โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ดัชนี ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

101 ความสัมพันธ์: ชลัฏ ณ สงขลาชลิต เฟื่องอารมย์ชุมพร เทพพิทักษ์พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พญาละแวกพระมณีรัตนาพระราเมศวรพระวิสุทธิกษัตรีย์พระสุพรรณกัลยาพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้านันทบุเรงพระเทพกษัตรีย์พร้อมมิตร โปรดักชั่นพิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์ญาณิกา ทองประยูรฐากูร การทิพย์ภาพยนตร์ภาษาพม่าภาษามอญภาษาไทยมหาบุรุษซามูไรมังกะยอชวามงคล อุทกมนตรี เจนอักษรยะมะดะ นะงะมะซะรอง เค้ามูลคดีรอน บรรจงสร้างรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20วันชนะ สวัสดีวินธัย สุวารีศรัณยู วงษ์กระจ่างศักราช ฤกษ์ธำรงค์ศิรพันธ์ วัฒนจินดาศุภกรณ์ กิจสุวรรณสมภพ เบญจาธิกุลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสมเด็จพระเอกาทศรถสรพงศ์ ชาตรีสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสันติสุข พรหมศิริสุชาดา เช็คลีย์สุรศักดิ์ วงษ์ไทย...สุริโยไทสุเนตร ชุตินธรานนท์สีเทา เพ็ชรเจริญสถาพร นาควิไลโรจน์หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคลหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคลหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลอภิรดี ภวภูตานนท์อำภา ภูษิตอคัมย์สิริ สุวรรณศุขจักรกฤษณ์ อำมรัตน์จิรายุ ละอองมณีจงเจต วัชรานันท์ธนวรรธน์ วรรธนะภูติถนอม นวลอนันต์ทราย เจริญปุระทักษอร ภักดิ์สุขเจริญณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ดอม เหตระกูลดิลก ทองวัฒนาดี๋ ดอกมะดันครรชิต ขวัญประชาคะซุกิ ยะโนะตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรงตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีฉัตรชัย เปล่งพานิชประวัติศาสตร์ประเทศนิวซีแลนด์ปราปต์ปฎล สุวรรณบางปวีณา ชารีฟสกุลนพชัย ชัยนามนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์นรธาเมงสอนะฉิ่นเหน่าง์นิรุตติ์ ศิริจรรยาโกวิท วัฒนกุลไพโรจน์ ใจสิงห์ไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008เกรซ มหาดำรงค์กุลเกศริน เอกธวัชกุลเศรษฐา ศิระฉายาเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (ภาพยนตร์ไตรภาค)เดือนเต็ม สาลิตุลเต็มฟ้า กฤษณายุธ11 ธันวาคม ขยายดัชนี (51 มากกว่า) »

ชลัฏ ณ สงขลา

ลัฏ ณ สงขลา (1 ตุลาคม พ.ศ. 2522) ชื่อเล่น หนึ่ง เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง น.ช. นักโทษชาย เมื่อปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและชลัฏ ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ชลิต เฟื่องอารมย์

ลิต เฟื่องอารมย์ (ชื่อเล่น: ตุ่ม) เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานการแสดงสร้างชื่ออย่าง ฉันผู้ชายนะยะ ซึ่งเป็นละครเวทีที่โด่งดังมาก ตระเวนเดินสายแสดงไปทั่วประเทศในยุคนั้น มีผลงานภาพยนตร์ ที่รับเป็นพระเอกอย่างเรื่อง อารมณ์ และ รักริษยา ส่วนผลงานละครในยุคปัจจุบัน เช่น นิมิตรมาร และ ความลับของซูเปอร์สตาร์ ทางด้านชีวิตส่วนตัว เป็นพี่ชายของนักร้อง ชรัส เฟื่องอารมย์ เคยมีผลงานเพลงดูโอร่วมกันในชุด ชรัส-ชลิต และ คนแปลกหน้า ในปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและชลิต เฟื่องอารมย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพร เทพพิทักษ์

มพร เทพพิทักษ์ (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 − 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น เดียร์ นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้กำกับภาพยนตร์ มีชื่อจริงว่า คมสันต์ เทพพิทักษ์ เกิดที่จังหวัดชุมพรเมื่อปี พ.ศ. 2482 จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดขันเงินและโรงเรียนศรียาภัย เดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย โดยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังเดียวกับ พล.ต.ท.วรรณรัตน์ คชรัตน์ (อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และ ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544) ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้อง แต่ขณะที่เรียนเมื่ออายุได้ 17 ปี ต้องโทษจำคุกในคดีฆาตกรรมด้วยอาวุธปืน และรับสารภาพ จึงถูกลดโทษเหลือ 25 ปี จากนั้นได้รับการลดหย่อนโทษเรื่อยมา จนได้รับอิสรภาพในที่สุด ในระหว่างต้องโทษ อยู่ห้องขังเดียวกับ แคล้ว ธนิกุล เข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการเป็นนักแสดงบทร้ายแทน ประจวบ ฤกษ์ยามดี นักแสดงบทตัวร้ายที่ไม่สบาย ด้วยความที่หน้าตาตล้ายกัน จากการชักชวนของ ปริญญา ทัศนียกุล และ ลือชัย นฤนาท ในเรื่อง คมแสนคม ในปี พ.ศ. 2507 ตามด้วยบทตัวร้ายมาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2511 มีผลงานละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม, ช่อง 5 และช่อง 7 ในยุคแพร่ภาพระบบขาวดำ ด้วยการพลิกบทบาทมารับบทเป็นพระเอกบ้าง ซึ่งก็ได้รับการวิจารณ์ในตอนต้นว่า คนดูจะรับได้หรือไม่กับการที่ผู้ร้ายในแบบภาพยนตร์ใหญ่ มารับบทพระเอกในแบบละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทพระเอกแนวลูกทุ่งหรือแอ็คชั่น และถือว่าประสบความสำเร็จพอสมควร ต่อมาเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ มีผลงานมากมาย อาทิ ถุยชีวิต (พ.ศ. 2521), นักสู้ภูธร ในปีเดียวกัน, ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก (พ.ศ. 2522) และที่ประสบความสำเร็จที่สุดคือ แหกค่ายนรกเดียนเบียนฟู ในปี พ.ศ. 2520 ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และได้รับรางวัลอื่น ๆ รวมทั้งหมด 5 รางวัล และยังคงมีผลงานออกมาเป็นระยะๆ เช่น บางระจัน (พ.ศ. 2543),โหมโรง(พ.ศ. 2547), ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (พ.ศ. 2550), รักสยามเท่าฟ้า (พ.ศ. 2551), 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร (พ.ศ. 2552) ผลงานละครโทรทัศน์ได้แก่ สุสานคนเป็น (พ.ศ. 2545) ธิดาวานร 2 (พ.ศ. 2552) และ เงาพราย (พ.ศ. 2554) ผลงานละครเรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนกระทิง และผลงานภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายคือเรื่อง ขุนพันธ์ (พ.ศ. 2559) ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ มยุรี เทพพิทักษ์ (นามสกุลเดิม-ศรีสินธุ์อุไร) มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนั้นเป็นนักร้องและนักแสดงที่มีชื่อเสียง คือ ศรราม เทพพิทักษ์ ชุมพรมีอาการป่วยด้วยโรคเส้นเลือดในสมองตีบตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและชุมพร เทพพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พญาละแวก

ญาละแวก หรือ พระยาละแวก เป็นคำศัพท์ในพงศาวดารไทย ใช้เรียกกษัตริย์เขมรหลังจากอาณาจักรเขมรถูกสยามตีแตก และย้ายเมืองหลวงจากเมืองพระนครมาอยู่ที่พนมเปญ (พ.ศ. 1974) และต่อมาย้ายไปอยู่ที่ละแวก ระหว่าง พ.ศ. 2059 - พ.ศ. 2136 สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพญาละแวก · ดูเพิ่มเติม »

พระมณีรัตนา

ระมณีรัตนา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งอาณาจักรอยุธยา เริ่มรับราชการฝ่ายในตั้งแต่พระราชสวามีปราบดาภิเษก และให้ประสูติกาลพระราชบุตรอย่างน้อยหนึ่งพระอง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมณีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

พระราเมศวร

ระราเมศวร เป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสในพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมากเป็นพระอิสริยยศของพระราชโอรสพระองค์ใหญ่และอยู่ในที่จะรับรัชทายาทต่อไป อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราเมศวร · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิกษัตรีย์

ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระวิสุทธิกษัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพกษัตรีย์

มเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 102-104 หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเทพกษัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมมิตร โปรดักชั่น

ริษัท พร้อมมิตร โปรดักชั่น จำกัด (อังกฤษ: Prommitr Production Co., Ltd.) เดิมชื่อ พร้อมมิตรภาพยนตร์ เป็นบริษัทจำกัด สร้างภาพยนตร์ไทยและผลิตสื่อบันเทิงประเภทต่าง ๆ ก่อตั้งโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือ ท่านมุ้ย ชื่อบริษัทมาจากชื่อซอยที่ตั้งของ วังละโว้และโรงถ่าย ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ปัจจุบัน มีสำนักงาน ณ เลขที่ 52/25 หมู่ 13 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงและเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร และมีโรงถ่ายทำภาพยนตร์ขนาดใหญ่ (พร้อมมิตร สตูดิโอ) ที่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผลิตและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 จนถึงปัจจุบัน ผลงานเรื่องเด่น ๆ ได้แก่ สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 และภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ระหว่างปี พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2557 นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทนจำหน่ายการ์ดเกมที่มีเนื้อหาจากภาพยนตร์และภาพยนตร์การ์ตูนต่าง ๆ อีกด้วย เช่น ยูกิโอ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพร้อมมิตร โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์

มพ์พรรณ ชลายนคุปต์ (ชื่อเล่น: พิม) เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย การศึกษา จบปริญญาตรี บริหารการเงิน มหาวิทยาลัยกรุงเทพเข้าสู่วงการจากการประกวด Miss Motor Show ปี 2543 โดยได้ตำแหน่งชนะเลิศ มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่องคืนบาป พรหมพิราม ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลสุพรรณหงส์ ประจำปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ญาณิกา ทองประยูร

ญาณิกา ทองประยูร ชื่อเล่น: โฟน.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและญาณิกา ทองประยูร · ดูเพิ่มเติม »

ฐากูร การทิพย์

กูร การทิพย์ หรือ ป๊อป เป็น นักแสดง นักร้อง และ นายแบบ ชาวไทย เป็นนักแสดงกลุ่มเพาวเวอร์ทรี สังกัด สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 แจ้งเกิดจากเวทีประกวดร้องเพลง "เดอะซิงเกอร์" (The Singer) ครั้งที่ 1 ด้วยการผ่านเข้ารอบ 10 คนสุดท้าย และผลงานที่ทำให้เป็นที่รู้จักคือ "ชลนที" ในละคร รักนี้หัวใจมีครี.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและฐากูร การทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาษามอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาบุรุษซามูไร

มหาบุรุษซามูไร (The Last Samurai) หรือซามูไรคนสุดท้าย เป็นประเภทผจญภัย สงคราม-ดราม่า ซึ่งออกฉายครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมหาบุรุษซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อุทก

มงคล อุทก หรือ หว่อง คาราวาน เป็นนักดนตรีเพื่อชีวิตและจิตรกรชาวไทย หนึ่งในสี่สมาชิกหลักของ คาราวาน เป็นอดีตสมาชิกวงบังคลาเทศแบนด์ ร่วมกับทองกราน ทานา (อืด) ก่อนจะร่วมกับวงดนตรีของสุรชัย จันทิมาธร ก่อตั้งเป็นวงคาราวาน เมื่อ..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมงคล อุทก · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี เจนอักษร

มนตรี เจนอักษร (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) นักแสดง นักพากย์ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จากบทอาโยะ ชาวเขาในภาพยนตร์เรื่อง คนภูเขา กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ซึ่งได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และ ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัล ราชบัณฑิตยสถานสรรเสริญ..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมนตรี เจนอักษร · ดูเพิ่มเติม »

ยะมะดะ นะงะมะซะ

มาดะ นางามาซะ หรือ ออกญาเสนาภิมุข (山田長政 Yamada Nagamasa; พ.ศ. 2113 — พ.ศ. 2173) เป็นซามูไรชาวญี่ปุ่น ที่เข้ามารับราชการ ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ออกญาเสนาภิมุข ยามาดะ นางามาซะ เดินทางเข้ามากรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม โดยเดินทางกลับมาพร้อมกับคณะทูตจำนวน 60 คน ที่พระเจ้าทรงธรรมทรงส่งไปถึงเมืองเอโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) ในวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและยะมะดะ นะงะมะซะ · ดูเพิ่มเติม »

รอง เค้ามูลคดี

รอง เค้ามูลคดี หรือ คเณศ เค้ามูลคดี (26 กันยายน พ.ศ. 2490 -) ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์-ละครโทรทัศน์) ประจำปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรอง เค้ามูลคดี · ดูเพิ่มเติม »

รอน บรรจงสร้าง

| bgcolour.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรอน บรรจงสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผลเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20

รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20 ประจำปี 2554 จัดโดยชมรมวิจารณ์บันเทิง ประกาศผู้ได้รับการเสนอชื่อเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

วันชนะ สวัสดี

ันเอก วันชนะ สวัสดี (26 สิงหาคม 2515) ผู้ช่วยโฆษกกระทรวงกลาโหม รองผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและตุลาการศาทหารกรุงเทพฯ เป็นทหารบกชาวไทย และเป็นนักแสดง มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวันชนะ สวัสดี · ดูเพิ่มเติม »

วินธัย สุวารี

ันเอก(พิเศษ) วินธัย สุวารี (ชื่อเล่น: ต๊อด; เกิด: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นโฆษกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และโฆษกกองทัพบกและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงเด่นในการรับบทเป็น สมเด็จพระเอกาทศรถ จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวินธัย สุวารี · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535, วันนี้ที่รอคอย ในปี พ.ศ. 2536 สารวัตรใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537, เลือดเข้าตา ในปี พ.ศ. 2538, หัวใจศิลา ในปี พ.ศ. 2550, อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า ในปี พ.ศ. 2553, พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ในปี พ.ศ. 2553, รักไม่มีวันตาย ในปี พ.ศ. 2554 และเคยมีบทบาทเป็นนักแสดงนำครั้งหนึ่งในภาพยนตร์เรื่อง เชอรี่ แอน ในปี พ.ศ. 2544 โดยแสดงคู่กับ แอนนี่ บรู๊ค และ ชฎาพร รัตนากร โดยถือเป็นนักแสดงประจำในภาพยนตร์จากการกำกับของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล (หม่อมน้อย) ชีวิตส่วนตัว จบการศึกษาจากโรงเรียนจ่าอากาศ และเป็นนักกีฬาบาสเก็ตบอลของทีมทหารอากาศ โดยเล่นในประเภทถ้ว.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิรพันธ์ วัฒนจินดา

รพันธ์ วัฒนจินดา (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) ชื่อเล่น นุ่น เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท จบการศึกษาระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลลำปาง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย และระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ชีวิตส่วนตัว สมรสกับพิธีกรและนักออกแบบ ท็อป - พิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร หลังจากคบหาดูใจกันมาทั้งหมด 8 ปี เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศิรพันธ์ วัฒนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ

รับบท หลวงศรียศ ใน สุริโยไท (2544) ศุภกร กิจสุวรรณ เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ที่อุทัยธานี ชื่อเล่น ต๊อก เป็นนักแสดงภาพยนตร์และละครเวที เคยรับบทนำจากบท แผน จากภาพยนตร์ มนต์รักทรานซิสเตอร์ (2544) ของเป็นเอก รัตนเรือง และ ขุนกระบี่ ผีระบาด (2547) ก่อนหน้านั้น เคยมีบทประกอบเด่นเป็น ปุ๊ ระเบิดขวด จาก 2499 อันธพาลครองเมือง (2540) ของนนทรีย์ นิมิบุตร และ เสือมเหศวร จาก ฟ้าทะลายโจร ของ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ จบการศึกษาจากระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร และระดับชั้นอุดมศึกษาจาก มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เริ่มงานจากการเป็นนักเต้นให้กับนักร้อง เจตริน วรรธนะสิน ถ่ายโฆษณา และมิวสิกวิดีโอ เคยร้องเพลงประกอบภาพยนตร์หลายเรื่อง เช่น มนต์รักทรานซิสเตอร์, โกลคลับ ปัจจุบันก็ทำงานเพลง แต่ยังไม่มีผลงานวางจำหน่าย สมรสกับ ทัศรินทร์ พันธุ์แพ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศุภกรณ์ กิจสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ เบญจาธิกุล

มภพ เบญจาทิกุล นักแสดงชายอาวุโส เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2488 จบการศึกษาระดับปว.จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง จบระดับปว.สาขาช่างไฟฟ้าจากสถาบันเทคโนโลยีช่างกลปทุมวัน มีชื่อเสียงมาจากการรับบทเกย์ในภาพยนตร์เรื่อง นางแบบมหาภัย จากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. 2518 ซึ่งนับว่าเป็นบทชายรักชายครั้งแรกในวงการภาพยนตร์ไทยเลยก็ได้ว่า และทำให้คนไทยได้รู้จักกับคำว่า "เกย์" เป็นครั้งแรก จากนั้นก็ได้แสดงในหลายต่อหลายเรื่องตามมา โดยมากจะเป็นบทร้าย แต่บางครั้งก็รับบทเป็นพระเอก เช่น ชายกลาง ใน บ้านทรายทอง ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2520 คู่กับ ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ปัจจุบัน สมภพ เบญจาทิกุล มีบทบาทการแสดงเป็นตัวประกอบบ้างและบทของพ่อบ้าง ผลงานในระยะหลังได้รับการการกล่าวขานว่าแสดงได้สมบทบาท จนมีชื่อเข้าชิงรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมหลายครั้ง จากหลายเรื่อง เช่น คืนบาปพรหมพิราม ในปี พ.ศ. 2546, โหมโรง ในปี พ.ศ. 2547 และบทของ พระเจ้าบุเรงนอง จาก ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมภพ เบญจาธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สันติสุข พรหมศิริ

มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาดา เช็คลีย์

็คลีย์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2541) ชื่อเล่น ดาด้า มีผลงานการที่สร้างชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค๑ โดยรับบทเป็น มณีจันทร์ ในวัยเด็ก และก็มีผลงานออกมาเรื่อยๆ จนกระทั่งปี2555 ได้มีละครเรื่อง มือปราบพ่อลูกอ่อน โดยสุชาดาเริ่มเข้าวงการบันเทิง ปี 2546.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสุชาดา เช็คลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ วงษ์ไทย

รศักดิ์ วงศ์ไทย (เอ็ม) เกิดวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2508 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสุรศักดิ์ วงษ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสุเนตร ชุตินธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สีเทา เพ็ชรเจริญ

ีเทา เพ็ชรเจริญ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ สีเทา มีชื่อจริงว่า จรัล เพ็ชรเจริญ เป็นดาราตลกอาวุโส มีบุคลิกเด่นคือแสดงตลกด้วยหน้าตาท่าทาง ลักษณะหลังโกง พุงป่อง เหมือน "เท่ง" ตัวตลกดาราหนังตะลุง ของทางภาคใต้ และถูกนำบุคลิกไปสร้างเป็นตัวการ์ตูนในแอนิเมชันเรื่อง "แดร็กคูล่าต๊อก โชว์".

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสีเทา เพ็ชรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สถาพร นาควิไลโรจน์

ร นาควิไลโรจน์ มีชื่อเล่นว่า ถา เกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2508 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นนักแสดงชาวไทย ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสิงห์สมุทร และจบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นโดมอนแมนคนแรกของประเทศไทย (ปี ค.ศ. 1986) หลังจากนั้นได้ถ่ายแบบลงนิตยสารหลายฉบับ จนมาได้มีผลงานการแสดงเรื่องแรกจาก ภาพยนตร์เรื่อง มันเป็นอย่างนี้ได้ยังไง แสดงร่วมกับรัชนี ศิระเลิศ มีผลงานแสดงละครหลายเรื่องอย่าง อย่างละคร ปัญญาชนก้นครัว, ช่อปาริชาต, สี่แผ่นดิน, นาคราช, ในฝัน, มายา, แชมม์ชีวิต, วงศาคณาญาติ, ปราบพยศ, โก๋ตี๋กี๋หมวย, ดงดอกเหมย, อีพริ้งคนเริงเมือง, เรือนนพเก้า, ขมิ้นกับปูน, และ คลื่นชีวิต เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นนักร้อง ออกผลงานอัลบั้มกับค่ายเอสพี ศุภมิตร มีผลงานอัลบั้มที่ชื่อ ต่อไปนี้ และ ได้เสีย นอกจากนั้นยังเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับละคร เรื่องแรกคือ เรื่อง ผีเสื้อและดอกไม้.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสถาพร นาควิไลโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมกมลา ยุคล ณ อ..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) นักตัดต่อ / นักลำดับภาพ หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล เป็นพระธิดาคนโตของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล กับหม่อมวิยะดา (บุษปวานิช).

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล หรือที่นิยมเรียกกันว่า คุณชายอดัม เป็นโอรสในหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2528 จบการศึกษาด้านการสร้างภาพยนตร์จากประเทศออสเตรเลีย ม.ร.ว.เฉลิมชาตรีรับหน้าที่เป็นผู้กำกับกองสามของภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายหลังปิดกล้อง ได้ดูแลงานด้านสื่ออินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ภาพยนตร์ ลิขสิทธิ์สินค้า การ์ดเกมส์ หนังสือปูมเบื้องหลัง ตลอดจนสื่อสนับสนุนภาพยนตร์ (Promotional Merchandise) ทุกชนิด ปัจจุบันได้รับเป็นวิทยากรพิเศษให้แก่มหาวิทยาลัยชั้นนำ อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) เป็นต้น โดยรับหน้าที่บรรยายเทคนิคการสร้างภาพยนตร์ รวมถึงรายละเอียดที่ปรากฏในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 อีกด้วย นอกจากนี้ ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยังได้เปิดให้บริการเว็บไซต์ FuKDuK (ฟุ๊คดุ๊ค) หรือ บริการทีวีที่มีช่องรายการของตัวเองผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และจัดรายการวิทยุเป็นประจำอยู่ที่คลื่นความคิด F.M. 96.5 Mhz ในเครือข่ายขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อสมท.).

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

อภิรดี ภวภูตานนท์

อภิรดี ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (23 กันยายน พ.ศ. 2508-ปัจจุบัน) เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอภิรดี ภวภูตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำภา ภูษิต

อำภา ภูษิต (เกิด 11 เมษายน พ.ศ. 2502) ชื่อเกิด อำภา ภูษิตสวัสดิ์ ชื่อเล่น แอ๊ว เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง ฟ้าหลังฝน (พ.ศ. 2521) และเป็นนางเอกภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง ปัจจุบันยังรับงานแสดงละครโทรทัศน.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำภา ภูษิต · ดูเพิ่มเติม »

อคัมย์สิริ สุวรรณศุข

อคัมย์สิริ สุวรรณศุข เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานดังเรื่องรอยรักรอยบาป, ขุนเดช, ลิลลี่สีกุหลาบ, คือหัตถาครองพิภพ, สุสานคนเป็น, ลิขิตริษยา, คนเริงเมือง.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอคัมย์สิริ สุวรรณศุข · ดูเพิ่มเติม »

จักรกฤษณ์ อำมรัตน์

วสวิศร์ ศตพิพัฒน์ เป็นที่รู้จักในชื่อเดิมว่า จักรกฤษณ์ อำมรัตน์ ชื่อเล่น ต้น (25 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักแสดงชายชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นตำรวจในละครหลายเรื่อง อาทิ ล่า (2537) เลือดเข้าตา (2538) และ โปลิศจับขโมย (2539).

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจักรกฤษณ์ อำมรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ละอองมณี

รายุ ละอองมณี (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น เก้า เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจิรายุ ละอองมณี · ดูเพิ่มเติม »

จงเจต วัชรานันท์

นาวาอากาศเอก จงเจต วัชรานันท์ (ชื่อเล่น: โน้ต) เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักในการรับบทเป็น นัดจินหน่อง หรือ พระสังขทัต ในภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจงเจต วัชรานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ

นวรรธน์ วรรธนะภูติ ชื่อเล่น โป๊ป เกิดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานแสดงละครโทรทัศน์ ทางไทยทีวีสีช่อง 3 โดยมีผลงานละครสร้างชื่อ เรื่อง ดอกส้มสีทอง คุณชายปวรรุจ สามีตีตรา และ บุพเพสันนิวาส ประชาชนตั้งให้เป็นคู่ขวัญ กับ ราณี แคมเปน หรือ รู้จักกันในชื่อ เบลล่า ราณี.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและธนวรรธน์ วรรธนะภูติ · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม นวลอนันต์

ตำรวจ ถนอม นวลอนันต์ อดีตนักแสดงตลกชาวไทย และนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและถนอม นวลอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทราย เจริญปุระ

ทราย เจริญปุระ (23 ธันวาคม พ.ศ. 2523 -) มีชื่อจริงว่า อินทิรา เจริญปุระ มีชื่อเล่นว่า "ทราย" เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย เป็นบุตรสาวของอดีตนักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง รุจน์ รณภพ มีศักดิ์เป็นน้องสาวต่างมารดากับใหม่ เจริญปุร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและทราย เจริญปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ เป็นศิลปินนักแสดงชาวไทย ประจำสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (เดิมชื่อ นัฏฐิกา หรือ ณัฏฐิกา) หรือ น้ำผึ้ง เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2521 เป็น นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้ประกาศข่าว.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอม เหตระกูล

อม เหตระกูล เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นนักแสดง พิธีกร และนายแบบไทย เป็นบุตรชายคนโตของนายประชา เหตระกูล ประธานผู้บริหารหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ การศึกษาประถม - มัธยมปลายจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ และปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ ภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการวิทยาลัยนานาชาติ เข้าสู่วงการจากการชักชวนของคุณมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เริ่มด้วยการประกวดหนุ่มแพรว จากนั้นมีผลงานการแสดงด้วยการเป็นดารารับเชิญใน เจ้าพ่อจำเป็น รักหลอก ๆ อย่าบอกใคร รักเธอเสมอ (เรือ) พอใกล้เรียนจบจึงได้เป็นพระเอกเต็มตัวใน เสือ โจรพันธุ์เสือ, ล่าระเบิดเมือง มีงานละครทางช่อง 3 เช่น เรื่องกัลปังหา, เขยลิเก, 5 คม, เล่ห์ลับสลับร่าง ทางช่อง 5 เรื่อง แสนแสบ และเป็นพิธีกรรายการ กระตุกหนามเตย ด้านชีวิตส่วนตัว ดอมสมรสกับ ก้อย - ศศิลักษณ์ ฝ่ายจำปา มีบุตรสาว 1 คน และมีธุรกิจส่วนตัวคือ บริษัท บริทไบค์ จำกัด ซึ่งนำเข้าและเป็นตัวแทนจำหน่ายมอเตอร์ไซค์ แบรนด์ Triumph.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและดอม เหตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ดิลก ทองวัฒนา

ลก ทองวัฒนา (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ชื่อเล่น หมู เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรของนายสมชัยและนางวัฒนา มีพี่น้อง 4 คน เป็นคนที่ 2 มีภูมิลำเนาอยู่ที่ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท จบการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเป็นศิษย์การแสดงของช่อง 3 รุ่นแรก เข้าสู่วงการโดยการชักนำของคุณวรายุฑ มิลินทจินดา แสดงละครเรื่อง นางทาส รับบทพระเอกเล่นคู่กับ นิภาพร นงนุช มีผลงานละครสร้างชื่อคือละครเรื่อง พฤกษาสวาท และยังเป็นพิธีกรให้รายการ เกมชิงหลัก ของเจเอสแอล เคยได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ในสาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่นจากละคร 3 เรื่องคือ กามนิต-วาสิฏฐี (2529), ไฟล้างไฟ (2546) และ สวรรค์เบี่ยง (2551) ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงอิสระ ด้านชีวิตส่วนตัวนับถือศาสนาคริสต์ มีบุตร 2 คนจากภรรยาคนแรก คนโตเป็นผู้ชาย และคนเล็กเป็นผู้หญิง ปัจจุบันสมรสใหม่กับ เกรซ ชนินทร ทองวัฒน.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและดิลก ทองวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

ครรชิต ขวัญประชา

รรชิต ขวัญประชา นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อาวุโสชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 เข้าสู่วงการบันเทิงในปี พ.ศ. 2511 และมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการรับบท ภูวนาท หรือ อินทรีแดง (ตัวปลอม) จากภาพยนตร์เรื่อง อินทรีทอง ในปี พ.ศ. 2513 ซึ่งเป็นตัวร้ายในเรื่อง ที่ทำให้ โรม ฤทธิไกร ซึ่งเป็นอินทรีแดงตัวจริง ที่แสดงโดย มิตร ชัยบัญชา ต้องเปลี่ยนไปใส่ชุดสีทองเป็นอินทรีทองเพื่อที่จะจัดการกับอินทรีแดงตัวปลอมนี้ ซึ่งถือเป็นภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายในชีวิตการแสดงของมิตร ชัยบัญชา อีกด้วย รับบท เสือใบ ใน สุภาพบุรุษเสือใบ ปี พ.ศ. 2514 นอกจากนี้ได้ร่วมแสดงใน ครูสมศรี และผลงานกำกับภาพยนตร์ด้วยตนเอง ร่วมกับ จรินทร์ พรหมรังสี ปี พ.ศ. 2528 เรื่อง ที่รัก เธออยู่ไหน นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี, นันทิดา แก้วบัวสาย, พอเจตน์ แก่นเพชร และพุ่มพวง ดวงจันทร์ ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ที่ร่วมแสดงในระยะหลังได้แก่ สุริโยไท และฟ้าทะลายโจร ปี พ.ศ. 2544, คลอเรสเตอรอลที่รัก ปี พ.ศ. 2547, โหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและครรชิต ขวัญประชา · ดูเพิ่มเติม »

คะซุกิ ยะโนะ

ซุกิ ยาโนะ เกิดวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ที่ประเทศญี่ปุ่น เป็นนักแสดงละครใบ้ชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและคะซุกิ ยะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา หรือ ภาคปฐมวัย เป็นภาพยนตร์ภาคแรกของภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดย ปรัชฌา สนั่นวัฒนานนท์, จิรายุ ละอองมณี, สุชาดา เช็คลีย์, โชติ บัวสุวรรณ, สรพงษ์ ชาตรี, ปวีณา ชารีฟสกุล, สมภพ เบญจาธิกุล, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, สันติสุข พรหมศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, เกรซ มหาดำรงค์กุล บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี เป็นภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ภาคที่สามในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยในภาคนี้จะกล่าวถึงสงครามระหว่างไทยและพม่า เน้นฉากสงครามทางเรือ กำหนดฉายในวันที่ 31 มีนาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง เป็นภาพยนตร์ภาคที่สี่ในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เปล่งพานิช

ฉัตรชัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย มีชื่อเล่นว่า นก เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรชายของ พล.ต.อ.ถวิล เปล่งพานิช ชีวิตวัยเด็กต้องย้ายที่อยู่ตามอาชีพราชการของบิดา เข้าเรียนหนังสือในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนสตรีวรนารถ แล้วไปต่อที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ จนจบมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับปริญญาตรี ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและฉัตรชัย เปล่งพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง

ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและปราปต์ปฎล สุวรรณบาง · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา ชารีฟสกุล

ปวีณา ชารีฟสกุล เกิดเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เป็นบุตรคนที่ 2 ของนายชูศักดิ์ และนางวิภาวัลย์ ชารีฟสกุล จบการศึกษาจากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จากนั้นศึกษาต่อที่โรงเรียนอาชีวศิลป์ศึกษา เธอเข้าไปสมัครเล่นเกมโชว์ ในรายการ เอาไปเลย ดำเนินรายการโดยไตรภพ ลิมปพัทธ์ ซึ่งไตรภพเห็นว่ามีหน่วยก้านดีจึงชักชวนมาเป็นผู้ช่วยพิธีกร แต่ทำได้เพียงเดือนกว่ากันตนาก็ชักชวนเธอไปเล่นละคร แสดงเรื่องแรกคือ แม่น้ำ และแสดงอีกหลายเรื่องเช่นเรื่อง ลูกแม่ ต่อจากนั้นอิทธิ พลางกูรชักชวนเธอทำผลงานเพลง ออกผลงานชุด นัดกันแล้ว และ นี่แหละตัวฉัน กับค่ายครีเอเทีย ได้รับการตอบรับพอสมควร ในเวลาต่อมาค่ายเพลงที่เธอสังกัดอยู่ก็ประสบปัญหาจึงปิดตัวไป ทำให้เธอต้องหยุดผลงานเพลงเช่นเดียวกัน ต่อมาเธอโอนไปสังกัด เอสพี ศุภมิตร และออกผลงานอัลบั้มชุด ไม่ใช่ของเล่น ที่มียอดขายกว่าแสนตลับ ส่วนด้านการแสดง เธอได้รับบทบาทที่หลากหลายทั้งบทนำ และบทรอง แต่ความสำเร็จในอาชีพการแสดงของเธอนั้นมาถึงเมื่อเธอได้รับการเสนอเข้าชิงในสาขาดาราประกอบฝ่ายหญิง ทั้งจากงานตุ๊กตาทองและงานภาพยนตร์แห่งชาติ จากผลงานการแสดงเรื่อง คนทรงเจ้า และต่อมาเธอก็ได้รับรางวัลด้านการแสดงสาขานางเอกนำดีเด่น จากงานภาพยนตร์แห่งชาติครั้งที่ 1 และ ได้รับรางวัลแสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง จากภาพยนตร์ เวลาในขวดแก้ว ผลงานแสดงในยุคหลังเธอยังแสดงใน ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และภาพยนตร์ ลองของ 2.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและปวีณา ชารีฟสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นพชัย ชัยนาม

นพชัย ชัยนาม (ชื่อเล่น: ปีเตอร์) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน มีบทบาทการแสดงเป็นที่จดจำจากเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็น "บุญทิ้ง" หรือ "ออกพระราชมนู" นพชัยสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพชัยเริ่มเข้าสู่วงการ โดยการถ่ายภาพยนตร์โฆษณา สเปรย์รอยัล จากนั้นมีผลงานแสดงละคร เช่น เจ้าสาวของอานนท์ สะพานดาว เลือกแล้วคือเธอ ฯ จากนั้นได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนพชัย ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ หรือ นภัสกร มิตรเอม(ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2515 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาบริหารอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนานาชาติ มีชื่อเสียงมาจากการรับบทนำในภาพยนตร์เรื่อง ฅนปีมะ (พ.ศ. 2546) จากการกำกับของ โน้ต เชิญยิ้ม จากนั้นก็ได้มีผลงานตามมาอีก), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) โดยมากจะรับบทก่อนที่จะรับบท "มังกะยอชวา" อุปราชวังหน้าของราชวงศ์ตองอู ซึ่งเป็นคู่ปรับสำคัญของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2554) จากการกำกับของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ผลงานทางด้านละครโทรทัศน์ ได้แก่ ตม, เรือนรักเรือนทาส, หัวใจรักข้ามภพ เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับอาหาร คือ ถึงพริกถึงขิง ออกอากาศทาง2515alive.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

นะฉิ่นเหน่าง์

นะฉิ่นเหน่าง์ (Natshinnaung; နတ်သျှင်နောင်) หรือ พระสังขทัต ตามพงศาวดารไทย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าตองอู (สีหตู) อันเป็นพระอนุชาของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง นะฉิ่นเหน่าง์นั้นเป็นที่เลื่องลือในพม่าว่าเป็นมีความสามารถด้านการกวีสูงอย่างยิ่งและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎกเป็นอย่างมาก ต่อมานะฉิ่นเหน่าง์ได้ปกครองเมืองตองอูต่อจากบิดา ต่อมาได้เป็นผู้วางยาพิษปลงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ในช่วงนั้นเครือข่ายอำนาจของพม่าแตกออกเป็นสามขั้วคือ อังวะ แปร และตองอู พระเจ้าอังวะคือ พระเจ้าอโนเพตลุน ได้ยึดเมืองแปรได้ นะฉิ่นเหน่าง์เห็นว่าเมืองตองอูคงไม่อาจสามารถต่อสู้กับอังวะได้จึงสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นมี สมเด็จพระเอกาทศรถปกครองอยู่ ต่อมาพระเจ้าอังวะได้บุกเมืองตองอู นะฉิ่นเหน่าง์ได้ขอความช่วยเหลือต่อกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงให้นายพลฟิลิปป์ เดอ บริโต ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสยกทัพไปช่วย แต่ไปไม่ทันเมืองตองอูก็แตกซะก่อน นะฉิ่นเหน่าง์จึงหนีไปที่เมืองสิเรียมกับนายพลฟิลิป เดอ บริโตและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ พระเจ้าอังวะสั่งให้ฟิลิปป์ เดอบริโตส่งตัวนะฉิ่นเหน่าง์มาให้ตน แต่นายพลเดอบริโตไม่ยอมพระเจ้าอังวะจึงเข้าโจมตีเมืองสิเรียมในปี พ.ศ. 2156 แล้วจับนายพลฟิลิปป์ เดอ บริโตไปตรึงกางเขนและบังคับให้นะฉิ่นเหน่าง์มานับถือพุทธแต่ไม่ยอมจึงถูกประหารชีวิต.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนะฉิ่นเหน่าง์ · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ ใจสิงห์

รจน์ ใจสิงห์ เป็นนักแสดงอาวุโส ที่เข้าสู่วงการตั้งแต่ พ.ศ. 2514 และมีชื่อเสียงเป็นนักแสดงนำ ช่วง พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2516 แล้วจึงหันมารับบทตัวรอง หลากหลาย ทั้งพระเอก ผู้ร้าย บทตัวพ่อ บทตลก จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและไพโรจน์ ใจสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008

นน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008 เป็นการประกาศผลรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส สำหรับบุคคลและผลงานดีเด่นในรอบปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและไนน์เอ็นเตอร์เทนอวอร์ดส 2008 · ดูเพิ่มเติม »

เกรซ มหาดำรงค์กุล

กรซ มหาดำรงค์กุล (1 ตุลาคม พ.ศ. 2512) ชื่อเล่น เกรซ เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเกรซ มหาดำรงค์กุล · ดูเพิ่มเติม »

เกศริน เอกธวัชกุล

กศริน เอกธวัชกุล เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเกศริน เอกธวัชกุล · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐา ศิระฉายา

รษฐา ศิระฉายา (ชื่อเล่น ต้อย 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 -) เป็นพิธีกร, นักแสดง และอดีตนักร้องนำวงสตริง ดิอิมพอสซิเบิ้ล เป็นวงสตริงคอมโบที่ประสบความสำเร็จและยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับวงดนตรีรุ่นหลังจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2554 เศรษฐาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ปัจจุบันเศรษฐายังเป็นประธานมูลนิธิสวัสดิการนักแสดงอาว.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเศรษฐา ศิระฉายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (ภาพยนตร์ไตรภาค)

นตร์ไตรภาค เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ประกอบด้วยภาพยนตร์สามเรื่องในแนวมหากาพย์แฟนตาซี ได้แก่ อภินิหารแหวนครองพิภพ (พ.ศ. 2544), ศึกหอคอยคู่กู้พิภพ (พ.ศ. 2545) และ มหาสงครามชิงพิภพ (พ.ศ. 2546) สร้างขึ้นจากนิยายเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ งานประพันธ์ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เหตุการณ์ในเรื่องเกิดขึ้นบนโลกในจินตนาการ มิดเดิลเอิร์ธ เกี่ยวกับการเดินทางของฮอบบิทผู้หนึ่งชื่อ โฟรโด แบ๊กกิ้นส์ และเพื่อนของเขา ที่จำเป็นต้องรับภารกิจในการทำลาย แหวนเอกธำมรงค์ เพื่อโค่นอำนาจของจอมมารมืดเซารอน พร้อมกันนั้น พ่อมดแกนดัล์ฟ และอารากอร์น ทายาทบัลลังก์กอนดอร์ ได้รวบรวมเหล่าอิสระชนแห่งมิดเดิลเอิร์ธเข้าร่วมในสงครามแหวน เพื่อเปิดทางให้โฟรโดสามารถปฏิบัติภารกิจได้สำเร็จ เนื้อความในฉบับนิยายถูกดัดแปลงเป็นบทภาพยนตร์โดย ปีเตอร์ แจ็กสัน ร่วมกับ แฟรน วอลช์ และ ฟิลิปปา โบเยนส์ โดยมีนิวไลน์ ซีนีม่า เป็นผู้จัดจำหน่าย โครงการสร้างภาพยนตร์ไตรภาคชุดนี้ถือเป็นโครงการขนาดใหญ่มากที่สุดโครงการหนึ่งที่เคยเกิดขึ้น ด้วยทุนสร้างสูงถึง 280 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และใช้เวลาตลอดโครงการนานถึง 8 ปี โดยถ่ายทำภาพยนตร์ทั้งสามภาคไปในคราวเดียวกันทั้งหมด ที่ประเทศนิวซีแลนด์ บ้านเกิดของปีเตอร์ แจ็กสันเอง ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จทางด้านการเงินอย่างมาก โดยติดอันดับภาพยนตร์ทำเงินตลอดกาลในลำดับที่ 27, ที่ 20 และ ที่ 6 เรียงตามลำดับ และได้รับรางวัลออสการ์รวมทั้งสิ้น 17 รางวัล รวมถึงเสียงชื่นชมทั้งส่วนของนักแสดงและเทคนิคพิเศษ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (ภาพยนตร์ไตรภาค) · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็ม สาลิตุล

ือนเต็ม สาลิตุล หรือ 'ตุ๊ก' นักแสดงหญิงเจ้าบทบาท ที่มีผลงานทั้งทางละครทีวีและภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อแรกเข้าวงการใช้ชื่อในการแสดงว่า เดือนเต็ม เผ่าทองสุข เข้าสู่วงการครั้งแรก จากการชักชวนของ อารีย์ นักดนตรี เมื่อปี..

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเดือนเต็ม สาลิตุล · ดูเพิ่มเติม »

เต็มฟ้า กฤษณายุธ

ต็มฟ้า กฤษณายุธ เป็นนักร้อง นักแสดง นางแบบ และอดีตนักกีฬายิมนาสติกลีลาทีมชาติไทย เต็มฟ้าจบการศึกษาจาก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ (EBA Program) ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 และเป็นลูกสาวของ แหวน ฐิติมา สุตสุนทร นักร้องในสังกัด จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ กับบรรเจิด กฤษณ.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเต็มฟ้า กฤษณายุธ · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »