โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซีเกมส์

ดัชนี ซีเกมส์

ซีเกมส์ (South-East Asian Games; ชื่อย่อ: SEA Games) เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสองปี (ปีเว้นปี) ดำเนินการแข่งขันโดยสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South-East Asian Games Federation; SEAGF) ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA).

133 ความสัมพันธ์: บันดาร์เซอรีเบอกาวันพ.ศ. 2491พ.ศ. 2495พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2504พ.ศ. 2506พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2514พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2520พ.ศ. 2522พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2530พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พ.ศ. 2544พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พ.ศ. 2562พ.ศ. 2564พ.ศ. 2566พ.ศ. 2568พลเอกพุทธศักราชพนมเปญกรุงเทพมหานครกรีฑาสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์การกีฬาแห่งประเทศไทยกีฬากีฬาแหลมทอง 1959กีฬาแหลมทอง 1961กีฬาแหลมทอง 1963...กีฬาแหลมทอง 1965กีฬาแหลมทอง 1967กีฬาแหลมทอง 1969กีฬาแหลมทอง 1971กีฬาแหลมทอง 1973กีฬาแหลมทอง 1975กีฬาโอลิมปิกภาษาอังกฤษภูมิภาคมะนิลามาลายายุทธศักดิ์ ศศิประภาย่างกุ้งราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)ราชอาณาจักรลาวรายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่าสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศสนามกีฬาแห่งชาติหลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ์ สุขุม)อาณานิคมสิงคโปร์ฮานอยจังหวัดชลบุรีจังหวัดลากูนาจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดเชียงใหม่จาการ์ตาถนนพระรามที่ 1คณะกรรมการโอลิมปิกสากลคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทยซีเกมส์ 1977ซีเกมส์ 1979ซีเกมส์ 1981ซีเกมส์ 1983ซีเกมส์ 1985ซีเกมส์ 1987ซีเกมส์ 1989ซีเกมส์ 1991ซีเกมส์ 1993ซีเกมส์ 1995ซีเกมส์ 1997ซีเกมส์ 1999ซีเกมส์ 2001ซีเกมส์ 2003ซีเกมส์ 2005ซีเกมส์ 2007ซีเกมส์ 2009ซีเกมส์ 2011ซีเกมส์ 2013ซีเกมส์ 2015ซีเกมส์ 2017ซีเกมส์ 2019ซีเกมส์ 2021ซีเกมส์ 2023ซีเกมส์ 2025ประเทศบรูไนประเทศฟิลิปปินส์ประเทศพม่าประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศอินโดนีเซียประเทศติมอร์-เลสเตประเทศไทยประเทศเวียดนามประเทศเวียดนามใต้ปาเล็มบังนักกีฬาโอลิมปิกเฉพาะบุคคลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000นครโฮจิมินห์นครเซบูโอลิมปิกฤดูร้อน 2000เวียงจันทน์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียนเกมส์เอเชียนเกมส์ 1958เขตปทุมวันเนปยีดอ12 ธันวาคม17 ธันวาคม22 พฤษภาคม26 มิถุนายน ขยายดัชนี (83 มากกว่า) »

บันดาร์เซอรีเบอกาวัน

ันดาร์เซอรีเบอกาวันสำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: ซีเกมส์และบันดาร์เซอรีเบอกาวัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2562

ทธศักราช 2562 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2019 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2562 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2564

ทธศักราช 2564 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2021 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2564 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2566

ทธศักราช 2566 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2023 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2566 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพ.ศ. 2568 · ดูเพิ่มเติม »

พลเอก

ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพลเอก · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาสถานแห่งชาติ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกรีฑาสถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การกีฬาแห่งประเทศไทย

การกีฬาแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กกท.; Sports Authority of Thailand; SAT) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 286 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และการกีฬาแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬา

กีฬาในวัยเด็ก จากภาพคือกีฬาฟุตบอล กีฬาประเภททีมที่ให้โอกาสในการออกกำลังกายและเพิ่มทักษะในการปฏิสัมพันธ์ กีฬา เป็นกิจกรรมหรือการเล่นเพื่อความสนุกเพลิดเพลินหรือเพื่อความแข็งแรงของร่างกาย หรือเพื่อผ่อนคลายความเคร่งเครียดทางจิต รวมไปถึงกิจกรรมปกติหรือทักษะที่อยู่ภายใต้กติกาซึ่งถูกกำหนดโดยความเห็นที่ตรงกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพักผ่อน การแข่งขัน ความเพลิดเพลิน ความสำเร็จ การพัฒนาของทักษะ หรือหลายสิ่งรวมกัน กีฬาเป็นกิจกรรมที่ควบคู่กับการแข่งขัน และระบบคะแนน กีฬาหลายประเภทได้มีการจัดการแข่งขันในระดับเขต ประเทศ และระดับโลก ซึ่งกีฬาหลายชนิดได้มีการใส่เข้าและนำออกโดยการปรับปรุงของทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากล เช่น รักบี้ ลาครอสส์ หรือ โปโล.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬา · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1959

กีฬาแหลมทอง 1959 (1959 Southeast Asian Peninsular Games) เป็นการแข่งขันกีฬาแหลมทองครั้งแรก (ซึ่งต่อมาก็คือซีเกมส์) จัดขึ้นในแถบบริเวณประเทศ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศที่เข้าร่วมอยู่ 6 ประเทศประกอบด้วย ประเทศเมียนมาร์, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงค์โปร์, ประเทศไทย,ประเทศเวียดนาม มีนักกีฬาจำนวน 518 คนประกอบด้วยนักกีฬาชาย 480 คนและนักกีฬาหญิง 38 คน ในการแข่งขัน โดยในกีฬาแหลมทองครั้งนี้มีกีฬาทั้งหมดคือกรีฑา, แบตมินตัน, บาสเก็ตบอล, มวย, จักรยาน, ฟุตบอล, เทนนิส, ยิงปืน, ว่ายน้ำ, ปิงปอง, วอลเลย์บอล, ยกน้ำหนัก ประเทศไทยคว้าเหรียญทองมากที่สุดในครั้งนี้โดยมีทั้งหมด 36 เหรียญทอง, 26 เหรียญเงิน, 16 เหรียญทองแดง, รองลงมาคือ เมียนมาร์ และ มาเลเซีย โดยในประเทศได้ส่งนักกีฬา 194 คนสำหรับการแข่งขันกีฬาแหลมทอง, (สามารถเรียกได้อย่างอื่น เซียปเกมส์ครั้งที่ 1 / ซีเกมส์ครั้งที่ 1) โดยมีนักกีฬาชาย 155 คน และนักกีฬาหญิง 21 คน และมีทีมทั้งหมด 18 ทีม โดยมีการจัดพิธีการแข่งขันเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ถึง 17 ธันวาคม พ.ศ. 2502 เดิมได้มีการกำหนดให้ ประเทศกัมพูชา หนึ่งในหกประเทศที่เป็นผู้ก่อตั้งกีฬาแหลมทอง, ไม่สามารถที่จะจัดตั้งพิธีการได้, จึงได้รับมอบหมายให้ ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพการแข่งขันโดยมีประธานคือ หลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ์ สุขุม).

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1959 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1961

กีฬาแหลมทอง 1963 (พ.ศ. 2506) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 2 โดยมีย่างกุ้ง ประเทศพม่า เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 11 ถึง 16 ธันวาคม พ.ศ. 2504.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1961 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1963

กีฬาแหลมทอง 1963 เป็นกีฬาแหลมทองที่กรุงพนมเปญ โดยมีประเทศกัมพูชาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันที่กรุงพนมเปญ ในปี พ.ศ. 2506 แต่เมื่อถึงกำหนด กัมพูชาไม่สามารถจัดการแข่งขันได้ เนื่องจากระยะนั้นกัมพูชาได้ตัดสัมพันธไมตรีกับไทยกรณีพิพาทเรื่องเขาพระวิหารกับไทย ซึ่งกัมพูชาเห็นว่าประเทศไทย เป็นเจ้าของกีฬาแหลมทอง จึงไม่ยอมจัดการแข่งขันตามกำหนด การแข่งขันกีฬาแหลมทองจึงต้องเลื่อนออกไปจัดในปี พ.ศ. 2506 ณ พนมเปญ ประเทศกัมพูชา ระหว่างวันที่ 14 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2506 หมวดหมู่:พ.ศ. 2506 หมวดหมู่:กีฬาแหลมทอง.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1963 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1965

กีฬาแหลมทอง 1965 (พ.ศ. 2508) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 3 โดยมีกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 14 - 21 กันยายน พ.ศ. 2508 การแข่งขันครั้งนี้ ที่ประเทศมาเลเซีย มีประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน 7 ประเทศ คือ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย มีการแข่งขันกีฬา14 ชนิด คือ กรีฑา แบดมินตัน มวยสากล จักรยาน ฟุตบอล ยูโด ลอนเทนนิส ยิงปืน เซปักตะกร้อ ว่ายน้ำ เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ฟุตบอล และยกน้ำหนัก มีนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 963 คน เจ้าเหรียญทอง คือ ไทย ได้ 38 เหรียญทอง 33 เหรียญเงิน 35 เหรียญทองแดง อันดับสอง คือ มาเลเซีย อันดับสาม คือ สิงคโปร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1965 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1967

กีฬาแหลมทอง 1967 (พ.ศ. 2510) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 4 โดยมีกรุงเทพมหานคร เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 9 ถึง 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ซีเกมส์) ครั้งที่ 2 ของประเทศไทย กีฬาแหลมทองครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเข้าร่วมในการแข่งขันด้วย โดยวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ทรงรับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทองจากการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และเป็นเรือใบที่ทรงต่อเอง ภายหลังคณะรัฐมนตรีจึงมีมติเห็นชอบกำหนดให้วันที่ 16 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันกีฬาแห่งชาต.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1967 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1969

กีฬาแหลมทอง 1969 (พ.ศ. 2512) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 5 โดยมีย่างกุ้ง ประเทศพม่า เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 9 ถึง 16 ธันวาคม พ.ศ. 2512 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ซีเกมส์) ครั้งที่ 2 ของประเทศพม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1969 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1971

กีฬาแหลมทอง 1971 (พ.ศ. 2514) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 6 โดยมีกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 6 ถึง 13 ธันวาคม พ.ศ. 2514 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ซีเกมส์) ครั้งที่ 2 ของประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1971 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1973

กีฬาแหลมทอง 1973 (พ.ศ. 2516) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 7 โดยมีประเทศสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 1 ถึง 8 กันยายน พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1973 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแหลมทอง 1975

กีฬาแหลมทอง 1975 (พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 8 โดยมีกรุงเทพมหานคร เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 9 ถึง 16 ธันวาคม พ.ศ. 2502 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง (ซีเกมส์) ครั้งที่ 3 ของประเทศไทย และเป็นการการจัดการแข่งขันในชื่อกีฬาแหลมทอง ครั้งสุดท้.

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาแหลมทอง 1975 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ซีเกมส์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาค

ูมิภาค (region) เป็นคำที่ใช้โดยทั่วไปทางภูมิศาสตร์ที่มีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่างตามแต่สาขาวิชาภูมิศาสตร์ โดยทั่วไปแล้วภูมิภาคหมายถึงบริเวณของบริเวณบนบกหรือในน้ำที่เล็กกว่าบริเวณทั้งหมดที่กล่าวถึง (เช่นภูมิภาคของโลก ภูมิภาคของชาติ ภูมิภาคของลุ่มแม่น้ำ ภูมิภาคของเทือกเขา และอื่นๆ) แต่ใหญ่กว่าจุดใดจุดหนึ่ง บริเวณอาจจะเป็นกลุ่มของหน่วยที่เล็กกว่า (เช่นรัฐในนิวอิงแลนด์ของสหรัฐอเมริกา) หรือ ส่วนหนึ่งของส่วนที่ใหญ่กว่า (เช่นบริเวณนิวอิงแลนด์ของสหรัฐอเมริกา).

ใหม่!!: ซีเกมส์และภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

มะนิลา

มะนิลา (Manila; Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยุ่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

มาลายา

มาลายา หรือบางครั้งสะกดว่า มลายา (Malaya) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ซีเกมส์และมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ใหม่!!: ซีเกมส์และยุทธศักดิ์ ศศิประภา · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)

ราชอาณาจักรกัมพูชา ในช่วง..

ใหม่!!: ซีเกมส์และราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลาว

ราชอาณาจักรลาว เป็นชื่อของประเทศลาวตั้งแต่ พ.ศ. 2496 จนถึงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวสามารถล้มกษัตริย์และสามารถสถาปนาสปป.ลาวได้สำเร็จ โดยได้รับสิทธิปกครองตนเองจากประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2492 ใช้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และราชอาณาจักรลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า เป็นรหัสประเทศสามตัวอักษรกำหนดโดยฟีฟ่า สำหรับประเทศที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยรหัสของฟีฟ่านี้จะมีใช้สำหรับการแข่งขันของฟีฟ่า รวมถึงสหพันธ์ย่อยในแต่ละทวีป และบางครั้งมีการใช้งานในการแข่งขันย่อยของแต่ละประเทศ และรหัสของประเทศจะแตกต่างกับรหัสประเทศของที่ใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกและรหัสประเทศตามมาตรฐานไอเอสโอ รหัสของฟีฟ่าจะมีทั้งหมด 208 ประเทศ ในขณะที่รหัสของโอลิมปิกจะมี 204 ประเทศ เนื่องจาก ทีมชาติอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ แข่งขันฟุตบอลในนามของทีมชาติสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.

ใหม่!!: ซีเกมส์และรายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: ซีเกมส์และสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติ

สนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสนามกีฬาที่ใช้รองรับในการแข่งขันใหญ่ โดยเฉพาะเป็นสนามเหย้าของประเทศนั้น สำหรับทีมชาติในการแข่งขันกีฬาแต่ละประเภท คำ ๆ นี้โดยมากมักใช้หมายถึงสนามกีฬาฟุตบอล โดยปกติแล้วสนามกีฬาแห่งชาติมักจะมีสถานที่ตั้งอยู่ใน/หรืออยู่ใกล้กับเมืองหลวง หรือเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และมักจะเป็นสนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ (แต่ก็ไม่เสมอไป) มักใช้จัดการแข่งขันกีฬาที่สำคัญ (เช่นฟุตบอลโลก หรือโอลิมปิก) มีหลายสนามที่ใช้เป็นสนามแข่งขันทีมเหย้าของสโมสรท้องถิ่นนั้น ๆ มีหลายประเทศที่ไม่มีสนามกีฬาแห่งชาติ เช่น สเปน และสหรัฐอเมริกา โดยจะหมุนเวียนใช้สนามในแต่ละส่วนของประเทศ.

ใหม่!!: ซีเกมส์และสนามกีฬาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ์ สุขุม)

หลวงสุขุมนัยประดิษฐ หลวงสุขุมนัยประดิษฐ หรือ ประดิษฐ์ สุขุม (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) เป็นเลขาธิการคนแรกของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) อดีตอธิบดีกรมโฆษณาการ เป็นผู้ก่อตั้ง การกีฬาแห่งประเทศไทย และการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ซึ่งปัจจุบันคือกีฬาซีเกมส์ นอกจากนี้เป็นผู้ร่วมก่อตั้งวงดนตรีสุนทราภรณ์ หลวงสุขุมนัยประดิษฐ สำเร็จการศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสุขุมนัยประดิษฐ ในเดือน พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และหลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ์ สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมสิงคโปร์

อาณานิคมสิงคโปร์ หมายถึง ประวัติศาสตร์สิงคโปร์หลังปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และอาณานิคมสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2519 และก่อนหน้านั้นเคยเป็นเมืองหลวงของพื้นที่เวียดนามในปัจจุบันเป็นครั้งคราวตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึง..

ใหม่!!: ซีเกมส์และฮานอย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลากูนา

ังหวัดลากูนา (Lalawigan ng Laguna; Provincia de Laguna) เป็นจังหวัดในเขตคาลาบาร์โซน บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลักคือซันตาครูซ และตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมโทรมะนิลา มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดรีซัลทางทิศเหนือ, จังหวัดเคโซนทางทิศตะวันออก, จังหวัดบาตังกัสทางทิศใต้ และจังหวัดคาบีเตทางทิศตะวันตก ในปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดลากูนา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ซีเกมส์และจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 1

นนพระรามที่ 1 ช่วงสยามสแควร์ ถนนพระรามที่ 1 (Thanon Rama I) เริ่มต้นจากถนนกรุงเกษม (สี่แยกกษัตริย์ศึก) ซึ่งต่อเนื่องมาจากถนนบำรุงเมือง บริเวณสะพานกษัตริย์ศึก (ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม และทางรถไฟสายเหนือ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนรองเมือง (ทางแยกกลางสะพานกษัตริย์ศึก) ถนนพระรามที่ 6 และทางพิเศษศรีรัช (สี่แยกพงษ์พระราม) ข้ามคลองสวนหลวงและตัดกับถนนบรรทัดทอง (สี่แยกเจริญผล) ถนนพญาไท (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองอรชร (สะพานเฉลิมเผ่า 52) และตัดกับถนนอังรีดูนังต์ (สามแยกเฉลิมเผ่า) ไปสิ้นสุดที่แยกตัดถนนราชดำริ (สี่แยกราชประสงค์ ต่อเนื่องไปยังถนนเพลินจิต) อยู่ในพื้นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และถนนพระรามที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกสากล

ณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee: IOC) เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในกระบวนการโอลิมปิก จัดตั้งขึ้นครั้งแรกวันที่ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1894 โดยปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง นักการศึกษาชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจที่จะฟื้นฟูกีฬาโอลิมปิกในสมัยกรีกโบราณ คณะกรรมการโอลิมปิกสากล ประกอบด้วยคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee หรือ NOC) ของประเทศต่าง ๆ ประกอบกันเป็นประเทศสมาชิก โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากลมีหน้าที่ควบคุมคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศสมาชิกทั่วโลก ให้ดำเนินงานจัดการแข่งขันให้เป็นไปตามหลักการและอุดมการณ์ของกีฬาโอลิมปิก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และคณะกรรมการโอลิมปิกสากล · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ซีเกมส์และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย

ณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (National Olympic Committee of Thailand under the Royal Patronage of His Majesty the King: NOCT) เป็นหน่วยงานภายใต้ความดูแลของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ บ้านอัมพวัน เลขที่ 226 ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่จัดส่งและนำคณะนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก และกีฬาระดับภูมิภาค ระดับทวีป หรือระดับโลก ซึ่งรับรองโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น ยังเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติใดๆ ของคณะนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ที่เข้าร่วมการแข่งขันดังกล่าวด้วย2020เจแปน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1977

กีฬาซีเกมส์ 1977 (พ.ศ. 2520) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 9 โดยมีกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 19 ถึง 26 ธันวาคม พ.ศ. 2520 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 3 ของประเทศมาเลเซีย และเป็นครั้งแรกของการแข่งขันภายใต้ชื่อซีเกมส์ โดยมีประเทศอินโดนีเซีย และ ประเทศฟิลิปปินส์ เข้าร่วมการแข่งขั้นเป็นครั้งแรกด้ว.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1977 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1979

กีฬาซีเกมส์ 1979 (พ.ศ. 2522) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 10 โดยมีจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 21 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1981

กีฬาซีเกมส์ 1981 (พ.ศ. 2524) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 11 โดยมีมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2524.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1981 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1983

กีฬาซีเกมส์ 1983 (พ.ศ. 2526) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 12 โดยมี ประเทศสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 28 พฤษภาคม ถึง 6 มิถุนายน พ.ศ. 2526 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 2 ของประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1983 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1985

กีฬาซีเกมส์ 1985 (พ.ศ. 2528) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 13 โดยมี กรุงเทพมหานคร เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 8 ถึง 17 ธันวาคม พ.ศ. 2528 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 4 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1985 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1987

กีฬาซีเกมส์ 1987 (พ.ศ. 2530) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 14 โดยมี จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 9 ถึง 20 ธันวาคม พ.ศ. 2530 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 2 ของประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1989

กีฬาซีเกมส์ 1989 (พ.ศ. 2532) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 15 โดยมี กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 20 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2532 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 4 ของประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1989 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1991

กีฬาซีเกมส์ 1991 (พ.ศ. 2534) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 16 โดยมี มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 24 พฤศจิกายน ถึง 3 ธันวาคม พ.ศ. 2534 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 2 ของประเทศฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1993

กีฬาซีเกมส์ 1993 (พ.ศ. 2536) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 17 โดยมี ประเทศสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพ ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ 12 มิถุนายน ถึง 20 มิถุนายน พ.ศ. 2536 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 3 ของประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1993 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1995

กีฬาซีเกมส์ 1995 ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 18 โดยมีจังหวัดเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 9 ถึง 17 ธันวาคม ซึ่งเป็นการแข่งขันซีเกมส์ครั้งแรก ที่เมืองเจ้าภาพไม่ได้เป็นเมืองหลวง นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 5 ของประเทศไทย การแข่งขันรอบแรกจัดกระจายไปตามจังหวัดใหญ่ ทั่วประเทศไท.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1997

กีฬาซีเกมส์ 1997 (พ.ศ. 2540) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 19 โดยมี จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 11 ถึง 19 ตุลาคม พ.ศ. 2540 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 3 ของประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1997 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 1999

กีฬาซีเกมส์ 1999 (พ.ศ. 2542) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 20 โดยมี บันดาร์เซอรีเบอกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 7 ถึง 15 สิงหาคม พ.ศ. 2542 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งแรก ของประเทศบรูไนดารุสซาลาม และเป็นครั้งแรกที่ ประเทศลาว ได้รับเหรียญทองจากการแข่งขันซีเกม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2001

กีฬาซีเกมส์ 2001 (พ.ศ. 2544) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 21 โดยมี กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 8 ถึง 17 กันยายน พ.ศ. 2544 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 5 ของมาเลเซีย และเป็นครั้งแรกที่ประเทศติมอร์-เลสเต เข้าร่วมการแข่งขันซีเกม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2001 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2003

กีฬาซีเกมส์ 2003 (พ.ศ. 2546) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 22 โดยมี ฮานอย และ โฮจิมินห์ซิตี้ ประเทศเวียดนาม เป็นร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 5 ถึง 13 ธันวาคม พ.ศ. 2546 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งแรก ของเวียดนาม และเป็นครั้งแรกที่มีเมืองสองเมือง ร่วมกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2003 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2005

กีฬาซีเกมส์ 2005 (พ.ศ. 2548) ถือได้ว่าเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 23 โดยมี มะนิลา และอีกหลายเมืองใน ประเทศฟิลิปปินส์ ร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 27 พฤศจิกายน ถึง 5 ธันวาคม พ.ศ. 2548 นับเป็นการจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ครั้งที่ 3 ของฟิลิปปินส์ การแข่งขันครั้งนี้ได้รับคำตำหนิจากการแบ่งการแข่งขันไปยังเกาะต่างๆ ทั่วประเทศฟิลิปปินส์ ทำให้เกิดความยากลำบากในการจัดการการแข่งขัน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2007

กีฬาซีเกมส์ 2007 เป็นการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ซึ่งจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การจัดการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช กีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 24 ถือเป็นการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 6 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2009

กีฬาซีเกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 25 หรือ เวียงจันทน์เกมส์ จัดขึ้นที่เวียงจันทน์ ประเทศลาว ระหว่างวันที่ 9-18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตัวนำโชคเป็นช้างเผือกงานิล 2 เชือก ตัวผู้ ชื่อ "จำปา" และ ตัวเมีย ชื่อ "จำปี" สัญลักษณ์การแข่งขันเป็นรูปพระธาตุหลวง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของชาติและแม่น้ำโขง ซึ่งสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวลาว ส่วนสัญลักษณ์นำเอาอักษรลาวโบราณมาจัดทำ และการจัดการแข่งขันในครั้งนี้ยังนับเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสที่กีฬาซีเกมส์จัดการแข่งขันครบรอบ 50 ปีอีกด้ว.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2011

กีฬาซีเกมส์ 2011 (พ.ศ. 2554) เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 26 จัดขึ้นในเมืองปาเลมบัง และกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นซีเกมส์ที่จัดในประเทศนี้เป็นครั้งที่ 4 ถัดจากซีเกมส์ครั้งที่ 10 (1979), ครั้งที่ 15 (1987) และ ครั้งที่ 19 (1997) และเป็นครั้งที่ 3 ที่เมืองเจ้าภาพหลักไม่ได้เป็นเมืองหลวงของประเทศ การแข่งขันครั้งนี้เริ่มแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ไปจนถึงวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 รวม 11 วัน ประกอบด้วยกีฬา 44 ชนิด และมีสัญลักษณ์เป็นรูปครุฑ สัตว์ประจำชาติอินโดนีเซีย อันสื่อถึงภูมิประเทศของอินโดนีเซียที่เป็นเกาะที่มีภูเขาสูง.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2013

กีฬาซีเกมส์ 2013 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 27 ซึ่งมีการกำหนดจัดขึ้นที่เนปยีดอ เมืองหลวงแห่งใหม่ของประเทศพม่า รวมทั้งในเมืองหลักอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ย่างกุ้ง, มัณฑะเลย์ และหาดงเวซอง เมืองพะสิม สมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAGF) ได้มีการประชุมที่กรุงจาการ์ตา ณ วันที่ 31 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2015

กีฬาซีเกมส์ 2015 (พ.ศ. 2558) เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 28 โดยมีสิงคโปร์ เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน มีนักกีฬา 7,000 คน จากทั้งหมด 11 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าร่วมแข่งขัน จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 5–16 มิถุนายน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2017

กีฬาซีเกมส์ 2017 (พ.ศ. 2560) (Sukan Asia Tenggara 2017) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 29 จัดขึ้นโดยมีกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ โดยเป็นการจัดการแข่งขันที่มีนักกีฬาทั้งหมดจาก 11 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าร่วมแข่งขัน จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 19–30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2019

กีฬาซีเกมส์ 2019 (พ.ศ. 2562) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 30.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2019 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2021

กีฬาซีเกมส์ 2021 (พ.ศ. 2564) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 31 ซึ่งมีการกำหนดว่าจะจัดขึ้นที่ประเทศเวียดนามในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2021 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2023

กีฬาซีเกมส์ 2023 (พ.ศ. 2566) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 32 จัดขึ้นทีกรุงพนมเปญ,ประเทศกัมพูชา ซึ่งในการประกาศการเป็นเจ้าภาพนั้นจัดขึ้นที่การประชุมสภาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ประเทศสิงคโปร์ซึ่งมีการประกาศชาติที่จะเป็นเจ้าภาพพร้อมกับซีเกมส์ 2015โดยนายทองขอนซึ่งเป็นคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศกัมพู.

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2023 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2025

กีฬาซีเกมส์ 2025 (พ.ศ. 2568) เป็นการจัดการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 33 จัดขึ้นโดยมีประเทศไทย เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ โดยครั้งนี้เป็นครั้งที่ 7 ของประเทศไทยซึ่งเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วในปี(1959, 1967, 1975, 1967, 1995 และ 2007).

ใหม่!!: ซีเกมส์และซีเกมส์ 2025 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศติมอร์-เลสเต

ติมอร์-เลสเต (Timor-Leste,, ตีโมร์แลชตือ) หรือ ติมอร์ตะวันออก (Timór Lorosa'e) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (República Democrática de Timor-Leste; Repúblika Demokrátika Timór-Leste) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (Jaco) ที่อยู่ใกล้เคียง และเทศบาลโอเอกูซี (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ. 2497 ในการประชุมที่เจนีวา ซึ่งแบ่งประเทศเวียดนามออกเป็นสองส่วนโดยเส้นขนานที่ 17 ในระหว่างสงครามเวียดนาม เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ในอดีต เวียดนามใต้เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสในชื่อ โคชินไชนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดมินห์ซึ่งนำโดยโฮจิมินห์ สถาปนารัฐคอมมิวนิสต์ขึ้นที่ฮานอย ในปีพ.ศ. 2492นักการเมืองที่ไม่ฝักใฝ่คอมมิวนิสต์ ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นที่เมืองไซ่ง่อนซึ่งนำโดยอดีตจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในปี 2498 บ๋าว ดั่ย ถูกปลดโดยนายกรัฐมนตรีโง ดิ่ญ เสี่ยม และแต่งตั้งตนขึ้นเป็นประธานาธิบดี หลังจากเสี่ยมเสียชีวิตจากการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2506 ได้มีรัฐบาลทหารอายุสั้นหลายสมัยได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2510 พลโท เหงียน วัน เถี่ยวได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีและได้ปกครองเวียดนามใต้จนถึงปี พ.ศ. 2518 สงครามเวียดนามเริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และประเทศเวียดนามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเล็มบัง

ปาเล็มบัง (Palembang) เป็นเมืองหลักของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝั่งตะวันออกทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำมูซี มีพื้นที่ 400.61 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1.44 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของเกาะสุมาตรา รองจากเมืองเมดันซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ปาเล็มบังได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสองเมืองหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 26 ระหว่างวันที่ 11 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ร่วมกับจาการ์ตา ปาเล็มบังเป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยเป็นเมืองหลวงเก่าของอาณาจักรศรีวิชั.

ใหม่!!: ซีเกมส์และปาเล็มบัง · ดูเพิ่มเติม »

นักกีฬาโอลิมปิกเฉพาะบุคคลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000

นักกีฬาโอลิมปิกเฉพาะบุคคล (Individual Olympic Athletes) เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27..

ใหม่!!: ซีเกมส์และนักกีฬาโอลิมปิกเฉพาะบุคคลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: ซีเกมส์และนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

นครเซบู

ซบูซิตี (เซบัวโน: Dakbayan sa Sugbu; Lungsod ng Cebu) เป็นนครหนาแน่นในจังหวัดเซบู เขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ปกครองอย่างอิสระจากตัวจังหวัด ในปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และนครเซบู · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2000

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: ซีเกมส์และเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ซีเกมส์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์

อเชียนเกมส์ (Asian Games; ชื่อย่อ: Asiad) เป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มกำหนดการแข่งขันโดย สหพันธ์เอเชียนเกมส์ (The Asian Games Federation; AGF) ตั้งแต่การแข่งขันครั้งแรกถึงครั้งที่ 8 และตั้งแต่เอเชียนเกมส์ครั้งที่ 9 เป็นต้นมา บริหารจัดการแข่งขันโดย สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) ภายใต้การรับรองโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee; IOC) และยังถือได้ว่าเป็นการแข่งขันกีฬาหลากชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองรองจากกีฬาโอลิมปิกด้วย ในประวัติศาสตร์ของเอเชียนเกมส์ มีชาติเจ้าภาพจัดการแข่งขันแล้ว 9 ประเทศ โดยมี 46 ประเทศเข้าร่วม ยกเว้นอิสราเอลซึ่งถูกกีดกันออกจากเอเชียนเกมส์ หลังจากที่เข้าร่วมเป็นคราวสุดท้ายใน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7 ที่ประเทศอิหร่าน สำหรับเอเชียนเกมส์ครั้งหลังสุดได้จัดขึ้นที่นครอินช็อนของเกาหลีใต้ระหว่างวันที่ 19 กันยายน-4 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซีย ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: ซีเกมส์และเอเชียนเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1958

อเชียนเกมส์ 1958 เป็น การแข่งขันเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 3 จัดขึ้นที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 24 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน 2501 มีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน 1820 คน.

ใหม่!!: ซีเกมส์และเอเชียนเกมส์ 1958 · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: ซีเกมส์และเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เนปยีดอ

นปยีดอ (Naypyidaw หรือบางครั้งสะกดเป็น Nay Pyi Taw; နေပြည်တော်မြို့,, เหน่ ปหยี่ ด่อ) มีความหมายว่า "มหาราชธานี" p. 8, The Permanent Committee on Geographic Names (PCGN), United Kingdom หรือ "ที่อยู่ของกษัตริย์" เป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางการบริหารของประเทศพม่า ห่างจากย่างกุ้งซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าราว 320 กิโลเมตร ปัจจุบันเนปยีดอเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สามของประเทศรองจากย่างกุ้งและมัณฑะเลย์ และเป็นหนึ่งในสิบเมืองเติบโตเร็วที่สุดในโลก เนปยีดอตั้งอยู่ในหมู่บ้านจะปยี (Kyetpyay) ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองปยินมะนา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย์ เชื่อว่าเหตุผลการย้ายเมืองหลวงมาจากคำทำนายของโหรของพลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย รวมถึงเชื่อว่าอาจจะเป็นการฟื้นฟูธรรมเนียมประเพณีเก่าของพม่าสมัยราชาธิปไตย สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยรอบ เมืองนี้อยู่ห่างย่างกุ้งไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร ปัจจุบันกรุงเนปยีดอมีการพัฒนาถนนทางหลวงหมายเลข 8 เพื่อเชื่อมต่อกับย่างกุ้ง มีโครงการสร้างสถานีรถไฟขึ้นอีก 1 แห่งในเนปยีดอ ถัดจากสถานีในปยินมะนาที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ซีเกมส์และเนปยีดอ · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และ22 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ซีเกมส์และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

SEA GamesSEAP GamesSoutheast Asian GamesSoutheast Asian Peninsular Gamesการแข่งขันกีฬาซีเกมส์กีฬาซีเกมส์กีฬาแหลมทองเซียปเกมส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »