โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตะวัน วนิดา

ดัชนี ตะวัน วนิดา

ตะวัน วนิดา มีชื่อจริงว่า บุญประคอง เนียมคำ (สกุลเดิม วรรณยิ่ง) หรือเพื่อนๆ เรียกว่า เก๋ เป็นนักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักตั้งแต่ปี..

7 ความสัมพันธ์: สุนารี ราชสีมาอรวี สัจจานนท์จินตนา สุขสถิตย์ดาวใจ ไพจิตรประเทศไทยนักแต่งเพลงไพจิตร อักษรณรงค์

สุนารี ราชสีมา

นารี ราชสีมา (16 มีนาคม พ.ศ. 2511 - ปัจจุบัน) เป็นนักร้องและราชินีเพลงลูกทุ่งไทยจากเมืองย่าโม สุนารีมีความโดดเด่นในเรื่อง Range เสียงคือมีช่วงเสียงที่กว้าง (สามารถร้องโน้ตต่ำและโน้ตสูงได้ดี) และเสียงหนาเป็นเอกลักษณ์มักหาคนเลียนแบบได้ยาก นอกจากนี้แล้วสุนารีสามารถร้องเพลงโดยสื่ออารมณ์ผ่านเสียงร้องออกมาได้เป็นอย่างดี มีไวเบรโต้หรือลูกคอที่หาตัวจับยาก ด้วยเหตุนี้เพลงของสุนารีจึงเป็นเพลงที่ร้องยากเป็นอย่างมากทั้งการถ่ายทอดอารมณ์ เสียงต่ำ และเสียงสูง เช่นเพลง "จำเสี่ยงเลี้ยงพ่อ" เป็นเพลงที่ได้การโหวตจากนักร้องประกวดว่าเป็นเพลงที่ร้องยากมากที่สุด รวมถึงเพลง "กลับไปถามเมียดูก่อน" ที่มีท่อนที่เสียงต่ำสุดและสูงสุด ยากต่อการร้องเพลงมากๆ แต่ สุนารีก็ถ่ายทอดออกมาอย่างดีมาก เพลงนี้มีชื่อเสียงถึงขีดสุด เนื่องจากยุคนั้นเป็นยุคที่คาเฟ่กำลังเฟื่องฟู นักร้องคาเฟ่นิยมนำมาร้อง ทำให้เพลงนี้เป็นที่นิยมเป็นอย่างสูง โดยสุนารีมีผลงานสร้างชื่อจากเพลง "กราบเท้าย่าโม", "สุดท้ายที่กรุงเทพ" และอีกมากม.

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและสุนารี ราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

อรวี สัจจานนท์

อรวี สัจจานนท์ นักร้องหญิงคุณภาพแถวหน้ากับฉายา "นักร้องเสียงระฆังแก้ว" ที่เราเคยแว่วคุ้นกับน้ำเสียงอันแสนหวานมากว่ายี่สิบปี..นับพันบทเพลงที่เธอคนนี้ถ่ายทอดด้วยหัวใจกับความมุ่งมั่นตั้งใจในเจตนารมณ์ที่จะขอสืบสานตำนานเพลงลูกกรุงไว้ให้คงอยู่เป็นมรดกล้ำค่าของแผ่นดิน..จากหลากหลายอัลบั้มผลงานเพลงหวานของวันวานที่ได้รับกระแสตอบรับและพลิกฟื้นชีวิตเพลงลูกกรุงให้กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งจนสามารถสร้างปรากฏการณ์ให้กับวงการเพลงลูกกรุงด้วยการสร้างสถิติทำยอดขายเกินล้านตลับในหลายอัลบั้มซึ่งมีผลให้บทเพลงหลายๆบทเพลงกลับมาโด่งดังอีกครั้ง อาทิ แว่วเสียงซึง, ส่วนเกิน, สนามอารมณ์, รักต้องห้าม, ช่างร้ายเหลือ, หนึ่งหญิงสองชาย, แม่สาย, สายน้ำไม่ไหลกลับ ฯลฯ เกิดเมื่อวันพุธที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและอรวี สัจจานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จินตนา สุขสถิตย์

นตนา สุขสถิตย์ หรือ จินตนา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (6 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - ปัจจุบัน) นักร้องเพลงไทยสากล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล - ขับร้อง)..

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและจินตนา สุขสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวใจ ไพจิตร

วใจ ไพจิตร หรือ ดร.เตือนใจ สุจริตกุล (12 ธันวาคม 2497 -) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงที่มีชื่อเสียง เคยเป็นนักร้องประจำวงสุนทราภรณ์ (ความจริงมีหลักฐานว่าไม่เคย) ก่อนจะออกมาร้องเพลงเดี่ยว มีผลงานร้องเพลงกว่า 1000 เพลง.

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและดาวใจ ไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักแต่งเพลง

นักแต่งเพลง หมายถึง ผู้ที่ทำการประพันธ์ทำนอง และ/หรือ ผู้ที่ทำการประพันธ์คำร้อง โดย เพลง ประกอบไปด้วยโครงสร้างหลักๆ 2 ส่วน คือ ทำนอง และ คำร้อง (เนื้อเพลง) การแต่งเพลง ในสมัยแรกๆ ผู้ประพันธ์ทำนอง และ ผู้ประพันธ์คำร้อง มักจะเป็นคนๆเดียวกัน ต่อมาการแต่งเพลงพัฒนาไปตามแบบอย่างสากล คือ การสร้างเพลงมักจะถูกประพันธ์ทำนองขึ้นมาก่อน จากนั้นจึงค่อยประพันธ์คำร้อง.

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและนักแต่งเพลง · ดูเพิ่มเติม »

ไพจิตร อักษรณรงค์

ตร อักษรณรงค์ (ชื่อเล่น: จุ๋ง) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2504 อดีตนักร้องสังกัด นิธิทัศน์ โปรโมชั่น คีตา เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ และอโซนา มีชื่อเสียงจากผลงานเพลง คิดถึงฉันบ้างคืนนี้ ซึ่งออกมาในราวปี พ.ศ. 2523 นอกจากนี้ไพจิตรยังมีผลงานละครโทรทัศน์เรื่อง ข้าวนอกนา เมืองโพล้เพล้ ทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และเรื่อง ไฟรักอสูร ทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ไพจิตรจบปริญญาตรี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชีวิตส่วนตัว เคยสมรสกับ คณิต อุทยานสิงห์ หรือนิค นิรนาม นักร้องเพลงเพื่อชีวิต ปัจจุบันสมรสกับ วิสา คัญทัพ กวี นักร้อง และนักแต่งเพลงเพื่อชีวิต ปัจจุบันไพจิตรเป็นสมาชิกแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน โดยมักจะขึ้นแสดงดนตรีบนเวทีปราศรัยของ นป.แดงทั้งแผ่นดิน คู่กับ วิสา คัญทัพ อยู่เสมอ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ไพจิตรจัดแสดงคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกในชีวิต โดยใช้ชื่อว่า วิจิตรเสียง สำเนียงไพจิตร ที่ห้องคอนเวนชันฮอลล์ ชั้น 6 ศูนย์การค้า อิมพีเรียลเวิลด์ (บิ๊กซี) สาขาลาดพร้าว ต่อมาเมื่อมีการก่อรัฐประหาร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ตะวัน วนิดาและไพจิตร อักษรณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »