โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน

ดัชนี ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน

ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน (جبران خليل جبران) หรือ คาห์ลีล จิบราน (Kahlil Gibran,; 6 มกราคม พ.ศ. 2426 – 10 เมษายน พ.ศ. 2474) เป็นกวี, นักเขียน และศิลปินชาวเลบานอน มีผลงานที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ปรัชญาชีวิต (The Prophet) ซึ่งเป็นตัวอย่างของงานเขียนแนวสร้างแรงบันดาลใจ (inspirational fiction) เขาเป็นกวีที่มีผลงานขายดีตลอดกาลเป็นอันดับ 3 รองจากเชกสเปียร์และเล่าจื๊อ.

27 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2426พ.ศ. 2474กวีกวีนิพนธ์ภาษาอาหรับภาษาซีรีแอกวัณโรควิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์วิลเลียม เชกสเปียร์ศิลปินสหรัฐจักรวรรดิออตโตมันจิตรกรรมคาร์ล ยุงประเทศเลบานอนปรัชญาปรัชญาชีวิต (หนังสือ)นักเขียนนิทานคติสอนใจนครนิวยอร์กโรคตับแข็งโอกุสต์ รอแด็งเรื่องสั้นเล่าจื๊อเทววิทยา10 เมษายน6 มกราคม

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

กวี

กวี หมายถึง ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทร้อยกรองในรูปฉันทลักษณ์อันหมายถึงแบบข้อบังคับสัมผัส วรรคตอน และถ้อยคำให้เรียงร้อยรับกันอย่างเหมาะเจาะไพเราะด้วยจังหวะและน้ำหนักของคำที่กำหนดไว้ โดยทั่วไป อาจจำแนกแบบฉันทลักษณ์ออกเป็น 7 ชนิดด้วยกันคือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต และกลบท มักใช้คำนี้ในภาษาแบบแผนหรือภาษาการประพันธ์ในวรรณคดีโบราณ และอาจรวมถึงปัจจุบัน โดยปร..หมายถึง ผู้ชำนาญในการประพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นบทร้อยกรอง หรือวรรณกรรมในรูปแบบอื่นๆ โดยมีความหมายในเชิงยกย่อง.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและกวี · ดูเพิ่มเติม »

กวีนิพนธ์

กวีนิพนธ์ (Poetry, Poem, Poesy) คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษา เพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม โดยเป็นคำประพันธ์ที่กวีแต่ง เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้ คำที่มีความหมายทำนองเดียวกันได้แก่ ร้อยกรอง ซึ่งหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ กวีนิพนธ์ และร้อยกรอง ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานท์ กานท์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ กวีนิพนธ์ และ ร้อยกรอง มาในยุคสมัยหนึ่ง ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี หรือ นักกวี บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึง.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและกวีนิพนธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีรีแอก

อกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาซีรีแอก (Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและภาษาซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ (William Butler Yeats) หรือ ดับเบิลยู.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและวิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปิน

ศิลปิน (artist) เป็นกลุ่มบุคคลที่แสดงความคิดออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้สัญลักษณ์ การแสดงออกทางร่างกาย การใช้เสียง การใช้อุปกรณ์ หรือการวาด หมวดหมู่:ศิลปะ หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ยุง

ร์ล กุสทัฟ ยุง (Carl Gustav Jung; 26 กรกฎาคม 1875 – 6 มิถุนายน 1961) เป็นนักจิตบำบัดและจิตแพทย์ชาวสวิส ผู้ก่อตั้งสำนักจิตวิทยาวิเคราะห์ ยุงเสนอและพัฒนามโนทัศน์บุคลิกภาพแบบแสดงตัวและเก็บตัว แม่แบบ (Archetype) และจิตไร้สำนึกร่วม (Collective Unconscious) ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อจิตเวชศาสตร์และศาสนา วรรณกรรม และสาขาที่เกี่ยวข้อง ยุงสร้างมโนทัศน์ทางจิตวิทยาอันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวางที่สุด รวมทั้งต้นแบบ จิตไร้สำนึกร่วม ปม (complex) และประสบการณ์เหตุการณ์ซ้อน (Synchronicity) ตัวชี้วัดของไมเออร์ส-บริกส์ (MBTI) เครื่องมือจิตวิทยาที่ได้รับความนิยมมากในการทำความเข้าใจบุคลิกภาพแบบต่างๆก็พัฒนามาจากทฤษฎีของยุง อันที่จริงยุงกล่าวว่าทุกคนมีแนวโน้มจะเป็นทั้งคนเก็บตัว (Introvert) และแสดงตัว (Extrovert) ส่วนหน้าที่การทำงานของจิตต่างๆคือ การคิด, ความรู้สึก, ผัสสาการ และ ญาณหยั่งรู้ และมนุษย์เราควรพัฒนาตนโดยการใช้หน้าที่ทางจิตเหล่านั้นให้ครบและสมดุล เพื่อจะได้มีชีวิตที่สมบูรณ์ทั่วถ้วน ยุงเล่าว่าการพัฒนาบุคลิกภาพเพียงด้านเดียว เช่น ตีกรอบบุคลิกภาพตัวเองให้เข้ากับแม่แบบบุคลิกภาพแบบใดแบบหนึ่งมากเกินไป อาจจะเป็นหัวโขนทางหน้าที่การงานที่เราใส่ อาจเป็นกรอบผู้มีคุณธรรมตามหลักจารีตจนทำให้มีทัศนคติขาวดำสุดโต่งไปด้านเดียว หรือแม้แต่การใช้หน้าที่การทำงานบางอย่างของจิตมากจนเกินไป ทำให้บุคลิกภาพขาดความสมดุล คนที่ใช้ชีวิตด้วยทัศนคติสุดโต่งด้านเดียวมามาก ถึงเวลาหนึ่งจะรู้สึกว่าชีวิตตัวเองกลวงเปล่า อึดอัดคับข้อง มีอะไรขาดหายไม่สมบูรณ์ ทว่ายุงสามารถใช้การวิเคราะห์ทางจิต เพื่อให้บุคคลนั้นตระหนักรู้ได้ว่าเขาละเลยบุคลิกภาพด้านไหนของตนไป ซึ่งการวิเคราะห์นี้สามารถทำได้ผ่านทั้ง Active Imagination หรือผ่านการทำความเข้าใจความฝัน ความฝันนั้นก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่จะทำให้มนุษย์สามารถเข้าถึงข้อมูลในจิตไร้สำนึกของตนได้ ใน Approaching the Unconscious ยุงกล่าวว่า "มนุษย์ไม่อาจเข้าใจอะไรหลายอย่างได้อย่างสมบูรณ์ จึงต้องใช้สัญลักษณ์ ทว่าการใช้สัญลักษณ์แบบรู้เนื้อรู้ตัวเป็นแค่ด้านหนึ่งของจิต จริงๆแล้วจิตมนุษย์สามารถสร้างสัญลักษณ์โดยไร้สำนึกและฉับพลัน ในรูปแบบของความฝัน" เมื่อเราทราบว่าอะไรเป็นสิ่งที่ละเลยไปจากบุคลิกภาพก็สามารถที่จะพัฒนาได้ เช่น อาจะใช้ "ความรู้สึก" มากกว่า "ความคิด" หรือใช้ "ความหยั่งรู้จากพลังงานทางจิตสู่โลกด้านใน (Introverted Intuition)" มากกว่าความรู้จาก "ประสาทสัมผัสจากโลกภายนอก (Extroverted Sensing)" เราก็สามารถจะพัฒนาด้านที่ละเลยให้เกิดความสมดุลและบริบูรณ์ขึ้น หรือถ้าเราใส่หัวโขนคุณธรรมมากไปจนมองเห็นแต่ด้านชั่วร้ายของคนอื่น เรียกอีกอย่างว่าฉายเงาของตน (project one's Shadow) ไปที่ผู้อื่น เราก็สามารถกลับมามองดูจิต เฉกเช่นการภาวนาให้เห็นอีกสภาวะที่เราไม่เคยรับรู้ในจิตตนมาก่อน ซึ่งจะทำให้เข้าใจตนเองได้อย่างสมบูรณ์ขึ้น เมื่อสิ่งที่ไม่เคยถูกรู้ ถูกรู้ ก็เรียกได้ว่า มันออกมาจากจิตไร้สำนึกสู่จิตสำนึกรู้แล้ว กระบวนการแบบนี้สามารถจะเกิดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ บุคลิกภาพของเราจะได้จัดตำแหน่งศูนย์กลางใหม่เรื่อยๆ โดยมีการหลอมรวมเอาข้อมูลในจิตไร้สำนึกเข้ามาไว้ตรงกลาง เสมือนภาพวงมณฑลที่ผสานรวมขั้วตรงข้ามไว้ได้อย่างกลมกลืนและบริบูรณ์ เราอาจเรียกกระบวนการดังกล่าวว่า "การกลายเป็นปัจเจก" (Individuation) ซึ่งแน่นอนว่าเราย่อมพบกับความโดดเดี่ยวในกระบวนการ ยกตัวอย่างการวิวัฒน์บุคลิกภาพตัวเองในบริบทของสังคม จากเดิมเราอาจต้องทำตามแบบบุคลิกภาพตามคนอื่นในสังคมไปเรื่อย อะไรที่คนอื่นบอกว่าดีก็ต้องทำอย่างนั้นเพื่อให้เป็นที่ยอมรับ แน่นอนว่าจะมีหลายๆด้านที่เราต้องเก็บงำจนถึงขั้นลืมไปว่าเราก็มีสภาวะแบบนั้นเหมือนกัน เมื่อใดก็ตามเราเริ่มตระหนักในคุณลักษณะที่เราละเลยไป คนในสังคมอาจจะเริ่มมองว่าเราเป็นแกะดำ เพราะฉะนั้นมันเป็นกระบวนการที่อาจแยกเราจากฝูงชน และอาจพบความรู้สึกเดียวดายในเบื้องแรก ถ้าเปรียบกับการเดินทางของวีรบุคคลตามแนวคิดของ Joseph Campbell ซึ่งปรากฏใน A Hero with a Thousand Faces แล้วความโดดเดี่ยวนั้นปรากฏในช่วงแยกจากที่มั่นอันปลอดภัยของตนหรือ "Departure" นั่นเอง ยุงมองว่าจิตใจของมนุษย์ "เลื่อมใสในศาสนาโดยธรรมชาติ" และทำให้ความเลื่อมใสในศาสนานี้เป็นความสนใจของการค้นพบของเขา ยุงเป็นหนึ่งในผู้มีส่วนในการวิเคราะห์และตีความสัญลักษณ์ความฝันร่วมสมัยที่รู้จักกันดีที่สุด ผลงานส่วนใหญ่ในชีวิตของเขาอยู่ในสาขาการเล่นแร่แปรธาตุหรือรสายนเวท ปรัชญาตะวันออกและตะวันตก ดาราศาสตร์และสังคมวิทยา เช่นเดียวกับวรรณกรรมและศิลปะ ในส่วนของการเล่นแร่แปรธาตุนั้น โดยผิวเผินแล้วเราจะเห็นว่ามีความพยายามจะแปลงเหล็กให้กลายเป็นทอง (ภาษาลาตินเรียกทองว่า Aurum) และเป็นทองที่ไม่ธรรมดาด้วย ดั่งคำที่พวกเขากล่าวว่า "Aurum nostrum non est aurum vulgi" ด้วยว่าความมุ่งหมายที่ลึกลงไปของนักเล่นแร่แปรธาตุคือ พวกเขาพยายามทำสิ่งต่างๆนอกเหนือไปจากธาตุที่เอามาทดลอง ให้สมบูรณ์เท่าที่สารัตถะของสิ่งเหล่านั้นจะเป็นได้ นั่นหมายรวมถึงโลกภายในของมนุษย์ที่เชื่อมโยงอยู่กับสสาร เมื่อมีการกระทำบางอย่างต่อสสารในโลกภายนอก โลกภายในของนักเล่นแร่แปรธาตุก็ได้รับผลกระทบด้วย เสมือนว่าโลกภายในของพวกเขาถูกโปรเจกไปที่สสารภายนอก เพราะฉะนั้น เมื่อเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงสสารไปสู่ธาตุบริสุทธิ์ จิตใจของนักเล่นแร่แปรธาตุก็เปลี่ยนด้วย พวกเขาใช้กระบวนการดังกล่าวเพื่อภาวนาจนเกิดการพัฒนาบุคลิกภาพภายในและเข้าถึงความบริบูรณ์ดั่งธาตุทองคำ ดังนั้นกระบวนการนี้จึงเหมือนกับกระบวนการกลายเป็นปัจเจกของยุง (Individuation).

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและคาร์ล ยุง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอน

ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยอ้างว่า การอยู่ของซีเรียเป็นประหนึ่งการยึดครองโดยอำนาจต่างชาต.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญาชีวิต (หนังสือ)

ปรัชญาชีวิต (The Prophet) เป็นกวีนิพนธ์รวมเล่ม แต่งโดยญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและปรัชญาชีวิต (หนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและนักเขียน · ดูเพิ่มเติม »

นิทานคติสอนใจ

การกลับมาของลูก จากภาพ “The return of the prodigal son” โดย แรมบรังด์ นิทานคติสอนใจ (Parable) หมายถึงวรรณกรรมหรือโคลงกลอนสั้นๆ ที่แฝงคำสอนหรือบทเรียนทางจริยธรรม หรือทางศาสนา “นิทานคติสอนใจ” ต่างจาก “นิทานอุทาหรณ์” (Fable) ตรงที่นิทานเฟเบิลจะใช้สัตว์ ต้นไม้ สิ่งของ หรือธรรมชาติเป็นองค์ประกอบของเรื่อง ขณะที่องค์ประกอบของ “ตำนานแฝงคำสอน” จะเป็นมนุษย์ นักวิชาการทางพันธสัญญาใหม่จะใช้คำว่า “นิทานคติสอนใจ” เฉพาะนิทานคติสอนใจที่เกี่ยวกับพระเยซูเท่านั้นJohn P. Meier, “A Marginal Jew”, volume II, Doubleday, 1994.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและนิทานคติสอนใจ · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โรคตับแข็ง

รคตับแข็ง เป็นภาวะซึ่งเป็นผลจากโรคตับเรื้อรัง มีลักษณะเฉพาะคือการมีเนื้อเยื่อพังผืดเกิดขึ้นในเนื้อตับ ดึงรั้งเนื้อตับดีจนเป็นผิวตะปุ่มตะป่ำเรียกว่า regenerative nodule ทำให้ตับเสียการทำงานลงไป ตับแข็งมักเกิดขึ้นเป็นผลจากพิษสุราเรื้อรัง ตับอักเสบจากไวรัส (โดยเฉพาะจากไวรัสตับอักเสบบีและซี) และโรคตับคั่งไขมัน รวมถึงสาเหตุอื่น ๆ อีกหลายอย่าง ภาวะแทรกซ้อนจากตับแข็งที่พบบ่อยคือภาวะท้องมาน ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างมากกับการสูญเสียคุณภาพชีวิต เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และผลเสียในระยะยาว ภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตคือโรคสมองที่เกิดจากตับ (hepatic encephalopathy) และการมีเลือดออกจากหลอดเลือดขอดในหลอดอาหาร (esophageal varices) ตับแข็งนั้นเมื่อเกิดแล้วมักไม่สามารถกลับเป็นปกติได้ การรักษาจึงมักมุ่งไปที่การยับยั้งการดำเนินโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน หากเป็นมากอาจมีทางเลือกในการรักษาเพียงทางเดียวคือการผ่าตัดเปลี่ยนตั.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและโรคตับแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

โอกุสต์ รอแด็ง

อกุสต์ รอแด็ง (Auguste Rodin) มีชื่อเต็มว่า ฟร็องซัว-โอกุสต์-เรอเน รอแด็ง (François-Auguste-René Rodin; 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1917) เป็นประติมากรและจิตรกรชาวฝรั่งเศส รอแด็งเริ่มศึกษาประติมากรรมที่ปารีส มีชื่อเสียงจากการสร้างรูปปั้นจำลอง งานชิ้นหลัง ๆ ของเขาได้รับแรงบันดาลใจจากดังเตกวีคนสำคัญ โดยผลงานชิ้นสำคัญได้แก่ ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากฉากในกวีนิพนธ์ “ไฟนรก” (Inferno) ของดังเต และรูปปั้น ที่นำเสนอภาพของดังเตเมื่อยามครุ่นคิด แม้ว่ารอแด็งจะถือกันว่าเป็นผู้ที่มีส่วนริเริ่มการประติมากรรมสมัยใหม่แต่ความจริงแล้วรอแด็งมิได้มีความตั้งใจจะปฏิรูปศิลปะแบบที่ทำกันมา รอแด็งได้รับการศึกษาจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส (Académie des beaux-arts) การสร้างงานก็เป็นไปตามวิธีช่างอย่างที่เรียนมาเพื่อที่จะได้เป็นที่ยอมรับกันทางสถาบัน Hale, 76.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและโอกุสต์ รอแด็ง · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องสั้น

รื่องสั้น คือ บันเทิงเรียงความร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะปูโครงเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสำคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรื่องสั้นคือ มักมีเหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเป็นคู่ ฉากคู่ จำนวนตัวละครมีมากหรือน้อยก็ได้ และมีระยะเวลาตั้งแต่ต้นจนจบเรื่องไม่นานนัก สามารถให้อารมณ์ได้เช่นเดียวกับนวน.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและเรื่องสั้น · ดูเพิ่มเติม »

เล่าจื๊อ

ล่าจื๊อ, จาก ''ไมท์แอนด์ลีเจนส์ออฟไชน่า'', ค.ศ. 1922 โดย อี.ที.ซี. เวอร์เนอร์ เล่าจื๊อ (Lao Zi หรือ Lao Tzu) นักปรัชญาชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมืองยุคชุนชิว เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "เต๋าเต็กเก็ง" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทางลัทธิเต๋าที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทางเต๋า ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและเล่าจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและเทววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอนและ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คาลิล ยิบราน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »