โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)

ดัชนี จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)

ฬาตรีคูณ เป็นนวนิยายของพนมเทียน (ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ) ประพันธ์เสร็จในปี..

16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2510พ.ศ. 2522พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557พราหมณ์พาราณสีกามนิตมคธศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีจุฬาตรีคูณคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมินาร์ซิสซัสแม่น้ำคงคาโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์เวสาลี

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์

ราหมณ์ (อักษรเทวนาครี: ब्राह्मण) เป็นวรรณะหนึ่งในแนวคิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น วิปฺระ, ทฺวิช, ทฺวิโชตฺตมะ หรือ ภูสร เป็นต้น พราหมณนั้นเป็นวรรณะหนึ่งในสี่วรรณะของสังคมอินเดีย เป็นผู้สืบทอดวิชาความรู้ ในคัมภีร์ ไตรเวทพิธีกรรม จารีต ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรม และคติความเชื่อต่าง ๆ ให้สืบทอดต่อไป หรือไม่สืบทอดก็ได้โดยใช้ชีวิตตามปกติชนคนธรรมดาทั่วไป คงไว้ให้ผู้ใดในตระกูลสืบทอดแทน เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก แบ่งแยกเป็นนิกายคือ พวกไศวนิกาย จะถือเพศ นุ่งขาว ห่มขาว ไว้มวยผม ถือศีล จริยาวัตรของพราหมณ์ มีครอบครัวได้ อยู่บ้าน หรือ เทวะสถาน ประจำลัทธิ นิกายแห่งตน อีกนิกายหนึ่งคือ ไวษณวะนิกาย จะไว้ผมเปียหรือมวยผม ถือเพศพรหมจรรย์ กินมังสวิรัติ ไม่ถูกต้องตัวสตรีเพศ นุ่งห่มสีขาว หรือสีต่าง ๆตามวรรณะนิกาย และอาศัยอยูในเทวสถาน ในการบวชเป็นพราหมณ์หลวง จะต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมพราหมณ์ ในทำเนียบพราหมณ์หลวง โดยผู้บวชจะนำของมาถวายพราหมณ์ผู้ใหญ่ แล้วพราหมณ์ผู้ใหญ่จะมอบสายสิญจน์รับพราหมณ์ใหม่ หรือทวิชาติ ซึ่งหมายถึงการเกิดครั้งที่ 2 ซึ่งการบวชพราหมณ์ไม่ได้มีกฎปฏิบัติจำนวนมากเหมือนกับการบวชพระ โดยถือศีล 5 เป็นศีลปฏิบัติ สามารถแต่งกายสุภาพเหมือนผู้ชายทั่วไปในเวลาปกติ และสวมเครื่องแบบเป็นเสื้อราชปะแตนและโจงกระเบนสีขาวในยามประกอบพิธีกรรม รวมถึงสามารถมีภรรยาเพื่อมีทายาทสืบตระกูลพราหมณ์ต่อไปได้ กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามบางประการที่พราหมณ์ไม่สามารถทำได้ อาทิ ห้ามรับประทานเนื้อวัว ปลาไหล และงูต่างๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบริวารของเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และห้ามตัดแต่งผม ต้องไว้ผมยาวแล้วมุ่นเป็นมวยไว้ที่ท้ายทอย เพราะตามหลักศาสนาเชื่อว่าบริเวณดังกล่าวเป็นที่อยู่ของเทวดา สำหรับกิจประจำวันที่พราหมณ์ต้องทำ คือนมัสการพระอาทิตย์ตามเวลาเช้า กลางวัน เย็น เพื่อเป็นการนำจิตวิญญาณกลับไปสู่พรหม กล่าวคือ การไหว้พระอาทิตย์จะนำแสงสว่างให้เกิดในปัญญานำไปสู่การหลุดพ้น และจะมีการสาธยายพระเวท ซึ่งถือเป็นคัมภีร์หลักในศาสนาพราหมณ์ ประกอบด้วย ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวท ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ปฏิบัติต่อเทพด้วยความศรัทธา ปัจจุบันพราหมณ์หลวงจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ พระราชพิธีต่างๆ ของพระมหากษัตริย์ ในการอัญเชิญพระผู้เป็นเจ้าและทวยเทพตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มาเป็นสักขีในการกระทำพิธีนั้นๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแด่องค์พระมหากษัตริย์ ราชบัลลังก์ และบ้านเมือง โดยงานพระราชพิธีจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ งานประจำปี ได้แก่ งานเฉลิมพระชนมพรรษา วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต เป็นต้น และงานตามวาระ อาทิ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว เป็นต้น หน้าที่ของพราหมณ์หลวงคือการรักษาวัฒนธรรมในการประกอบพระราชพิธีถวายตามโอกาสต่างๆ แต่ก็สามารถรับประกอบพิธีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพระราชพิธีได้ เรียกว่า รัฐพิธี เป็นงานที่ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น วางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานวันเกิด งานตัดจุก ตั้งศาลพระภูมิ ซึ่งจะมีเงินทักษิณามอบให้พราหมณ์ตามศรัทธา ทั้งนี้ ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธี หรือที่เรียกกันว่า พราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พาราณสี

ราณสี (Bārāṇasī พาราณสี; वाराणसी, Vārāṇasī วาราณสี) เป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสี (Kingdom of Kashi) ในสมัยพุทธกาล ปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร พาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่าน เป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ (สัปดาปุริ, Sapta Puri) ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชน พาราณสีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปี เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วย ถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพ ถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลก ครั้งสมัยอาณานิคม เมืองนี้มีชื่อว่า เบนาเรส (Benares) พาราณสียังเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้าน โดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สารน.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และพาราณสี · ดูเพิ่มเติม »

กามนิต

กามนิต (Der Pilger Kamanita) เป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายอิงพระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงมาก ประพันธ์ในปี ค.ศ. 1906 โดยคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป นักประพันธ์ชาวเดนมาร์ก ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1917 หนังสือกามนิตได้รับการยกย่องให้เป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ฉบับภาษาไทยแปลโดยเสฐียรโกเศศ–นาคะประทีป ในปี พ.ศ. 2473 มีรูปประกอบโดยอาจารย์ช่วง มูลพินิจ โดยแปลจากฉบับภาษาอังกฤษ (The Pilgrim Kamanita) ซึ่งแปลมาจากต้นฉบับภาษาเยอรมัน (Der Pilger Kamanita) อีกทอดหนึ่ง.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และกามนิต · ดูเพิ่มเติม »

มคธ

มคธ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และมคธ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี (The 60th Anniversary of His Majesty the King’s Accession to the Throne International Convention Center) เป็นศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และเพื่อเป็นรองรับการจัดการประชุมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ, การจัดแสดงนิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มีชื่อเดิมว่า ศูนย์ประชุมนานาชาติเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Prince of Songkla University International Convention Center: PSUICC) ซึ่งต่อมาสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มีหนังสือที่ นร 0508/ท 6969 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2552 แจ้งเรื่องการขอพระราชทานชื่ออาคารศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า "ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี" พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้เชิญตราสัญลักษณ์การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มาประดิษฐานที่ป้ายชื่อศูนย์ประชุม.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาตรีคูณ

ฬาตรีคูณ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และจุฬาตรีคูณ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University) เป็นคณะที่จัดการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร๋ ปัจจุบันดำเนินการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

นาร์ซิสซัส

"นาร์ซิสซัสหลงเงา" โดยคาราวัจโจ นาร์ซิสซัส (Νάρκισσος, Narcissus หรือ Narkissos) อาจแผลงมาจาก ναρκη (narke) หมายถึง "การหลับ, ความไม่รู้สึก" ในเทพปกรณัมกรีก เป็นนายพรานจากดินแดนเธสพิเอ (Thespiae) ในโบเทีย (Boeotia) ผู้มีชื่อเสียงในด้านความงาม เขาเป็นผู้หยิ่งทะนงเป็นพิเศษ โดยรังเกียจผู้ที่รักเขา เนเมซิสเห็นดังนี้และดึงดูดนาซิสซัสไปยังบ่อ ที่ซึ่งเขาเห็นเงาสะท้อนของตนในน้ำและตกหลุมรักเงานั้น โดยไม่ทราบเลยว่ามันเป็นเพียงภาพ จนสุดท้ายก็ตายเพราะไม่อาจผละสายตาไปจากความงามของเงาสะท้อนของตน ตำนานนี้หลายรุ่นสืบทอดจนถึงปัจจุบันจากแหล่งโบราณ รุ่นคลาสสิกเล่าโดย โอวิด พบในหนังสือเมตามอร์โฟเซส (Metamorphoses, ประพันธ์เสร็จใน ค.ศ. 8) เล่ม 3 อันเป็นเรื่องราวของนาร์ซิสซัสกับเอ็คโค รุ่นก่อนหน้านั้นคาดว่าประพันธ์โดยกวี พาร์ธีนิอัส แห่งไนเซีย (Parthenius of Nicaea) ราว 50 ปีก่อน..

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และนาร์ซิสซัส · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำคงคา

ริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาอันกว้างใหญ่ ริมฝั่งแม่น้ำคงคา แม่น้ำคงคา (เทวนาครี: गंगा คังคา ภาษาอังกฤษ: Ganges แกนจีส, Ganga) เป็นแม่น้ำสายสำคัญของอินเดีย ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูคู่กับแม่น้ำยมุนาที่ไหลขนานกัน มีต้นกำเนิดทางภาคเหนือของอินเดีย บริเวณเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดียไปทางตะวันออก และรวมกับแม่น้ำพรหมบุตรที่ประเทศบังกลาเทศ เกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ชื่อว่าสามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา นับเป็นแหล่งชลประทานและการคมนาคมที่สำคัญแห่งหนึ่ง ก่อนจะไหลออกที่อ่าวเบงกอล แม่น้ำคงคามีความยาวประมาณ 2,510 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และแม่น้ำคงคา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสตรีในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2461 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ในปี พ.ศ. 2551 ได้ฉายานามว่าเป็น "โรงเรียนหมายเลขสอง" โดยผู้ที่เข้าเรียนจะเรียกว่า "พลเมืองหมายเลขสอง" โดยฉายานี้มีที่มาจากโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่บุตรี เผือดผ่องศึกษาอยู.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

เวสาลี

วสาลี หรือ ไวศาลี (Vaishali) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวี ที่มีปกครองแคว้นวัชชีด้วยระบอบคณาธิปไตยแห่งแรก ๆ ของโลก (บ้างก็ว่าด้วยระบอบประชาธิปไตย) เมืองนี้เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองที่มั่นแห่งสำคัญของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้น โดยพระพุทธเจ้าเคยเสด็จเยี่ยมเมืองแห่งนี้ในปีที่ 5 หลังการตรัสรู้ ตามการกราบบังคมทูลเชิญจากเจ้าผู้ครองแคว้น และในช่วงหลังพุทธกาล เมืองแห่งนี้ได้ตกเป็นของแคว้นมคธโดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรูพระราชาแห่งเมืองราชคฤห์ และหลังการล่มสลายของราชวงศ์พิมพิสารในเมืองราชคฤห์ พระราชาองค์ต่อมาจึงได้ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธมายังเมืองเวสาลี ทำให้เมืองแห่งนี้เจริญถึงขีดสุด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองนี้ได้เป็นสถานที่ทำทุติยสังคายนาของพระพุทธศาสนา ก่อนที่จะเสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างลงเมื่อมีการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองปาฏลีบุตรหรือเมืองปัตนะอันเป็นเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบัน ปัจจุบันเมืองเวสาลีเป็นซากโบราณสถานอยู่ที่ตำบลบสาร์ท หรือเบสาร์ท (Basarh-Besarh) ในจังหวัดไวศาลี ที่เขตติดต่อของอำเภอสดาร์ (Sadar) กับ (Hajipur) ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัด เมืองเวสาลีห่างจากหซิปูร์ 35 กิโลเมตร ห่างจากมุซัฟฟาร์ปูร์ 37 กิโลเมตร โดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาร์ปูร.

ใหม่!!: จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)และเวสาลี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จุฬาตรีคูณ (นิยาย)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »