมืองรถไฟความเร็วสูงรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกสฤษดิ์ ธนะรัชต์สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรสถานีบ้านแหลมสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชีสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทราสถานีรถไฟบ้านแหลมสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟมหาชัยสถานีรถไฟรางโพธิ์สถานีรถไฟวัดสิงห์สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่สถานีรถไฟธนบุรีสถานีรถไฟตลาดพลูสถานีรถไฟปากท่อสถานีรถไฟปากคลองสานสถานีรถไฟนครราชสีมาสถานีรถไฟนครปฐมสถานีรถไฟแม่กลองอำเภอเมืองสมุทรสาครอำเภอเมืองสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามถนนเจริญรัถทางรถไฟทางรถไฟสายแม่กลองที่หยุดรถไฟบางบอนที่หยุดรถไฟบางกระบูน...ที่หยุดรถไฟบางน้ำจืดที่หยุดรถไฟท่าฉลอมที่หยุดรถไฟคลองต้นไทรที่หยุดรถไฟคอกควายคณะรัฐมนตรีป้ายหยุดรถไฟรางสะแกป้ายหยุดรถไฟสามแยกป้ายหยุดรถไฟจอมทองป้ายหยุดรถไฟทุ่งสีทองป้ายหยุดรถไฟคลองจากแม่น้ำท่าจีนแม่น้ำเจ้าพระยาโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)1 กรกฎาคม1 กุมภาพันธ์1 มกราคม10 มิถุนายน13 พฤษภาคม17 พฤษภาคม18 มีนาคม24 พฤศจิกายน29 ธันวาคม31 มีนาคม ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มีเตอร์เกจ

มีเตอร์เกจ (metre gauge) หรือ รางรถไฟขนาดหนึ่งเมตร เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดมาตรฐาน โดยมีความกว้างที่วัดภายในขนาด 1 เมตร โดยมีการใช้งานหลายประเทศใน แอฟริกา อเมริกา และเอเชีย โดยในทวีปยุโรปหลายประเทศได้มีการใช้ในอดีตและได้ปิดและปรับขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ ยกเว้นในประเทศสเปนและสวิตเซอร์แลนด์ รางรถไฟในประเทศไทยเกือบทั้งหมดยกเว้นรางรถไฟลอยฟ้า และรถไฟใต้ดิน ใช้ขนาดมีเตอร์เกจ โดยในปัจจุบันได้มีการพิจารณาจะปรับปรุงรางรถไฟเดิมให้มีขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ เพื่อรองรับกับรถไฟความเร็วสูง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและมีเตอร์เกจ · ดูเพิ่มเติม »

ยางมะตอย

งมะตอย โรงงานยางมะตอยสำหรับการทำยางมะตอย ถนนลาดยาง มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ได้ทดลองระดับลดลงการแสดงให้เห็นความหนืดของยางมะตอย ยางมะตอยเป็นวัสดุที่สกัดจากน้ำมันดิบ มีสีดำ มีลักษณะเหนียวและความหนืดต่ำ ยางมะตอยนิยมมาใช้ในงานก่อสร้างถนน โดยใช้เป็นวัสดุผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุเติมเช่นหินและทราย เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน โดยวัสดุที่นำมาใช้ในการเทผิวหน้าถนนจะเรียกชื่อเต็มว่า แอสฟอลต์คอนกรีต (asphalt concrete) และมักย่อว่า แอสฟอลต์ ภาษาอังกฤษเรียกยางมะตอยว่า แอสฟอลต์ (อเมริกัน) หรือ แอสแฟลต์ (บริเตน) (asphalt) ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า άσφαλτος (asphaltos) ส่วนภูมิภาคอื่นอาจเรียกว่า ไบทูเมน, ไบทิวเมน, บิทูเมน, บิชูเมน (bitumen).

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและยางมะตอย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออก

รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายตะวันออก.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้าชานเมืองในนครนิวยอร์ก รถไฟชานเมือง หรือ รถไฟฟ้าชานเมือง เป็นรถไฟโดยสารที่ให้บริการระหว่างใจกลางเมือง ไปจนถึงชานเมืองที่มีระยะไม่เกิน 15 กิโลเมตร หรือ 10 ไมล์ หรือเป็นเมืองที่มีผู้คนเข้ามาทำงานในใจกลางเมืองมาก โดยรถไฟจะวิ่งตามกำหนดเวลา มีความเร็วสูงสุดตั้งแต่ 50 ไปจนถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของรถไฟชานเมือง ว่า เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีไม่เกิน 160 กม.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรถไฟชานเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟระหว่างเมือง

รถไฟระหว่างเมืองในฮ่องกง รถไฟระหว่างเมือง เป็นขบวนรถไฟด่วนที่มีระยะทางวิ่งยาวกว่าขบวนรถไฟฟ้าชานเมืองและรถไฟประจำภูมิภาค ระยะทางของรถไฟระหว่างเมืองนั้นไม่จำกัดและแตกต่างกันไปตามประเทศต่าง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรถไฟระหว่างเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูง

รถไฟชิงกันเซ็ง รุ่น E5 TGV 2N2 ของ SNCF ซึ่งเป็นรถไฟความเร็วสูงที่พัฒนาให้มีห้องโดยสาร 2 ชั้น ขณะอยู่ที่เมืองแฟรงเฟิร์ตของเยอรมนี รถไฟความเร็วสูง หรือ ระบบรางความเร็วสูง (High-Speed Rail (HSR)) เป็นระบบการขนส่งทางรางที่วิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าระบบขนส่งทางรางทั่วไปอย่างมาก โดยการใช้ระบบล้อเลื่อน (rolling stock) พิเศษรวมกับระบบรางที่ออกแบบมาให้ใช้โดยเฉ.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรถไฟความเร็วสูง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สน. เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบ้านแหลม

นีรถไฟบ้านแหลม ตั้งอยู่ ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตารางเดินรถไฟสายแม่กลอง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีบ้านแหลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ

'''สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ''' อาคารผู้โดยสาร 2 (สายใต้-สายตะวันตก) ปัจจุบันอาคารผู้โดยสาร 2 ใช้สำหรับ'''ร'''ถไฟทางไกลสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือและสายใต้ (มองไปทางอาคารผู้โดยสาร1 ปัจจุบันได้มีการรื้อถอนแล้ว) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ (Bang Sue Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีชุมทางรถไฟหลักของประเทศไทย ซึ่งแยกทางรถไฟสายใต้ ออกจากทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงยังเป็น 1 ใน 2 สถานีชุมทางรถไฟที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร คือ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ และสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไท.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี

นีรถไฟชุมทางบ้านภาชี เป็นสถานีรถไฟประจำตำบลภาชี และอำเภอภาชี อยู่ในเส้นทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟระดับ 1มีจำนวนราง 17 ราง เป็นทางหลัก 3 ราง ทางหลีก 14 ราง เป็นรางติดชานชาลา 8 ทาง โดยเป็นสถานีชุมทางแห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ที่ระดับสถานี 1 ในจังหวัดอยุธยา โดยมีสถานีอยุธยา สถานีบางปะอิน สถานีชุมทางบ้านภาชีและสถานีท่าเรือ ซึ่งสถานนีรถไฟชุมทางบ้านภาชี อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 89.95 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ ถนนเทศบาล 5 หมู่5 บ้านตลาด ตำบลภาชี อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์13140 ทางเหนือของสถานีเป็นทางคู่แยกระหว่างสายเหนือกับสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเลี้ยวซ้ายเป็นเส้นทางสายเหนือไปสถานีหนองวิวัฒน์ จนถึงสถานีเชียงใหม่กับสถานีสวรรคโลก โดยสุดทางคู่ที่สถานีลพบุรีแล้วใช้ทางเดี่ยวไปตลอดทาง ส่วนทางตรงเป็นเส้นทางสายตะวันออกเฉียงเหนือไปสถานีหนองกวย จนถึงสถานีหนองคายกับสถานีอุบลราชธานี โดยสุดทางคู่ที่สถานีมาบกะเบาแล้วใช้ทางเดี่ยวไปตลอดทาง ส่วนทางใต้ของสถานีเป็นทางสามไปสถานีพระแก้ว จนถึงสถานีรถไฟกรุงเทพ โดยสุดทางสามที่สถานีรังสิตแล้วใช้ทางคู่ไปตลอดทาง และเป็น 1 ใน 16 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไทยในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา

นีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 บนทางรถไฟสายตะวันออกของการรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีชุมทางฉะเชิงเทรา เป็นจุดรับส่งผู้โดยสาร ถึง สถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วและ สถานีรถไฟบ้านพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และติด 1 ใน 10 ของสถานีรถไฟขนาดใหญ่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นสถานีที่ขบวนรถไฟสินค้าที่มาจากสายชายฝั่งทะเลตะวันออกต้องแวะ เพื่อเปลี่ยนเส้นทางไปยังอีกช่วง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟบ้านแหลม

นีรถไฟบ้านแหลม เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 ของทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นสถานีต้นของเส้นทางช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ตั้งอยู่ถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผู้โดยสารที่เดินทางไปกรุงเทพ จะต้องลงจากขบวนรถที่สถานีรถไฟบ้านแหลม และต่อเรือข้ามฟากที่ท่าฉลอม ไปขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟมหาชัย มีปลายทางที่สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ระยะทาง 31 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟบ้านแหลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟมหาชัย

นีรถไฟมหาชัย เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ถนนสุขาภิบาล ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาครห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 31 กิโลเมตร การรถไฟฯ จัดเดินขบวนรถวันละ 34 ขบวน (เที่ยวไป 17 ขบวน และเที่ยวกลับ 17 ขบวน) สถานีรถไฟมหาชัยเป็นสถานีปลายทางของเส้นทางช่วงวงเวียนใหญ่-มหาชัย ผู้โดยสารที่ต้องการโดยสารรถไฟต่อไปยังจังหวัดสมุทรสงครามจะต้องลงจากขบวนรถและเดินตามถนนเป็นระยะทาง 500 เมตร จากนั้นต่อเรือข้ามฟากไปที่ท่าฉลอมเพื่อขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟบ้านแหลม มีปลายทางที่สถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟมหาชัย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟรางโพธิ์

นีรถไฟรางโพธิ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในซอยพระรามที่ 2 ซอย 82 (รางโพธิ์) ถนนพระรามที่ 2 แขวงบางบอนใต้ เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 14 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟรางโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวัดสิงห์

นีรถไฟวัดสิงห์ เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในซอยเอกชัย 43 (วัดสิงห์) ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 7.15 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟวัดสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่

นีรถไฟวงเวียนใหญ่ เป็นสถานีรถไฟระดับ 3 ตั้งอยู่ที่ถนนริมทางรถไฟ (วงเวียนใหญ่-ตลาดพลู) ใกล้วงเวียนใหญ่ แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี เป็นสถานีต้นทางของทางรถไฟสายแม่กลอง เดิมสถานีต้นทางของรถไฟสายแม่กลองคือสถานีรถไฟปากคลองสาน แต่ไม่มีการเดินรถช่วงปากคลองสาน-วงเวียนใหญ่มาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2504 สืบเนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ โดยรางรถไฟยังคงอยู่ แต่ราดยางมะตอยทับไว้ใต้พื้นถนน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี

ัญญาหางปลาที่สถานี ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตลาดพลู

วนรถไฟที่สถานีรถไฟตลาดพลู สถานีรถไฟตลาดพลู เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลอง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 1.78 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่ถนนริมทางรถไฟและถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สถานีรถไฟตลาดพลูเป็นสถานีรถไฟที่ไม่มีทางหลีก.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟตลาดพลู · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปากท่อ

นีรถไฟปากท่อ ตั้งอยู่บ้านปากท่อ หมู่ 5 ตำบลปากท่อ อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟปากท่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟปากคลองสาน

นีรถไฟปากคลองสาน ในสมัยรัชกาลที่ 5 สถานีรถไฟปากคลองสาน ในอดีตเป็นสถานีต้นทางของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณตลาดปากคลองสาน เขตคลองสาน เดิมมีทางรถไฟเชื่อมกับท่าแพขนานยนต์ เพื่อใช้ขนส่งขบวนรถ และหัวรถจักรไปซ่อมบำรุงทีสถานีรถไฟบางกอกน้อย หรือสถานีรถไฟมักกะสัน สถานีรถไฟปากคลองสานเปิดให้ประชาชนใช้งานตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม ร..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟปากคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครราชสีมา

นีรถไฟนครราชสีมา (ชื่อสามัญ หัวรถไฟ หรือ หัวรถฯ) สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เดิมชื่อสถานีโคราช เป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนครราชสีมาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่บนถนนมุขมนตรี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทางประมาณ 264 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครปฐม

นีรถไฟนครปฐม ตั้งอยู่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟแม่กลอง

นีรถไฟแม่กลอง เป็นสถานีรถไฟระดับ 4 ของทางรถไฟสายแม่กลองช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ตั้งอยู่ถนนประสิทธิ์พัฒนา ตำบลแม่กลอง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม สถานีรถไฟแม่กลอง เป็นสถานีปลายทางของเส้นทางช่วงบ้านแหลม-แม่กลอง ระยะทาง 33 กิโลเมตร ผู้โดยสารที่เดินทางไปกรุงเทพ จะต้องลงจากขบวนรถที่สถานีรถไฟบ้านแหลม และต่อเรือข้ามฟากที่ท่าฉลอม ไปขึ้นรถไฟช่วงต่อที่สถานีรถไฟมหาชัย มีปลายทางที่สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ระยะทาง 31 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและสถานีรถไฟแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรสาคร

อำเภอเมืองสมุทรสาคร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและอำเภอเมืองสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรสงคราม

อำเภอเมืองสมุทรสงคราม เป็นอำเภอเมืองของจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นอำเภอที่ขึ้นชื่อเรื่องปลาทูและมีนิทรรศการงานปลาทูแม่กลองทุกปี.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและอำเภอเมืองสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญรัถ

นนเจริญรัถ (Thanon Charoen Rat) ถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงคลองสาน และแขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน ในฝั่งธนบุรี เดิมเคยเป็นทางรถไฟสายแม่กลองมาก่อน โดยเป็นส่วนต้นของทางรถไฟสายนี้ ที่วิ่งจากสถานีวงเวียนใหญ่ ไปยังสถานีปลายทาง คือ สถานีปากคลองสาน แต่ในรัฐบาลที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีได้ยกเลิกทางรถไฟส่วนนี้และยกเลิกสถานีปากคลองสาน และถมที่สร้างเป็นถนนแทน ถนนเจริญรัถ เป็นถนนที่มีลักษณะเป็นซอย เชื่อมระหว่างถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ด้านวงเวียนใหญ่ กับถนนเจริญนคร ในช่วงต้นถนน ในฝั่งถนนด้านวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดวงเวียนใหญ่ เป็นตลาดสดที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในฝั่งธนบุรี และกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้แล้วช่วงถัดไป ยังเป็นแหล่งรวมร้านค้าที่ขายสินค้าเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำเครื่องหนังและกระเป๋าไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งค้าปลีกและค้าส่ง นับเป็นแหล่งรวมร้านค้าประเภทนี้ที่ขึ้นชื่อ ถนนเจริญรัถไปสิ้นสุดที่แยกเจริญนคร ที่เป็นจุดตัดกับถนนเจริญนคร ซึ่งบริเวณนี้เป็นท่าคลองสาน ท่าเรือข้ามฟากที่ข้ามไปยังท่าสี่พระยา ในฝั่งพระนครได้ ซึ่งอยู่ใกล้กับริเวอร์ซิตี้และโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และสามารถเชื่อมต่อไปยังย่านตลาดน้อย และตรอกกัปตันบุช (ซอยเจริญกรุง 30) อันเป็นย่านเก่าแก่ที่อยู่ใกล้เคียงได้ รถโดยสารประจำทางสาย 57 เป็นเพียงสายเดียวที่วิ่งผ่านถนนเจริญรัถตลอดทั้ง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและถนนเจริญรัถ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟ

ทางรถไฟในไซตามะ ทางรถไฟ เป็นเส้นทางการคมนาคมขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร โดยมีรถไฟเป็นยานพาหนะ รางรถไฟนั้นประกอบด้วยรางสองราง ซึ่งปกติทำมาจากเหล็กกล้า วางบนวัตถุที่ตั้งฉากกับตัวราง โดยสร้างจากไม้หรือคอนกรีต วัตถุนี้เป็นตัวกำหนดระยะระหว่างของรางเรียกว่า "เกจ" (gauge).

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและทางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายแม่กลอง

ทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ถึงสถานีรถไฟมหาชัย ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจากสถานีรถไฟบ้านแหลม ถึงสถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้นเรือข้ามฟากข้ามแม่น้ำท่าจีน เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิดถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟปากคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตคือรางรถไฟ.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและทางรถไฟสายแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบางบอน

ที่หยุดรถไฟบางบอน เป็นที่หยุดรถไฟ ของทางรถไฟสายแม่กลอง อยู่ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 10 กิโลเมตร ตั้งอยู่ เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟบางบอน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบางกระบูน

ที่หยุดรถไฟบางกระบูน ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 30+160 บนทางรถไฟสายแม่กลอง บริเวณ ตำบลลาดใหญ่ อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงครามมีขบวนรถไฟผ่าน ไป 4 ขบวน กลับ 4 ขบวน ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟบางกระบูน · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟบางน้ำจืด

ที่หยุดรถไฟบางน้ำจืด เป็นที่หยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบางน้ำจืด อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 19.97 กิโลเมตร มีรางในย่าน 2 ราง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟบางน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟท่าฉลอม

ป้ายที่หยุดรถท่าฉลอม ตรงข้ามวัดสุทธิวาตวราราม ที่หยุดรถไฟท่าฉลอม ตั้งอยู่ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตรงข้ามกับวัดสุทธิวาตวราราม (วัดช่องลม) เป็นที่หยุดรถ ของทางรถไฟสายแม่กลอง ในปี พ.ศ. 2558 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้สั่งปิดเส้นทางในช่วงระหว่างสถานีรถไฟบ้านแหลม - สถานีรถไฟแม่กลอง (ทางรถไฟสายตลาดร่มหุบ) ระหว่างวันที่ 13 พฤษภาคม - 8 พฤศจิกายน รวมระยะเวลา 180 วัน เพื่อปรับปรุงเส้นทางตามโครงการปรับปรุงทางรถไฟ ในระหว่างนี้จะใช้รถยนต์รับส่งผู้โดยสารแทนไปก่อน.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟท่าฉลอม · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร

ที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร เป็นที่หยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในซอยวุฒากาศ 41 ถนนวุฒากาศ แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 3.35 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟคลองต้นไทร · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟคอกควาย

ที่หยุดรถไฟคอกควาย เป็นที่หยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 22.99 กิโลเมตร มีรางในย่าน 2 ราง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและที่หยุดรถไฟคอกควาย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรี

ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและคณะรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟรางสะแก

ป้ายหยุดรถไฟรางสะแก เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ใกล้คลองสะแกงาม แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ประมาณ 10 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและป้ายหยุดรถไฟรางสะแก · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟสามแยก

ป้ายหยุดรถไฟสามแยก เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณสามแยกคลองเลียบทางรถไฟตัดกับคลองระหาญ แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 15.83 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและป้ายหยุดรถไฟสามแยก · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟจอมทอง

ป้ายหยุดรถไฟจอมทอง เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณหลังวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 4.13 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและป้ายหยุดรถไฟจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟทุ่งสีทอง

ป้ายหยุดรถไฟทุ่งสีทอง เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบางน้ำจืด อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 18.76 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและป้ายหยุดรถไฟทุ่งสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ป้ายหยุดรถไฟคลองจาก

ป้ายหยุดรถไฟคลองจาก เป็นป้ายหยุดรถไฟแห่งหนึ่งของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่ที่ถนนเดิมบาง ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ห่างจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ 29.76 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและป้ายหยุดรถไฟคลองจาก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและแม่น้ำท่าจีน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ13 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 พฤศจิกายน

วันที่ 24 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 328 ของปี (วันที่ 329 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 37 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ24 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ29 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางรถไฟสายแม่กลองและ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อสถานีรถไฟ สายแม่กลองสถานีรถไฟการเคหะสถานีรถไฟการเคหะธนบุรีสถานีรถไฟช่องลมสถานีรถไฟบ้านขอมสถานีรถไฟพรมแดนที่หยุดรถบางระบูนที่หยุดรถไฟการเคหะที่หยุดรถไฟการเคหะธนบุรีที่หยุดรถไฟบ้านขอมที่หยุดรถไฟพรมแดน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »