โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทะไลลามะ

ดัชนี ทะไลลามะ

ทะไลลามะ (ทิเบต: ཏཱ་ལའི་བླ་མ་, taa la’i bla ma, จีนตัวเต็ม: 達賴喇嘛; จีนตัวย่อ: 达赖喇嘛; พินอิน: Dálài Lǎmā) เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาวทิเบต ทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษาทิเบต བླ་མ ་bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง (ทะไลลามะ บางครั้งหรือนิยมออกเสียว่า ดาไลลามะ) ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่างมนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับชาติมาเกิด ปัจจุบัน ดาไลลามะ เป็นองค์ที่ 14 ชื่อ เทนซิน เกียตโซ(Tenzin Gyatso)..

53 ความสัมพันธ์: ชาวทิเบตพ.ศ. 1934พ.ศ. 2017พ.ศ. 2018พ.ศ. 2084พ.ศ. 2086พ.ศ. 2121พ.ศ. 2131พ.ศ. 2132พ.ศ. 2159พ.ศ. 2160พ.ศ. 2185พ.ศ. 2225พ.ศ. 2226พ.ศ. 2249พ.ศ. 2251พ.ศ. 2294พ.ศ. 2300พ.ศ. 2301พ.ศ. 2329พ.ศ. 2347พ.ศ. 2349พ.ศ. 2351พ.ศ. 2358พ.ศ. 2359พ.ศ. 2380พ.ศ. 2381พ.ศ. 2387พ.ศ. 2399พ.ศ. 2400พ.ศ. 2418พ.ศ. 2419พ.ศ. 2422พ.ศ. 2476พ.ศ. 2478พ.ศ. 2493พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พินอินภาษามองโกเลียภาษาทิเบตมหายานมหาสมุทรศาสนาพุทธศาสนาพุทธแบบทิเบตอวตารอักษรจีนตัวย่ออักษรจีนตัวเต็มทะไลลามะ องค์ที่สองทะไลลามะ องค์ที่สามทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง...ทะไลลามะที่ 14เกลุกเรทิงรินโปเช ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและชาวทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1934

ทธศักราช 1934 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2017

ทธศักราช 2017 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2018

ทธศักราช 2018 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2084

ทธศักราช 2084 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2084 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2121

ทธศักราช 2121 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2121 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2131

ทธศักราช 2131 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2131 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2132

ทธศักราช 2132 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2132 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2159

ทธศักราช 2159 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2159 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2160

ทธศักราช 2160 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2160 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2185

ทธศักราช 2185 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2185 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2225

ทธศักราช 2225 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2225 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2226

ทธศักราช 2226 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2226 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2249

ทธศักราช 2249 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2249 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2251

ทธศักราช 2251 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2251 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2294

ทธศักราช 2294 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2294 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2300

ทธศักราช 2300 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2300 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2301

ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2301 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2329

ทธศักราช 2329 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 1786.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2329 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2349

ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2349 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2359

ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2359 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2380 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2381

ทธศักราช 2381 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1838.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2381 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2387

ทธศักราช 2387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2387 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

ระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นบุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปารมิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการัณฑวยูหสูตฺร.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและพินอิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามองโกเลีย

ษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคอลคา (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและภาษามองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบต

ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.

ใหม่!!: ทะไลลามะและภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและมหายาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทร

การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ แผ่นที่กายภาพก้นทะเล มหาสมุทร (ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71% มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์) มีความลึกเฉลี่ยที่ เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต.

ใหม่!!: ทะไลลามะและมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ทะไลลามะและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: ทะไลลามะและศาสนาพุทธแบบทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

ใหม่!!: ทะไลลามะและอวตาร · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวเต็ม

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ตัวอักษรจีน เขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) และได้ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เหนือใต้ ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ใหม่!!: ทะไลลามะและอักษรจีนตัวเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะ องค์ที่สอง

ทะไลลามะ องค์ที่สอง (ทิเบต: དགེ་འདུན་རྒྱ་མཚོ།, ไวลี: DGE-'dun rgya-mtsho "ผู้มีจิตวิญญาณมหาสมุทรรุ่งโรจน์ประเสริฐของ อัสปีรันส์ " layname: Yonten Phuntsok) (2018 – 2084) เป็นองค์ทะไลลามะองค์ที่สอง แม้ว่าพระองค์จะไม่เป็นที่รู้จักโดยใช้พระนามว่าในช่วงพระชนม์ของพระองค์ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2018 หมวดหมู่:ทะไลลามะ หมวดหมู่:ชาวทิเบต.

ใหม่!!: ทะไลลามะและทะไลลามะ องค์ที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะ องค์ที่สาม

ทะไลลามะ องค์ที่สาม (2086 – 2131) เป็นพระองค์ที่ถูกสร้างขึ้นเป็น ดาไลลามะ แม้ว่าพระนามที่ได้รับย้อนหลังไปสองเล่มของพระองค์ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2086 หมวดหมู่:ชาวทิเบต หมวดหมู่:ทะไลลามะ.

ใหม่!!: ทะไลลามะและทะไลลามะ องค์ที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง

ทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง หรือที่เรียกกันว่าเกนดุน ดรัปและเกนดุน ดรุปถือเป็นทะไลลามะ องค์แรกในบรรดาดาไลลามะทั้งหมดของทิเบต ที่มีความเชื่อว่าจะเป็นนิรมานกายของ เชนเรซิง (สันสกฤต: Avalokiteshvara) พระโพธิสัตว์ ของ ความเมตตา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1934 หมวดหมู่:ทะไลลามะ หมวดหมู่:ชาวทิเบต หมวดหมู่:นักเขียนชาวทิเบต.

ใหม่!!: ทะไลลามะและทะไลลามะ องค์ที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะที่ 14

ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก.

ใหม่!!: ทะไลลามะและทะไลลามะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

เกลุก

นิกายเกลุก หรือ นิกายเกลุกปะ หรือ นิกายหมวกเหลือง พัฒนามาจากนิกายกดัมที่อาจารย์อตีศะวางรากฐานและและอาจารย์สองขะปะเป็นผู้ปฏิรูปหลักคำสอนของนิกายหมวกแดงแล้วตั้งนิกายใหม่ขึ้นเมื่อ นิกายเกลุกปะ หรือนิกายหมวกเหลือง เมื่อท่านมรณภาพได้สืบทอดตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดกานเด็นให้ เจล ซับเจ ถือเป็นจุดเริ่มต้นการสืบทอดผู้นำของสายนิกายเกลุก ผู้นำนิกายเกลุกในปัจจุบันคือผู้ดำรงตำแหน่งดาไล ลามะหรือทะไล ลามะ ซึ่งเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของทิเบตด้วย พระสงฆ์ในนิกายนี้ได้รับการยกย่องนับถือจากผู้ปกครองมองโกลว่าเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ และต่อมาถือว่าเป็นผู้ปกครองบ้านเมืองด้วย ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลตันข่าน พระองค์ได้พบประมุขสงฆ์องค์ที่ 3 ของนิกายเกลุกปะชื่อ สอดนัมยาโส พระองค์เกิดความเชื่อว่า พระสอดนัมยาโสนี้เป็นอาจารย์ของพระองค์ในชาติก่อนจึงเรียกพระสอดนัมยาโสว่า ทะเล หรือทะไล (Dalai) ตั้งแต่นั้นมาประมุขสงฆ์ของทิเบตจะถูกเรียกว่า ดาไลลามะ หรือทะไล ลามะ ทะไลลามะบางองค์ได้รับมอบอำนาจจากผู้นำมองโกลให้ปกครองประเทศทิเบตทั้งหมด ทำให้พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเจริญรุ่งเรือง จนถึงทะไลลามะองค์ที่ 7 (พ.ศ. 2351-2401) ทิเบตได้เข้าสู่ยุคของการปิดประตูอยู่โดดเดี่ยว เนื่องจากประสบความผันผวนและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ตามเหตุการณ์ของบ้านเมือง เช่น มีนักบวชคริสต์ศาสนาเดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนา ความสัมพันธ์กับประเทศอินเดียจางหาย จีนได้เข้าครอบครองทิเบตใน..

ใหม่!!: ทะไลลามะและเกลุก · ดูเพิ่มเติม »

เรทิงรินโปเช

รทิงรินโปเช องค์ที่ห้า ในปี 1938 เรทิงรินโปเช (ทิเบต: རྭ་སྒྲེང་རིན་པོ་ཆེ, rwa-sgreng rin-po-che, พินอิน: Razheng) เป็นตำแหน่งของเจ้าอาวาสวัดเรทิง ในตำบลลุนชุบ มณฑลลาซา ทางตอนกลางของทิเบต ซึ่งเป็นโรงเรียนสงฆ์สำคัญของพุทธศาสนานิกายเกลุก ตำแหน่งนี้สถาปนาขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตามประวัติศาสตร์ เรทิงรินโปเชจะเป็นผู้สรรหาองค์ทะไลลามะองค์ใหม่หลังจากองค์เดิมสิ้นพระชนม์ โดยจะใช้นิมิตตรวจดูว่าเด็กคนใดที่เป็นทะไลลามะองค์เดิมกลับชาติมาเกิดใหม่ ปัจจุบันมีผู้สืบตำแหน่งเรทิงรินโปเชมาแล้ว 7 รูป โดยเรทิงรินโปเชรูปที่ 6 ยังมีข้อขัดแย้งกันอยู่ว่าเป็นผู้ใด ระหว่างรูปที่ได้รับการสถาปนาโดยรัฐบาลทิเบตภายใต้การครอบงำของรัฐบาลจีน กับรูปที่ได้รับการสถาปนาโดยทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ ซึ่งลี้ภัยอยู่ในอินเดี.

ใหม่!!: ทะไลลามะและเรทิงรินโปเช · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Dalai Lamaองค์ดาไลลามะทะไล ลามะดาไล ลามะดาไลลามะดาไลลา่มะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »