โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทวี ณ บางช้าง

ดัชนี ทวี ณ บางช้าง

ทวี ณ บางช้าง หรือ ครูมารุต (? - 6 มิถุนายน พ.ศ. 2531) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย และนักแต่งเพลงไทย มีผลงานกำกับละครเวที ของคณะอัศวินการละคร และ คณะศิวารมย์ ร่วมกับ อำนวย กลัสนิมิ (ครูเนรมิต) เช่น เรื่อง พันท้ายนรสิงห์ ราชินีบอด ฯลฯ รวมทั้งกองภาพยนตร์ทหารอากาศ เป็นผู้แต่งคำร้องเพลงอมตะ รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ในภาพยนตร์ ชั่วฟ้าดินสล.

18 ความสัมพันธ์: ชั่วฟ้าดินสลายพ.ศ. 2531พันท้ายนรสิงห์พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508ละครเวทีสันติ-วีณาสาวเครือฟ้าอำนวย กลัสนิมิผู้กำกับภาพยนตร์ประเทศไทยนักแต่งเพลงน้ำตาแสงไต้แท้ ประกาศวุฒิสาร6 มิถุนายน

ชั่วฟ้าดินสลาย

ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและชั่วฟ้าดินสลาย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์

รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือในรัชสมัยพระเจ้าเสือ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ตอนปลายอาณาจักรอยุธยา โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัต.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและพันท้ายนรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)

ันท้ายนรสิงห์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2493 ในระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี รายละเอียดในแต่ละรายการประกอบด้วย.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและรายชื่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รายชื่อผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและรายชื่อผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

ละครเวที

ภาพวาด การแสดงละครเวทีเรื่อง Romeo and Juliet ละครเวทีละครเพลงซึ่งเน้นการร้องมากกว่า คาดกันว่าละครเวทีมีมาตั้งแต่สมัยกรีก อริสโตเติลบันทึกไว้ว่าละครของกรีก เริ่มต้น จุดเด่นของละครเวทีคือ การสื่อสารระหว่างผู้ชมกับนักแสดง การสื่อสารระหว่างผู้ชมและนักแสดงเกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน วอลเตอร์ เคอร์ นักวิจารณ์ชาวอเมริกันพูดถึงเรื่องนี้ไว้ว่า "ความสัมพันธ์ระหว่างคนดูกับนักแสดงเช่นนี้ไม่มีในภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์เป็นสิ่งที่สร้างมาสำเร็จรูปแล้ว มันไม่สามารถตอบสนองเราได้ เพราะนักแสดงในภาพยนตร์ไม่สามารถได้ยินเรา รู้สึกถึงตัวตนของเราและไม่ว่าเราจะมีปฏิกิริยาอย่างไรก็ไม่มีผลใดๆ" องค์ประกอบของละครเวที คือ การแสดงสดบนเวที ที่มีฉาก แสง เสียง ประกอบ และบทละคร คือ ส่วนที่สำคัญที่สุดในการทำละครทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งละครเวที เพราะมันคือ ตัวกำหนดองค์ประกอบอื่นๆ ทุกอย่างในละคร ไม่ว่าจะเป็น โครงของเรื่อง) ของนักแสดงด้วย หมวดหมู่:ศิลปะการแสดง.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและละครเวที · ดูเพิ่มเติม »

สันติ-วีณา

ันติ-วีณา (Santi-Vina) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและสันติ-วีณา · ดูเพิ่มเติม »

สาวเครือฟ้า

วเครือฟ้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและสาวเครือฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย กลัสนิมิ

ใจเพชร (2506) ชโลมเลือด (2506) พันธุ์ลูกหม้อ (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล (2509) อำนวย กลัสนิมิ หรือ ครูเนรมิต (พ.ศ. 2458 − 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและอำนวย กลัสนิมิ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กำกับภาพยนตร์

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ขณะกำกับภาพยนตร์ในกองถ่ายเรื่องเปนชู้กับผี ผู้กำกับภาพยนตร์ คือผู้ที่มีหน้าที่กำกับในขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ โดยผู้กำกับภาพยนตร์มีหน้าที่สร้างจินตนาการจากบทหนัง แล้วถ่ายทอดความคิดทางด้านศิลปะออกมาตามแบบที่ตนเองต้องการ และเป็นคนสั่งฝ่ายอื่น ๆ ในกองถ่าย อย่างเช่น ฝ่ายผู้กำกับภาพ ผู้กำกับการแสดง ฝ่ายเทคนิค นักแสดง ออกมาอยู่ในองค์ประกอบทางศิลป์ที่ตนเองต้องการบนแผ่นฟิล์มหรือในระบบดิจิตอล อย่างไรก็ดี ผู้กำกับภาพยนตร์อาจจะควบคุมทุกอย่างตามที่ตนคิดไว้ไม่ได้เสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นภาพยนตร์ที่ฉายในโรง เพราะผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ จะเป็นคนกำหนดงบประมาณที่จะให้ผู้กำกับใช้จ่ายได้ หรือสั่งตัดต่อหนังในขั้นตอนสุดท้ายก่อนเข้าโรงฉายหากหนังมีความยาวเกินไป หรือเพื่อดึงการจัดเรตหนังให้ต่ำลงมา หรือบางฉากอาจจะมีการเพิ่มโฆษณาเข้าไป ดังนั้นเป็นเรื่องที่ไม่แปลกหากผู้กำกับจะมีปัญหาให้คุยกับผู้อำนวยการสร้างเสมอ.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและผู้กำกับภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักแต่งเพลง

นักแต่งเพลง หมายถึง ผู้ที่ทำการประพันธ์ทำนอง และ/หรือ ผู้ที่ทำการประพันธ์คำร้อง โดย เพลง ประกอบไปด้วยโครงสร้างหลักๆ 2 ส่วน คือ ทำนอง และ คำร้อง (เนื้อเพลง) การแต่งเพลง ในสมัยแรกๆ ผู้ประพันธ์ทำนอง และ ผู้ประพันธ์คำร้อง มักจะเป็นคนๆเดียวกัน ต่อมาการแต่งเพลงพัฒนาไปตามแบบอย่างสากล คือ การสร้างเพลงมักจะถูกประพันธ์ทำนองขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงค่อยประพันธ์คำร้อง.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและนักแต่งเพลง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาแสงไต้

ลงน้ำตาแสงไต้ เป็นเพลงประกอบละครเรื่อง "พันท้ายนรสิงห์" ที่จัดแสดงที่ศาลาเฉลิมไทย เมื่อ..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและน้ำตาแสงไต้ · ดูเพิ่มเติม »

แท้ ประกาศวุฒิสาร

แท้ ประกาศวุฒิสาร (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 -) ผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับภาพยนตร์ แห่งบริษัทภาพยนตร์ไทยไตรมิตร ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและแท้ ประกาศวุฒิสาร · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทวี ณ บางช้างและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มารุตครูมารุต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »