โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชวลี ช่วงวิทย์

ดัชนี ชวลี ช่วงวิทย์

วลี ช่วงวิทย์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 - 11 เมษายน พ.ศ. 2534) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "สาริกาน้อยเสียงใส" และเป็นเจ้าของบทเพลงอมตะหลายเพลง เช่น ริมฝั่งน้ำ รักสลาย เริงฤทัย ไห้หา โพ้นขอบฟ้า ขอให้ได้ดังใจนึก และอื่นๆ อีกมากม.

32 ความสัมพันธ์: ชอุ่ม ปัญจพรรค์พ.ศ. 2467พ.ศ. 2534พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกรมประชาสัมพันธ์กรุงเทพมหานครมัณฑนา โมรากุลยามค่ำยามเย็นยิ้มสู้ล้วน ควันธรรมวินัย จุลละบุษปะวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์วงดนตรีสุนทราภรณ์สริ ยงยุทธสายลมสุปาณี พุกสมบุญสุนทราภรณ์อาทิตย์อับแสงจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)จังหวัดนนทบุรีจุรี โอศิริจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดอกไม้ป่าคำหวานนกสาลิกาโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพลงลูกกรุงเอื้อ สุนทรสนาน11 เมษายน12 พฤศจิกายน

ชอุ่ม ปัญจพรรค์

อุ่ม ปัญจพรรค์ หรือ ชอุ่ม แย้มงาม (6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556) นักเขียน นักแต่งเพลงชาวไทย ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และชอุ่ม ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑนา โมรากุล

มัณฑนา โมรากุล ปัจจุบันมีชื่อจริงว่า มัณฑนา เกียรติวงศ์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2466 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปีพุทธศักราช 2552 อดีตนักร้องหญิงคนแรกของวงดนตรีกรมโฆษณาการและนักร้องรุ่นแรกของวงสุนทราภรณ.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และมัณฑนา โมรากุล · ดูเพิ่มเติม »

ยามค่ำ

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 15 ทรงพระราชนิพธ์ใน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และยามค่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ยามเย็น

หรือ เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธ์ ใน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และยามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

ยิ้มสู้

หรือ Smiles เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ลำดับที่ 16 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และยิ้มสู้ · ดูเพิ่มเติม »

ล้วน ควันธรรม

ล้วน ควันธรรม ล้วน ควันธรรม เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลง เป็นนักเขียนบทและเป็นผู้จัดละครวิท.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และล้วน ควันธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วินัย จุลละบุษปะ

วินัย จุลละบุษปะ (12 มิถุนายน พ.ศ. 2465 — 14 กันยายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตนักร้องนำวงดนตรีสุนทราภรณ์ และหัวหน้าวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และวงสังคีตสัมพัน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และวินัย จุลละบุษปะ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์

วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือวงดนตรีกรมโฆษณาการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยเอื้อ สุนทรสนาน, เวส สุนทรจามร และคณะนักดนตรีวงไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด ซึ่งต้องปิดกิจการลง โดยหลวงสุขุมนัยประดิษฐ ชักชวนให้สมาชิกวง ย้ายเข้าไปสังกัดกรมโฆษณาการ และมีหน้าที่บรรเลงเพลงส่งกระจายเสียง ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการ และงานบันเทิงรื่นเริงและงานเต้นรำ ตามคำขอของหน่วยราชการต่างๆ โดยในช่วงนั้นยังคงบรรเลงเพลงสากลที่นำโน้ต และเนื้อเพลงมาจากวงไทยฟิล์ม และเพลงไทยสากลที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ ในระยะแรก นักดนตรีกรมโฆษณาการ จึงเป็นชุดเดียวกับนักดนตรีจากวงไทยฟิล์ม ซึ่งล้วนแต่เป็นข้าราชการสังกัดกรมศิลปากร โดยมีเอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง และคณะซึ่งประกอบด้วย สังเวียน แก้วทิพย์, สมบูรณ์ ดวงสวัสดิ์, เวส สุนทรจามร, ภิญโญ สุนทรวาท, สริ ยงยุทธ, คีติ คีตากร, สภา กล่อมอาภา, สมบูรณ์ ศิริภาค, ทองอยู่ ปิยะสกุล และสมพงษ์ ทิพยกะลิน ส่วนจำปา เล้มสำราญ มาจากกองดุริยางค์ทหารบก ส่วนนักร้องของวงในยุคถัดมาได้แก่ รุจี อุทัยกร, มัณฑนา โมรากุล, ล้วน ควันธรรม, สุภาพ รัศมีทัต จนในปี..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีสุนทราภรณ์

ตราสัญลักประจำวงดนตรีสุนทราภรณ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยมีศิลปินยุคต้นๆ ดังนี้คือ เอื้อ สุนทรสนาน, มัณฑนา โมรากุล, เลิศ ประสมทรัพย์, สุภาพ รัศมิทัต, สุปาณี พุกสมบุญ, จันทนา โอบายวาทย์, จุรี โอศิริ, วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ชวลี ช่วงวิทย์, พูลศรี เจริญพงษ์, วรนุช อารีย์, ศรีสุดา รัชตะวรรณ, สมศักดิ์ เทพานนท์, รวงทอง ทองลั่นธม, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, อ้อย อัจฉรา, มาริษา อมาตยกุล, บุษยา รังสี เป็นต้น การรวมกลุ่มของนักดนตรีวงสุนทราภรณ์ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 โดยเอื้อ สุนทรสนานกับเพื่อนๆ ร่วมกันตั้งวงดนตรีไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อบริษัทเลิกกิจการในปี..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และวงดนตรีสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และสริ ยงยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สายลม

ลงพระราชนิพนธ์ สายลม หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๕ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และสายลม · ดูเพิ่มเติม »

สุปาณี พุกสมบุญ

ปาณี พุกสมบุญ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2467 -) นักร้องยุคต้นของวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงดนตรีสุนทราภรณ์ เจ้าของฉายา "เสียงมีดกรีดสังกะสี" ด้วยเสียงที่เล็กและแหลมมากจนเป็นเอกลักษณ์ และเป็นนักร้องต้นฉบับเพลงมองอะไร บ้านใกล้เรือนเคียง(บ้านเรือนเคียงกัน)ที่มีชื่อเสียงมากจนกระทั่งถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และสุปาณี พุกสมบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทราภรณ์

นทราภรณ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์อับแสง

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 8 ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันพุธที่ 3 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และอาทิตย์อับแสง · ดูเพิ่มเติม »

จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์)

มื่นมานิตย์นเรศ ชื่อเดิม เฉลิม เศวตนันทน์ นักแสดงในภาพยนตร์ของรัฐบาลไทย เลือดทหารไทย สร้างโดย ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง และเป็นบิดาของ อดีศักดิ์ เศวตนันทน์ (คู่ชีวิต สวลี ผกาพันธ์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. 2532) ผู้ประพันธ์เนื้อเพลงรำวงมาตรฐานประจำชาติ 4 เพลง งามแสงเดือน,ชาวไทย,รำซิมารำ และ คืนเดือนหงาย รวมทั้งเพลงปลุกใจ ตลอดจนเพลงจังหวะลีลาศของกรมโฆษณาการ.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และจมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันทน์) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จุรี โอศิริ

รี โอศิริ หรือรู้จักโดยทั่วไปว่า “ป้าจุ๊” เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 เป็นนักแสดง นักพากย์ และนักร้อง เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยเป็นนักร้องหน้าม่านสลับละครของคณะผกาวลี และคณะศิวารมย์ ต่อมาแสดงเป็นนางเอกในละครเพลงเรื่อง “นเรศวรมหาราช” และได้เข้าไปเป็นนักร้องประจำวงดุริยางค์ทหารบก วงสุนทราภรณ์ เป็นผู้ประกาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย พากย์ภาพยนตร์ ตลอดจนเป็นนักแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 4 ครั้ง (สาขาผู้พากย์ยอดเยี่ยม 3 รางวัล และผู้แสดงประกอบยอดเยี่ยม 1 รางวัล) และได้รับเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักพากย์และนักแสดง) ประจำปีพุทธศักราช 2541 จุรีเสียชีวิตด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย สิริอายุได้ 83 ปี.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และจุรี โอศิริ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ดอกไม้ป่า

ดอกไม้ป่า ดอกไม้ป่า คือดอกไม้ที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ไม่ถูกตั้งใจปลูก มักมีลักษณะผสมกันระหว่างรายสปีชีส์ หมวดหมู่:พืช หมวดหมู่:ดอกไม้ หมวดหมู่:ดอกไม้ป่า.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และดอกไม้ป่า · ดูเพิ่มเติม »

คำหวาน

ำหวาน (หรือ) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 10 ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และคำหวาน · ดูเพิ่มเติม »

นกสาลิกา

นกสาลิกา หรือ นกแม็กพาย (magpie) เป็นชื่อสามัญของนกจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์นกกา (Corvidae) โดยนกที่ได้ชื่อว่า "นกสาลิกา" หรือ "นกแม็กพาย" นั้นจะเป็นนกขนาดเล็กที่กระจายพันธุ์อยู่ในภาคพื้นยุโรป, ยูเรเชีย และเอเชีย จะอยู่ในสกุล Pica, Urocissa, Cissa, Cyanopica โดยในบางสกุลจะถูกเรียกว่า "สาลิกาดง" แต่โดยทั่วไปแล้วจะหมายถึง นกสาลิกาปากดำ (Pica pica) ที่มีสีลำตัวขาว-ดำ พบกระจายพันธุ์ในทวีปยุโรปและเอเชียกลาง รวมถึงประเทศไทย นอกจากนี้แล้ว ยังอาจจะหมายถึงนกบางชนิดในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) เช่น นกเอี้ยงสาลิกา (Acridotheres tristis) และนกสาลิกาลิ้นทอง (Ampeliceps coronatus) เป็นต้น.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และนกสาลิกา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส. วันศุกร์ ออกอากาศ ปรากฏว่าหลายเพลงกลายเป็นเพลงยอดนิยมทั้งในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชวลี ช่วงวิทย์และ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »