โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

ดัชนี จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

330 ความสัมพันธ์: บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)บรอนซีโนบรูชบอร์โซ เดสเตบานพับภาพชีมาบูเอชีวิตศิลปินชีวิตของพระนางพรหมจารีชีวิตของพระเยซูฟรังซิสแห่งอัสซีซีฟรันเชสโก ตราอีนีฟรันเชสโก เดล กอสซาฟราอันเจลีโกฟลอเรนซ์ฟีลิปปีโน ลิปปีฟีลิปโป บรูเนลเลสกีฟีลิปโป ลิปปีพ.ศ. 1809พ.ศ. 1823พ.ศ. 1833พ.ศ. 1870พ.ศ. 1876พ.ศ. 1880พ.ศ. 1891พ.ศ. 1893พ.ศ. 1938พ.ศ. 1940พ.ศ. 1943พ.ศ. 1944พ.ศ. 1949พ.ศ. 1955พ.ศ. 1971พ.ศ. 1972พ.ศ. 1973พ.ศ. 1974พ.ศ. 1985พ.ศ. 1988พ.ศ. 1992พ.ศ. 1993พ.ศ. 1995พ.ศ. 1998พ.ศ. 2005พ.ศ. 2012พ.ศ. 2013พ.ศ. 2018พ.ศ. 2020พ.ศ. 2022พ.ศ. 2026พ.ศ. 2028พ.ศ. 2033...พ.ศ. 2035พ.ศ. 2037พ.ศ. 2038พ.ศ. 2042พ.ศ. 2049พ.ศ. 2050พ.ศ. 2051พ.ศ. 2053พ.ศ. 2059พ.ศ. 2062พ.ศ. 2063พ.ศ. 2065พ.ศ. 2068พ.ศ. 2089พ.ศ. 2107พ.ศ. 2119พ.ศ. 2143พรมผนังพระราชวังพระสันตะปาปาพระสันตะปาปาพระคริสต์ทรงพระสิริพระนางมารีย์พรหมจารีพระแม่มารีอัลบาพระแม่มารีคอนเนสตาบิเลพระแม่มารีซิสติน (ราฟาเอล)พระแม่มารีแห่งภูผาพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)พระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)พระแม่มารีเบนัวส์พระเยซูพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)พระเจ้าพระเจ้าพระบุตรพระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากองพันธสัญญาใหม่พันธสัญญาเดิมพายุ (จอร์โจเน)พาร์มิจานิโนพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พุตโตกวัตโตรเชนโตกวีโด ดา ซีเอนากอปโป ดี มาร์โกวัลโดกัมโปซันโตโมนูเมนตาเลการพิพากษาครั้งสุดท้ายการพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล)การพิมพ์การมัดอิสอัคการล่าสัตว์ในป่า (อูเชลโล)การสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล)การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก)การาวัจโจการทดลองพระเยซูการตกในบาปการตรึงพระเยซูที่กางเขนการประสูติของพระเยซูการนมัสการของโหราจารย์กำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)ภาพชีวิตประจำวันภาพนิ่งภาพเหมือนภาพเหมือนผู้อุทิศภาพเหมือนตนเองภูมิทัศน์มหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลามหาวิหารซันตาโกรเชมหาวิหารปาโดวามหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัวมันโตวามารีย์ (มารดาพระเยซู)มาร์ติน โชนเกาเออร์มาร์ซีลีโอ ฟีชีโนมาซัชโชมาโซลีโน ดา ปานีกาเลมาเอสตะมิลานมิเนอร์วามีเกลันเจโลมนุษยนิยมยอห์นผู้ให้บัพติศมายัน ฟัน ไอก์ยาโกโปแห่งวารัซเซยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์รักบริสุทธิ์ราฟาเอลรูปเคารพฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)ลัทธิคลาสสิกใหม่ลัทธินอกศาสนาลายใบอะแคนทัสลูคา เดลลา รอบเบียวังดยุกแห่งมานตัววิโอลาวีนัสศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์ยุคแรกศิลปะกอทิกนานาชาติศิลปะจินตนิยมศิลปะคริสเตียนศิลปะคลาสสิกศิลปะไบแซนไทน์ศิลปะเชิง 3 มิติสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสมัยกลางสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3สวนเอเดนสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันสีน้ำมันสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสงครามโลกครั้งที่สองหอล้างบาปหอศิลป์อุฟฟีซีหอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)หอศีลจุ่มซันโจวันนีหน้าบันห้องราฟาเอลห้องเจ้าสาว (มานเทนยา)ออร์กัญญาออร์ซันมีเกเลอะลาบาสเทอร์อัมโบรโจ โลเรนเซตตีอัลตีกีเอโรอัลเบร็ชท์ ดือเรอร์อัครทูตอันนีบาเล การ์รัชชีอันโตเนลโล ดา เมสสินาอันเดรอา กริตติอันเดรอา มันเตญญาอันเดรอา เดล กัสตัญโญอันเดรอา เดล ซาร์โตอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโออันเดรอา เดลลา รอบเบียอาสนวิหารฟลอเรนซ์อาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด)อาดัมอิสอัคอุปมานิทัศน์อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)อีราสโมแห่งนาร์นิฮือโค ฟัน เดอร์คุสฌัก-หลุยส์ ดาวีดจริตนิยมจอร์โจ วาซารีจอร์โจเนจอห์น ฮอว์ควูดจอตโต ดี บอนโดเนจักรราศีจักรวรรดิโรมันจาโกโป ปอนตอร์โมจิตรกรชั้นครูจิตรกรรมจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิชจิตรกรรมสีน้ำมันจิตรกรรมแผงจิตรกรรมเฟลมิชจุสโต เด เมนาบูโออีจูลีโอ โรมาโนธนาคารทหารรับจ้างทหารรับจ้างอิตาลีทัศนมิติทัดดิโอ กัดดีทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล)ทิเชียนขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ)ดยุกแห่งเวนิสดันเต อาลีกีเอรีดิเอโก เบลัซเกซดุชโชดีวีนากอมเมเดียความตายของโพรคริส (โคสิโม)คันทวยคณะดอมินิกันงานกระจกสีงานโมเสกตระกูลกอนซากาตระกูลเอสเตตรีเอกภาพตำนานสิบราตรีตำนานทองตินโตเรตโตฉากประดับแท่นบูชาฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารีซันตาตรีนีตาซันซักกาเรีย เวนิสซันโดร บอตตีเชลลีซากรากอนแวร์ซาซีโอเนซีโมนเปโตรซีโมเน มาร์ตีนีซีเอนาประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมประวัติของไม้กางเขนแท้ประตูชัยประเทศฝรั่งเศสประเทศอิตาลีปารีสปาลัซโซสกีฟาโนยาปาลัซโซปุบบลีโกปาโอโล อุชเชลโลปาโอโล เวโรเนเซปาโดวาปีเอตะปีเอตะ (ทิเชียน)ปีเอโร ดี โกซีโมปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกาปีเอโตร กาวัลลีนีปีเอโตร อาเรตีโนปีเอโตร โลเรนเซตตีปีเอโตร เปรูจีโนนรกนักบุญเจอโรมนักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา)นักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน)นิมฟ์นิคโคโล ดา โทเล็นทิโนนีกอลา ปูแซ็งแบล็กเดทแฟร์ราราแม่พระรับสารและสองผู้อุทิศคุกเข่า (ลิปปี)แม่พระซอลลีแม่พระและพระกุมารแม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์แม่พระแห่งเหล่าเครูบแร็มบรันต์แอร์โกเล เด โรแบร์ตีแคว้นอุมเบรียแคว้นปกครองตนเองซิซิลีใบปิดโบสถ์น้อยโบสถ์น้อยบรันกัชชีโบสถ์น้อยสโกรเวญญีโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนีโบสถ์น้อยซัสเซตตีโบสถ์น้อยซิสทีนโพลิเซียโนโกซีโม รอสเซลลีโกซีโม ตูราโกซีโม เด เมดีชีโมนาลิซาโยฮันน์ กูเทนแบร์กโรมันคาทอลิกโรมโบราณโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลเรนโซ กอสตาโลเรนโซ กีแบร์ตีโลเรนโซ เด เมดีชีโจวันนี บอกกัชโชโจวันนี บัตติสตา ตีเอโปโลโจวันนี เบลลีนีโดนาโต ดันเจโล บรามันเตโดนาเตลโลโดเมนีโก กีร์ลันดาโยโครงสร้างทรงโค้งเพลโตเพดานโบสถ์น้อยซิสทีนเมดีชีเยเรมีย์เลออน บัตติสตา อัลแบร์ตีเลโอนาร์โด ดา วินชีเวกกีเอตตาเวนิสเอลเกรโกเอวาเออแฌน เดอลาครัวเอดัวร์ มาแนเฮราคลิตุสเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโนเจนตีเล เบลลีนีเทพปกรณัมกรีกเทววิทยาเซนต์เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เนเปิลส์ ขยายดัชนี (280 มากกว่า) »

บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)

รรจุร่างพระเยซู (The Entombment) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยมีเกลันเจโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)ในอังกฤษ มีเกลันเจโลเขียนภาพ “บรรจุร่างพระเยซู” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1501 แต่ไม่เสร็จ เวลาที่เขียนภาพนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่แม้ว่าจะเชื่อกันทั่วไปว่าเป็นภาพที่เขียนในสมัยแรกๆ บางท่านก็เชื่อว่าเป็นภาพที่เขียนโดยลูกศิษย์ของมีเกลันเจโลจากภาพที่ร่างโดยมีเกลันเจโลหรือเขียนเลียนแบบโดยตรง จากเอกสารที่พบในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและบรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

บรอนซีโน

“วีนัส, คิวปิด, ฟอลลี, เวลา” ค.ศ. 1545, พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ “การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ” ภาพของอันเดรีย ดอเรียนายทหารรับจ้างและนายพลเรือจากเจนัวแต่งตัวเป็นเทพเนพจูน แอกโนโล ดี โคสิโม หรือ บรอนซิโน (ภาษาอังกฤษ: Agnolo di Cosimo หรือที่รู้จักกันในนาม Bronzino) (17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1503 - 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1572) เป็นจิตรกรสมัยแมนเนอริสม์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 บรอนซิโนมีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน และจิตรกรรมฝาผนัง ที่มาของชื่อ “บรอนซิโน” ไม่เป็นที่ทราบแน่นอนแต่อาจจะเป็นเพราะบรอนซิโนมีผิวคล้ำแบบบร็อนซ์ สันนิษฐานกันว่าสาเหตุของสีผิวที่คล้ำมาจากโรค Addison's disease ซึ่งเป็นผลที่ทำให้สีผิวหนังคล้ำกว่าปกต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและบรอนซีโน · ดูเพิ่มเติม »

บรูช

รูช (Bruges) หรือ บรึคเคอ (Brugge) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของจังหวัดฟลานเดอร์ตะวันตกในบริเวณเฟลมมิชในประเทศเบลเยียม ตัวเมืองตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ศูนย์ประวัติศาสตร์ของเมืองได้รับเลือกให้เป็นเมืองในมรดกโลกของยูเนสโก ตัวเมืองรูปไข่มีเนื้อที่ประมาณ 430 เฮกตาร์ เนื้อที่ทั้งหมดของตัวเมืองมีประมาณกว่า 13,840 เฮกตาร์รวมทั้งอีก 1,075 เฮกตาร์ริมฝั่งทะเลที่เซบรึคเคอ (Zeebrugge) บรูชมีประชากรทั้งสิ้น 117,073 คน (1 มกราคม 2008) Population of all municipalities in Belgium, as of 1 January 2008.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและบรูช · ดูเพิ่มเติม »

บอร์โซ เดสเต

อร์โซ เดสเต (Borso d'Este) (ค.ศ. 1413 - 20 สิงหาคม ค.ศ. 1471) บอร์โซ เดสเตเป็นดยุกแห่งเฟอร์ราราของตระกูลเอสเตคนแรกที่ปกครองเฟอร์ราราตั้งแต่ปี ค.ศ. 1450 จนกระทั่งเสียชีวิต บอร์โซเป็นบุตรนอกสมรสนิคโคโลที่ 3 เดสเตมาร์ควิสแห่งเฟอร์รารา, โมเดนา และ เรจจิโอ และภรรยาน้อยสเตลลา เด โทโลเมอิ บอร์โซเป็นมาร์ควิสต่อจากเลโอเนลโล เดสเตเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและบอร์โซ เดสเต · ดูเพิ่มเติม »

บานพับภาพ

แซนไทน์ คริสต์ศตวรรษที่ 10 บานพับภาพ (triptych หรือ polytych) คือจิตรกรรมที่วาดหรือแกะบนแผ่นไม้แบ่งเป็นบาน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นสองบาน สามบาน หรือมากกว่านั้นก็ได้ ที่เชื่อมด้วยกันและพับได้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและบานพับภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ชีมาบูเอ

“จิตรกรรมมาเอสตา” ค.ศ. 1280-ค.ศ. 1285 ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ “Crucifix” ค.ศ. 1287-ค.ศ. 1288 ที่ บาซิลิกาดิซานตาโครเช (Basilica di Santa Croce)ฟลอเรนซ์ เชนนี ดิ เป็บโป (จิโอวานนี) ชิมาบูเย (ภาษาอิตาลี: Cenni di Pepo (Giovanni) Cimabue) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า เบนชิเวียนี ดิ เป็บโป (Bencivieni Di Pepo) หรือในภาษาอิตาลีสมัยใหม่ว่า เบนเวนูโต ดิ จุยเซ็พปี (Benvenuto Di Giuseppe) (ประมาณ ค.ศ. 1240-ประมาณ ค.ศ. 1302) เป็นจิตรกรและช่างโมเสกชาวอิตาลีจากเมืองฟลอเรนซ์ (ผู้เป็นอาจารย์ของจอตโต ดี บอนโดเน) ชิมาบูเยมีบทบาทสำคัญต่องานจิตรกรรมในประเทศอิตาลี และถือว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญคนสุดท้ายของสมัยศิลปะไบแซนไทน์ ศิลปะยุคนี้ประกอบด้วยโครงสร้างและทิวทัศน์ที่ยังเป็นสองมิติและเป็นสมัยที่เน้นการตกแต่ง (highly stylized) คล้ายจิตรกรรมฝาผนังในวัดไทย ชิมาบูเยเป็นผู้ริเริ่มการวาดแบบใกล้เคืยงธรรมชาติดังจะเห็นได้จากรูปคนที่ขนาดสัดส่วนเท่าคนจริงและการเริ่มใช้แสงเงาบ้างเล็กน้อ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและชีมาบูเอ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตศิลปิน

ีวิตศิลปิน หรือ ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น (Le Vite delle più eccellenti pittori, scultori, ed architettori; Lives of the Most Excellent Painters, Sculptors, and Architects) เป็นหนังสือชีวประวัติที่เขียนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดย จิตรกรและสถาปนิก จอร์โจ วาซารี ซึ่งถือกันว่าอาจจะเป็นหนังสือเกี่ยวกับศิลปะที่สำคัญที่สุดและยังใช้อ้างอิงกันมากที่สุดในวงการศิลปะ “เป็นงานเขียนเกี่ยวกับศิลปะที่สำคัญที่สุดในสมัยเรอเนซองส์” และ “เป็นรากฐานของการเขียนประวัติศาสตร์ศิลปะ” ชื่อหนังสือมักจะเรียกกันสั้นๆ ว่า “Vite” หรือ “Lives” หรือ “ชีวิตศิลปิน”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและชีวิตศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตของพระนางพรหมจารี

ีวิตของพระแม่พรหมจารี (Life of the Virgin) หรือชีวิตของพระแม่มารี เป็นฉากชุดจากชีวิตของพระแม่มารีย์มารดาของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้เขียนภาพชุดในศิลปะคริสต์ศาสนามักจะเป็นชุดที่ประกอบกับหรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการเขียนก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี หนังสือวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและชีวิตของพระนางพรหมจารี · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตของพระเยซู

ีวิตของพระคริสต์ (Life of Christ) เป็นฉากชุดจากชีวิตบนโลกของพระเยซูที่เป็นหัวเรื่องที่ใช้ในการเขียนภาพชุดในศิลปะศาสนาคริสต์ มักจะเป็นชุดเอกลักษณ์หรือเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระนางพรหมจารี จำนวนฉากก็ต่างกันไปตามแต่เนื้อที่ใช้วาดภาพ ลักษณะการสร้างงานก็อาจจะเป็นจิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมแผง หน้าต่างประดับกระจกสี เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร พรมทอแขวนผนัง งานสลักหิน งานแกะงาช้างและอื่นๆ บางฉากก็เป็นภาพเขียนเดี่ยว ๆ เช่น “การตรึงพระเยซูที่กางเขน” ที่นิยมเขียนกันมาก ชุดที่นิยมเขียนกันก็ได้แก่ชุดที่เกี่ยวกับการประสูติและพระทรมานของพระเยซู ที่นำไปสู่การตรึงพระเยซูที่กางเขนและการคืนพระชนม์ แต่ภาพเขียนที่เกี่ยวกับการเทศนาก่อนที่จะถึงเหตุการณ์ในวาระสุดท้ายของพระองค์แทบจะไม่เขียนกันในยุคกลางด้วยเหตุผลหลายอย่าง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและชีวิตของพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

ฟรังซิสแห่งอัสซีซี

นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 148 (Saint Francis of Assisi) มีนามเดิมว่า ฟรันเชสโก ดี ปีเอโตร ดี แบร์นาร์โดเน เป็นไฟรเออร์และนักเทศน์ในนิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะฟรันซิสกัน คณะกลาริส และคณะชั้นสามของนักบุญฟรังซิส แม้นักบุญฟรังซิสจะไม่ใช่บาทหลวง แต่ถือเป็นศาสนบุคคลที่ไดัรับการเคารพนับถือมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์Brady, Ignatius Charles.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟรังซิสแห่งอัสซีซี · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก ตราอีนี

ฟรานเชสโค ทราอินิ (Francesco Traini) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 14ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและฉากแท่นบูชา ฟรานเชสโค ทราอินิมีผลงานระหว่าง..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟรันเชสโก ตราอีนี · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก เดล กอสซา

ฟรานเชสโค เดล คอสสา (Francesco del Cossa) (ราว ค.ศ. 1430 - ราว ค.ศ. 1477) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์ราราของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟรันเชสโก เดล กอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ. 1395 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1455) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีฝุ่นบนไม้ และการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง เป็นผู้ที่จอร์โจ วาซารีกล่าวถึงในหนังสือ“ชีวิตศิลปิน” ว่ามีความสามารถพิเศษที่หายากGiorgio Vasari, Lives of the Artists.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟราอันเจลีโก · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปปีโน ลิปปี

| สี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟีลิปปีโน ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี

รูปปั้นฟีลิปโป บรูเนลเลสกี ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี (Filippo Brunelleschi) (ค.ศ. 1377 - 15 เมษายน ค.ศ. 1446) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี และเป็นหนึ่งในสถาปนิกกลุ่มแรกที่เข้าร่วมกระบวนการเรอเนซองซ์ในเมืองฟลอเรนซ์ งานออกแบบส่วนใหญ่ของเขาจะอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์แห่งนี้ บรูเนลเลสกีเป็นสถาปนิกที่โด่งดังและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในยุคของเขา ผลงานหนึ่งที่สำคัญของเขาอันเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อวงการออกแบบสถาปัตยกรรมของโลกมาจนถึงทุกวันนี้คือ การคิดค้นระบบการเขียนแบบทัศนียภาพหรือเพอร์สเปกทีฟ (perspective).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟีลิปโป บรูเนลเลสกี · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ. 1440พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา ภาพเหมือนกับลูกศิษย์ ฟีลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi) (ค.ศ. 1406 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1469) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฟีลิปโป ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1809

ทธศักราช 1809 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1809 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1823

ทธศักราช 1823 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1823 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1833

ทธศักราช 1833 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1833 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1870

ทธศักราช 1870 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1870 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1876

ทธศักราช 1876 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1876 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1880

ทธศักราช 1880 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1880 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1891

ทธศักราช 1891 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1891 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1893

ทธศักราช 1893 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1893 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1938

ทธศักราช 1938 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1938 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1940

ทธศักราช 1940 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1944

ทธศักราช 1944 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1949

ทธศักราช 1949 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1949 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1955

ทธศักราช 1955 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1955 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1971

ทธศักราช 1971 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1972

ทธศักราช 1972 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1973

ทธศักราช 1973 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1973 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1974

ทธศักราช 1974 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1985

ทธศักราช 1985 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1985 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1988

ทธศักราช 1988 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1992

ทธศักราช 1992 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1993

ทธศักราช 1993 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1993 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1995

ทธศักราช 1995 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1998

ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 1998 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2005

ทธศักราช 2005 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2012

ทธศักราช 2012 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2013

แผนที่ทวีปยุโรปเมื่อ ค.ศ. 1470 พุทธศักราช 2013 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2018

ทธศักราช 2018 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2020

ทธศักราช 2020 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2020 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2022

ทธศักราช 2022 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2022 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2026

ทธศักราช 2026 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2026 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2028

ทธศักราช 2028 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2028 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2033

ทธศักราช 2033 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2033 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2035 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2037

ทธศักราช 2037 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2037 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2038

ทธศักราช 2038 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2038 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2042

ทธศักราช 2042 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2042 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2049

ทธศักราช 2049 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2049 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2050

ทธศักราช 2050 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2050 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2051

ทธศักราช 2051 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2051 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2053

ทธศักราช 2053 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2053 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2059

ทธศักราช 2059 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2059 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2062

ทธศักราช 2062 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2062 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2063

ทธศักราช 2063 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2063 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2065

ทธศักราช 2065 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2065 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2089

ทธศักราช 2089 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2089 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2107

ทธศักราช 2107 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2107 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2119

ทธศักราช 2119 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2119 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2143

ทธศักราช 2143 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพ.ศ. 2143 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนัง

การแขวนพรมบนผนังโกบลินที่วังลินเดอร์โฮฟ ราวปี ค.ศ. 1900 พรมผนัง หรือ พรมแขวนผนัง (tapestry) เป็นงานศิลปะสิ่งทอ ซึ่งทอด้วยมือบนกี่ตั้งที่เส้นด้ายพุ่งซ่อนเส้นด้ายยืนหมดเมื่อทำเสร็จ ซึ่งต่างจากการทอผ้า อาจเห็นทั้งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่ง การทำเช่นนี้ทำให้เกิดลวดลายหรือภาพ ผู้ทอมักจะใช้ด้ายยืนที่ทำจากลินินหรือฝ้าย ส่วนด้ายพุ่งอาจจะเป็นขนแกะ, ฝ้าย หรือไหม หรือบางครั้งก็ใช้ด้ายที่ทำจากทอง, เงิน หรือวัสดุอื่นๆ ด้วย ทั้งช่างและศิลปินเป็นผู้สร้างงานพรมทอ ก่อนอื่นศิลปินจะร่างแบบ ที่เรียกกันว่า “tapestry cartoon” เพื่อให้ช่างทอตามแบบที่ร่าง ห้วเรื่องที่ทอก็อาจจะมาจากคัมภีร์ไบเบิล, ตำนานเทพ หรือฉากล่าสัตว์ ซึ่งจะเป็นที่นิยมทำกันในการตกแต่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพรมผนัง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระราชวังพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระคริสต์ทรงพระสิริ

ระคริสต์ทรงพระสิริ (Christ in Glory) หรือ พระคริสต์ผู้ยิ่งใหญ่ (Christ in Majesty Majestas Domini), เป็นภาพพระเยซูประทับบนบัลลังก์ในฐานะประมุขของโลก ในการวางองค์ประกอบของงานศิลปะจะเป็นภาพที่จะมองจากด้านหน้าเสมอ และมักจะขนาบด้วยคนหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนไปแล้วแต่บริบท ลักษณะ ภาพ “พระคริสต์ทรงพระสิริ” เป็นภาพที่วิวัฒนาการมาตั้งแต่ศิลปะคริสเตียนยุคแรกที่นำมาโดยตรงจากภาพจักรพรรดิโรมันบนบัลลังก์ ในศิลปะไบแซนไทน์จะมีลักษณะที่ต่างออกไปเล็กน้อยเป็นภาพครึ่งพระองค์ “พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ” (Christ Pantocrator) และจะไม่มีสิ่งอื่นใดประกอบ และภาพ “เดอีซิส” (Deesis) ที่เป็นภาพทั้งพระองค์บนบัลลังก์ขนาบด้วยพระแม่มารีย์และนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญองค์อื่น ๆ ทางตะวันตกองค์ประกอบของภาพวิวัฒนาการมาโดยตลอดจนกระทั่งถึงสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยังคงดำรงความสำคัญจนมาถึงปลายศิลปะบารอกที่เป็นภาพที่ลอยอยู่บนฟ้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระคริสต์ทรงพระสิริ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางมารีย์พรหมจารี

ริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกเรียกนางมารีย์ (มารดาพระเยซู) ว่า พระนางมารีย์พรหมจารี (the Blessed Virgin Mary) เพราะเชื่อว่าพระแม่มารีย์เป็นพรหมจารีเสมอ และพระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าก็มารับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของพระแม่มารีย์ จึงทำให้พระแม่มารีย์มีสถานะเป็น "พระมารดาพระเจ้า" ด้วย คริสตจักรโรมันคาทอลิกได้รับรองความเชื่อนี้มาตั้งแต่สังคายนาเอเฟซัสครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระนางมารีย์พรหมจารี · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีอัลบา

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีอัลบา (Alba Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริกา ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีอัลบา” เสร็จในปี ค.ศ. 1151 เป็นภาพของพระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์โดยมีฉากหลังเป็นชนบทของอิตาลี นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ถือกางเขนที่พระบุตรกุมอยู่ข้างบน บุคคลทั้งสามในภาพต่างก็มองมาทางกางเขนและรวมอยู่ทางซ้ายของภาพ แต่แขนขวาของพระแม่มารีที่กางออกไปเล็กน้อยและพระภูษาที่ออกมาทางขวาของทำให้ภาพมีความสมดุลขึ้น ปาโอโล โจวีโอเป็นผู้จ้างราฟาเอลให้เขียนภาพ “พระแม่มารีอัลบา” เพื่อที่จะส่งไปให้วัดที่โอลิเวตานีในโนเซรา เดอิ พากานิ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ภาพเขียนตกไปเป็นของตระกูลอัลบาที่ภาพเขียนได้รับนาม ในปี ค.ศ. 1836 ภาพเขียนก็ถูกขายให้แก่สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย ผู้นำไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ร้อยปีต่อมารัฐบาลโซเวียตขายภาพให้แก่แอนดรู ดับเบิลยู เมลลอน (Andrew W. Mellon) ในราคา $1,166,400 ต่อมาเมลลอนอุทิศงานสะสมรวมทั้งภาพนี้ให้แก่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐอเมริกาที่เป็นที่ตั้งแสดงในปัจจุบันของภาพ ระหว่างที่ตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจภาพเขียนถูกย้ายจากแผงกลมไปบนผ้าใบสี่เหลี่ยมระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการวิจัยพบว่าแผงภาพเขียนเดิมแตกกลางทางด้านขวา ลายผ้าใบเห็นได้อย่างชัดเจนในภาพเขียนและทางด้านขวามีรอยเสียหายระหว่างการย้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีอัลบา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล (Conestabile Madonna) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล” ระหว่างปี ค.ศ. 1502 ถึงปี ค.ศ. 1504 เป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่อาจจะยังเขียนไม่เสร็จและอาจจะเป็นงานเขียนสุดท้ายที่เขียนระหว่างที่พำนักอยู่ที่อุมเบรียก่อนที่จะย้ายไปฟลอเรนซ์ ชื่อของภาพเขียนมาจากชื่อครอบครัวคอนเนสตาบิเลแห่งเปรูเจียที่ขายให้แก่สมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียในปีค.ศ. 1871.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีคอนเนสตาบิเล · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีซิสติน (ราฟาเอล)

ระแม่มารีซิสติน (Sistine Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดนที่เมืองเดรสเดนในประเทศเยอรมนี ภาพพระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญซิกซ์ตัสและนักบุญบาร์บารามักจะเรียกกันว่าภาพ “พระแม่มารีซิสติน” เป็นภาพที่ราฟาเอลเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1513 ถึงปี ค.ศ. 1514 ตัวแบบในภาพยืนบนปุยเมฆที่ล้อมเป็นกรอบด้วยม่านหนาหนักสองข้าง พระแม่มารีเองดูราวกับว่าลอยลงมาจากสวรรค์จากที่ว่างลวงตามายังที่ว่างจริงบริเวณหน้าภาพที่จะเห็นได้จากจุดโฟคัสที่พระหนุของพระองค์ นักบุญบาร์บาราปรายตามาทางผู้ศรัทธาที่เลยออกมาจากระเบียงด้านล่างของภาพ มงกุฎพระสันตะปาปาด้านล่างซ้ายของภาพเป็นสิ่งที่เชื่อมระหว่างที่ว่างลวงตาของภาพและที่ว่างจริงนอกภาพ (real และ pictorial space) ภาพเขียนนี้อาจจะเป็นภาพที่เขียนขึ้นสำหรับตกแต่งที่บรรจุศพของ สมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 เพราะนักบุญซิกส์ตุสเป็นนักบุญผู้พิทักษ์ของตระกูลเดลลาโรเวเร (Della Rovere) ซึ่งเป็นตระกูลของพระองค์ รูปยุวเทพสองตนที่เกยคางอยู่ด้านล่างของภาพกลายมาเป็นรูปสัญลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักกันดีและปรากฏในงานศิลปการค้าต่างๆ อย่างแพร่หล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีซิสติน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีแห่งภูผา

ระแม่มารีแห่งภูผา (Virgin of the Rocks) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันสองภาพที่มีลักษณะการวางภาพที่เหมือนกันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชีจิตรกรคนสำคัญสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีสและเลโอนาร์โด ดา วินชียังได้วาดภาพนี้ขึ้นอีกชิ้นและปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในอังกฤษ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีแห่งภูผา · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีให้นม (ดา วินชี)

ระแม่มารีให้นม (ภาษาอังกฤษ: Madonna Litta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในสหพันธรัฐรัสเซีย เลโอนาร์โดเขียนภาพ “พระแม่มารีให้นม” ราวปี ค.ศ. 1490 เป็นภาพที่พระแม่มารีกำลังให้นมแก่พระบุตร แต่ท่าทางเก้งก้างของพระบุตรทำให้นักวิชาการบางท่านสันนิษฐานว่าบางส่วนของภาพอาจจะเขียนโดยโบลทราฟฟิโอผู้เป็นลูกศิษย์ของดา วินชี อีกข้อหนึ่งที่ทำให้สันนิษฐานว่าดา วินชีให้ลูกศิษย์เขียนให้เสร็จคือจากเส้นของของพระแม่มารีและพระบุตรดูแข็งกว่างานอื่นของดา วินชี และฉากหลังที่เรียบ ภาพ “พระแม่มารีให้นม” เป็นภาพที่เขียนให้กับตระกูลวิสคอนติประมุขแห่งมิลาน ต่อมาตกไปเป็นของตระกูลลิตตาที่เป็นเจ้าของต่อมาอีกหลายร้อยปี ในปี ค.ศ. 1865, ซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซียซื้อจากเคานท์ลิตตา และเก็บภาพไว้ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจที่เป็นที่ตั้งของภาพมาจนกระทั่งทุกวันนี้ ภาพเขียนปรากฏในภาพยนตร์ รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีให้นม (ดา วินชี) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)

ระแม่มารีในกรอบกลม (Doni Tondo หรือ Doni Madonna) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันบนแผงไม้ที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในฟลอเรนซ์ในอิตาลี ภาพ “พระแม่มารีในกรอบกลม” เขียนราวปี ค.ศ. 1503 เป็นหนึ่งในสี่จิตรกรรมแผงเท่านั้นที่ไมเคิล แอนเจโลเขียน และเป็นเพียงงานชิ้นเดียวในสี่ชิ้นที่ยังคงมีอยู่และยังอยู่ในกรอบเดิมที่ออกแบบโดยไมเคิล แอนเจโลเอง ภาพนี้อาจจะจ้างโดยอักโนโล โดนิช่างทอผ้าผู้มั่งคั่งในโอกาสวันที่สมรสกับมัดดาเลนา สตรอซซิจากตระกูลสตรอซซิตระกูลผู้มีอิทธิพลของฟลอเรนซ์ ภาพเขียนเป็นแบบ “ศิลปะทรงกลม” ซึ่งมักเป็นเป็นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงานในสมัยเรอเนซองส์ งานชิ้นนี้เขียนขึ้นหลังจากการเขียนปิเอต้าแต่ก่อนที่จะเขียนภาพบนเพดานในชาเปลซิสติน เป็นภาพที่ได้รับอิทธิพลจากงานเขียนภาพ “พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญแอนน์” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี และงานเขียนของลูคา ซินยอเรลลิ และ ประติมากรรมคาเมโอในพาลัซโซเมดิชิ ภาพ “พระแม่มารีในกรอบกลม” เป็นภาพของพระแม่มารี โจเซฟ และพระทารกเยซู และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีเบนัวส์

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีเบนัวส์ หรือ พระแม่มารีและพระบุตรกับดอกไม้ (Benois Madonna หรือ Madonna and Child with Flowers) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, สหพันธรัฐรัสเซีย “พระแม่มารีเบนัวส์” อาจจะเป็นหนึ่งในงานเขียนพระแม่มารีที่เลโอนาร์โดกล่าวถึงในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1478 อีกภาพหนึ่งอาจจะเป็นภาพ “พระแม่มารีกับดอกคาร์เนชั่น” ที่หอศิลป์เก่าที่มิวนิค อาจจะเป็นไปได้ว่า “พระแม่มารีเบนัวส์” เป็นงานเขียนชิ้นแรกที่เขียนหลังจากที่เป็นอิสระจากอันดรีย เดล เวอร์โรชชิโอ งานร่างสองชิ้นของภาพนี้เป็นของพิพิธภัณฑ์บริติช รอยยิ้มที่ไม่เผยอริมฝีปากทำให้น่าสันนิษฐานกันได้ว่าเป็นงานเขียนที่ยังไม่เสร็จเช่นภาพเขียนอื่นๆ ของเลโอนาร์โด องค์ประกอบของภาพ “พระแม่มารีเบนัวส์” เป็นองค์ประกอบที่เป็นที่นิยมที่สุดอันหนึ่งของเลโอนาร์โดที่จิตรกรคนอื่นเลียนแบบกันอย่างแพร่หลาย รวมทั้งราฟาเอลที่เขียนภาพที่คล้ายคลึงกันชื่อ “พระแม่มารีสีชมพู” ภาพ “พระแม่มารีเบนัวส์” หายไปอยู่หลายร้อยปี จนในปีค.ศ. 1909 เมื่อสถาปนิกลิออง เบนัวส์ (Leon Benois) นำไปแสดงเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมของพ่อตาที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ภาพเขียนถูกนำจากอิตาลีไปรัสเซียโดยอเล็กซานเดอร์ คอร์ซาคอฟ ในคริสต์ทศวรรษ 1790 เมื่อคอร์ซาคอฟเสียชีวิต ลูกชายก็ขายให้กับพ่อค้าอัสตราคาน (Astrakhan) เป็นจำนวน 1400 รูเบิลส์และในที่สุดก็ผ่านมาเป็นของครอบครัวเบนัวส์ในปี ค.ศ. 1880 หลังจากถกเถียงกันเรื่องใครเป็นผู้เขียนที่แท้จริงอยู่เป็นนานลิอองก็ขายภาพในกับพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจในปี ค.ศ. 1914 ตั้งแต่นั้นมาภาพเขียนก็ตั้งแสดงอยู่ที่นั่น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระแม่มารีเบนัวส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)

ูบทความหลักที่ พระเยซูถูกเฆี่ยน พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งมาร์เคที่เมืองเออร์บิโนในประเทศอิตาลี เปียโรเขียนภาพนี้ประมาณระหว่างปี ค.ศ. 1455 ถึงปี ค.ศ. 1460 นักเขียนผู้หนึ่งบรรยายภาพนี้ว่าเป็นภาพ “enigmatic little painting” องค์ประกอบของภาพต่างจากการวางองค์ประกอบภาพโดยทั่วไปและค่อนข้างซับซ้อน รูปสัญลักษณ์และความหมายในการสื่อเป็นเรื่องที่ถกเถียงทางทฤษฎีกันอย่างกว้างขวาง เค็นเน็ธ คล้าค (Kenneth Clark) นักประวัติศาสตร์ศิลปะนับภาพ “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นภาพหนึ่งในจำนวนภาพเขียนที่ดีที่สุดสิบภาพและเรียกว่าเป็น “ภาพเขียนเล็กที่ดีที่สุดในโลก”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าพระบุตร

ตามหลักเทววิทยาศาสนาคริสต์ ถือว่าพระเจ้าพระบุตร (God the Son) คือพระบุคคลที่สองในตรีเอกภาพ โดยเชื่อว่าพระเจ้าพระบิดา พระเจ้าพระบุตร และพระเจ้าพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นพระเจ้าในสารัตถะเดียว แต่ต่างบุคคลกัน และเชื่อว่าพระเจ้าพระบุตรก็คือพระเยซู ตามความเชื่อนี้ พระเจ้าพระบุตรดำรงอยู่มาก่อนที่จะรับสภาพมนุษย์เป็นพระเยซู และเป็นพระเป็นเจ้าที่ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์เช่นเดียวกับพระบิดาและพระวิญญาณบริสุทธิ์ คำว่า "พระเจ้าพระบุตร" จึงเน้นถึงความเป็นพระเจ้าของพระเยซู ต่างจากคำว่า พระบุตรของพระเจ้า ที่เน้นความเป็นมนุษย์มากกว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระเจ้าพระบุตร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากอง

ระเจ้าอัลฟอนโซที่ 5 แห่งอารากอน (Alfonso V of Aragon หรือ Alfonso the Magnanimous; Alfons) (ค.ศ. 1396 - 27 มิถุนายน ค.ศ. 1458) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 5”, พระมหากษัตริย์แห่งบาเลนเซียในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 3”, พระมหากษัตริย์แห่งมายอร์คาและซาร์ดิเนียในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 2”, และพระมหากษัตริย์แห่งซิซิลีและเคานท์แห่งบาร์เซโลนา ในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 4” และพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์ในพระนามว่า “อัลฟอนโซที่ 1”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพระเจ้าอัลฟองโซที่ 5 แห่งอารากอง · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาใหม่

ันธสัญญาใหม่ หรือ พระคริสตธรรมใหม่ (Καινή Διαθήκη; New Testament) เป็นภาคที่สองของคัมภีร์ไบเบิล จากทั้งหมด 2 ภาค ประกอบด้วยหนังสือภาษากรีกทั้งสิ้น 27 เล่ม ทุกเล่มเขียนโดยนักบุญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอัครทูตและนักบุญในช่วงเวลาเดียวกัน และทุกเล่มเขียนขึ้นหลังการตรึงพระเยซูที่กางเขน แม้ว่าพระเยซูจะไม่ได้ทรงเขียนด้วยพระองค์เอง แต่คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าผู้เขียนได้เขียนขึ้นจากการดลใจและการทรงนำของพระเป็นเจ้าและพระเยซูผ่านทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส่วนชาวมุสลิมแม้จะนับถือพระเยซูเป็นนบีอีซา แต่ก็ไม่ยอมรับคัมภีร์ไบเบิลในปัจจุบันว่าเป็นพระวจนะของพระเจ้า เพราะนักวิชาการอิสลามเห็นว่าคัมภีร์นี้ถูกตัดเสริมแต่งและสังคายนากันหลายครั้ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพันธสัญญาใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

พายุ (จอร์โจเน)

(The Tempest, La Tempesta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ Gallerie dell'Accademia ในเมืองเวนิสในประเทศอิตาลี ภาพ “พายุ” เป็นภาพที่เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1506 ถึงปี ค.ศ. 1508.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพายุ (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

พาร์มิจานิโน

รลาโม ฟรานเชสโค มาเรีย มัซโซลา หรือ ฟรานเชสโค มัซโซลา (Parmigianino หรือ Girolamo Francesco Maria Mazzola หรือ Francesco Mazzola) (11 มกราคม ค.ศ. 1503 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1540) เป็นจิตรกรยุคแมนเนอริสม์คนสำคัญของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน มัซโซลารู้จักกันสั้นๆ ว่า “พาร์มิจานิโน” งานของพาร์มิจานิโนมีลักษณะยาวที่รวมทั้งภาพ “มโนทัศน์ของนักบุญเจอโรม” ที่เขียนในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพาร์มิจานิโน · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พุตโต

“พุตโต” ถือหอยสำหรับจ้วงน้ำที่ใช้ในพิธีบัพติศมาบนฉากประดับแท่นบูชานักบุญยอห์นแบปติสต์ที่อารามออทโทบอยเรินในเยอรมนี “พุตโตกับวีนัส” (ราว ค.ศ. 1750) โดยฟร็องซัว บูเช (François Boucher) เปมเทพ หรือ พุตโต หรือ พุตตี (Putto หรือ putti (พหูพจน์)) เป็นประติมากรรมรูปเด็กอ้วนยุ้ยและส่วนใหญ่แล้วจะเป็นเด็กผู้ชาย, เปลือย ใช้ในการตกแต่งและพบบ่อยในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และศิลปะบาโรกในเยอรมนี พุตโตมาจากศิลปะโบราณแต่มาพบใหม่เมื่อต้นสมัยศิลปะควอตโตรเช็นโต (Quattrocento) และมักจะเรียกสับสนกับเครูบ (Cherub หรือ cherubim).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและพุตโต · ดูเพิ่มเติม »

กวัตโตรเชนโต

กวัตโตรเชนโต (Quattrocento แปลว่า "400" หรือจากคำว่า "millequattrocento" ที่แปลว่า "1400") เป็นสมัยศิลปะของปลายยุคกลางโดยเฉพาะในสมัยกอทิกนานาชาติและต้นสมัยฟื้นฟูศิลปวิท.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและกวัตโตรเชนโต · ดูเพิ่มเติม »

กวีโด ดา ซีเอนา

กุยโด ดา เซียนา หรือ กุยโด ดิ กราเซียโน (Guido da Siena หรือ Guido di Graziano) เป็นจิตรกรยุคศิลปะไบแซนไทน์ของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 13 กุยโด ดา เซียนาอาจจะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงลักษณะการเขียนจิตรกรรมเช่นเดียวกับชิมาบูเยที่สามารถทำสำเร็จต่อมา แต่ประเด็นนี้ยังไม่เป็นที่ตกลงกันได้ งานที่เป็นที่รู้จักกันของกุยโดเป็นงานจิตรกรรมแผงที่ปัจจุบันแบ่งออกเป็นหลายชิ้น วัดซานโดเมนนิโคในเซียนามีภาพเขียนชิ้นใหญ่ contains a large painting of the “” พร้อมกับเทวดาหกองค์ด้านบน คอนแวนต์เบ็นนาดิคตินในเซียนาเช่นกันมีส่วนที่เป็นสามเหลี่ยมเหนือภาพเขียนเป็นภาพพระมหาไถ่ในท่าประทานพร (in benediction) กับเทวดาสององค์ ภาพสองชิ้นนี้เดิมเป็นภาพเดียวกันที่เดิมเป็นบานพับภาพ แผงหลังของภาพมีคำจารึกภาษาละตินที่บ่งชื่อจิตรกรว่าคือ “Guido de Senis” และปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและกวีโด ดา ซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

กอปโป ดี มาร์โกวัลโด

็อพโพ ดิ มาร์โควาลโด (Coppo di Marcovaldo) (ราว ค.ศ. 1225 - ราว ค.ศ. 1276) เป็นจิตรกรก่อนยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ค็อพโพ ดิ มาร์โควาลโดเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1225 ที่เมืองฟลอเรนซ์ และกล่าวว่าทำงานที่พิสโตเอีย ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและกอปโป ดี มาร์โกวัลโด · ดูเพิ่มเติม »

กัมโปซันโตโมนูเมนตาเล

ทุ่งศักดิ์สิทธิ์แห่งปิซา กัมโปซันโตโมนูเมนตาเล (Camposanto Monumentale) หรืออนุสรณ์สุสานเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ “จตุรัสปาฏิหาริย์” ในปิซาในอิตาลี “กัมโปซันโต” แปลตรงตัวว่า “ทุ่งศักดิ์สิทธิ์” เพราะเชื่อกันว่าก่อสร้างขึ้นบนดินที่ไปขนมาจากกลโกธาที่นำกลับมายังปิซาโดยอูบัลโด เด ลันฟรันชีอาร์ชบิชอปแห่งปิซาขณะนั้นเมื่อเดินทางกลับจากสงครามครูเสดครั้งที่ 4 ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ตำนานอ้างว่าร่างที่ฝังในดินที่มาจากเยรูซาเลมจะเน่าเปื่อยภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง บริเวณสุสานตั้งอยู่บนซากหอล้างบาปเดิมของโบสถ์ซานตาเรพาราตา โบสถ์ที่เคยตั้งอยู่ตรงที่เป็นที่ตั้งของมหาวิหารปีซาปัจจุบัน การใช้คำว่า “อนุสาวรีย์” ประกอบคำเรียกสุสานก็เพื่อแสดงความแตกต่างจากสุสานที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากนั้นที่มีชื่อว่า “camposanto vecchio” (ทุ่งศักดิ์สิทธิ์เก่า).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและกัมโปซันโตโมนูเมนตาเล · ดูเพิ่มเติม »

การพิพากษาครั้งสุดท้าย

การพิพากษาครั้งสุดท้าย(Last Judgment) หรือ วันแห่งการพิพากษา (Day of Judgment) หรือ วันโลกาวินาศ (Doomsday) ตามหลักอวสานวิทยาศาสนาคริสต์ (Christian eschatology) หมายถึง วันที่พระเป็นเจ้าทรงพิพากษาบรรดาประชาชาติต่าง ๆ ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากการคืนชีพของบรรดาผู้ตายและการมาครั้งที่สองของพระเยซู หัวข้อนี้เป็นที่นิยมทำในงานศิลปะต่าง ๆ ในคัมภีร์ไบเบิลระบุว่าพระเจ้าทรงกำหนดวันหนึ่งไว้เพื่อจะพิพากษาโลก และวันแห่งการพิพากษานั้นจะยาวนานหนึ่งพันปี พระเจ้าจะทรงทำลายองค์ประกอบต่างๆของสังคมมนุษย์ที่เสื่อมทรามและกำจัดคนชั่ว ผู้รอดชีวิตจากอวสานของยุคนี้คือ "คนเป็น" ที่จะถูกพิพากษา ในช่วงการพิพากษาซึ่งยาวนานหนึ่งพันปีนั้น พระเยซูพร้อมด้วยชายและหญิง 144,000 คนที่ถูกปลุกขึ้นจากตายสู่ชีวิตในสวรรค์จะปกครองแผ่นดินโลก ในวันพิพากษา ซาตานและเหล่าผีปิศาจจะถูกจำกัดไม่ให้มีอำนาจครอบงำกิจการของมนุษ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการพิพากษาครั้งสุดท้าย · ดูเพิ่มเติม »

การพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล)

การพิพากษาครั้งสุดท้าย (The Last Judgment, Il Giudizio Universale) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยมีเกลันเจโลจิตรกรชาวอิตาลีคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของสมัยเรอเนซองส์ ที่เขียนไว้ภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ในนครรัฐวาติกัน มีเกลันเจโลเขียนภาพ “การพิพากษาครั้งสุดท้าย” ระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล) · ดูเพิ่มเติม »

การพิมพ์

การพิมพ์หนังสือในศตวรรษที่ 15 การพิมพ์ (Printing; Imprimerie) คือการผลิตสำเนาข้อความและภาพลงบนวัสดุที่ต้องการพิมพ์ เช่น กระดาษ ผ้า ตามความหมายในพระราชบัญญัติการพิม..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

การมัดอิสอัค

ียน “เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค” โดยแรมบรังด์ ค.ศ. 1635 เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค (ภาษาอังกฤษ: Sacrifice of Isaac หรือ Binding of Isaac) ในพระธรรมปฐมกาล เป็นเรื่องจากคัมภีร์ฮิบรูเมื่อพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยไอแซ็คลูกชายบนภูเขาโมไรยาห์ (Mount Moriah) ในศาสนาอิสลามมุสลิมเชื่อว่าพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยอิชมาเอลลูกชายคนโตแทนที่ไอแซ็คที่สนับสนุนในข้อเขียนของมุฮัมมัด แต่ลูกคนใดมิได้บ่งในคัมภีร์อัลกุรอาน เหตุการณ์นี้ตรงกับวันแรกของเดือนแรก (Tishrei) ของปฏิทินยิว และระหว่างวันที่ 10 ถึง 13 ของเดือนสิบสอง (Dhu al-Hijjah) ในปฏิทินมุสลิมในวันฉลองการสังเวย -- “Eid al-Adha” คำบรรยายเรียกว่า “Akedah” (עקדה) หรือ “Akedat Yitzchak” (עקידת יצחק) ในภาษาฮิบรูและ “Dhabih” (ذبح) ในภาษาอาหรับ การสังเวยเรียกว่า “Olah” ในภาษาฮิบรู—เพราะความสำคัญของการสังเวยโดยเฉพาะในสมัยก่อนคริสตกาล ตามคำบรรยายเมื่อพระเจ้าสั่งเช่นนั้น เอบราฮัมก็ตั้งใจที่จะเชื่อฟังพระเจ้าโดยไม่มีคำถาม หลังจากไอแซ็คถูกมัดที่แท่นบูชาพร้อมที่จะถูกสังเวย เทวดาก็ยั้งเอบราฮัมในนาทีสุดท้าย ในขณะเดียวเอบราฮัมพบแกะที่ติดอยู่ในพุ่มไม้ใกล้ๆ เอบราฮัมจึงสังเวยแกะแทนที่ เรามักจะนึกภาพว่าไอแซ็คยังเป็นเด็กเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแต่ความคิดนี้เป็นความคิดสมัยใหม่ เพราะหลักฐานในอดีตต่างกล่าวว่าไอแซ็คเป็นผู้ใหญ่แล้ว ตามบันทึกของนักประวัติศาสตร์ยิวโจซีฟัส ไอแซ็คอายุยี่สิบห้าปีเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น คัมภีร์ทัลมุด (Talmud) กล่าวว่าไอแซ็คอายุ 37 ปี ซึ่งอาจจะคำนวณจากตำนานไบเบิลอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวถึงการเสียชีวิตของซาราห์เมื่ออายุ 127 ปี และซาราห์อายุ 90 เมื่อไอแซ็คเกิด ไม่ว่าจะอย่างไรไอแซ็คก็เป็นผู้ใหญ่แล้วเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น โตพอที่จะหยุดยั้งเหตุการณ์ได้ถ้าต้องการที่จะทำเช่นนั้น พระธรรมปฐมกาล 22:14 กล่าวว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นที่ “ภูเขาของพระเจ้า”: ใน 2 พงศาวดาร 3:1; เพลงสดุดี; อิสไซยาห์ และ และแซ็คคาริอาห์ แต่คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่าเกิดขึ้นที่เท็มเพิลเมานท์ (Temple Mount) ในกรุงเยรุซาเล็ม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการมัดอิสอัค · ดูเพิ่มเติม »

การล่าสัตว์ในป่า (อูเชลโล)

การล่าสัตว์ในป่า หรือ การล่าสัตว์ยามค่ำ หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า การล่าสัตว์ (The Hunt in the Forest หรือ The Hunt by Night หรือ The Hunt) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเพาโล อูเชลโลจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์แอชโมเลียน, อ๊อกซฟอร์ดในสหราชอาณาจักร ภาพ “การล่าสัตว์ในป่า” ที่เขียนโดยเพาโล อูเชลโลราวปี ค.ศ. 1470 เป็นภาพแรกๆ ที่เริ่มการใช้การเขียนแบบทัศนมิติของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่เนื้อหาเป็นภาพของผู้ล่าสัตว์, ม้า, สุนัข และ กวาง ที่ค่อยกลืนหายเข้าไปในความมืดของป่าที่ไกลออกไป ภาพนี้เป็นภาพสุดท้ายเท่าที่ทราบที่เขียนโดยอูเชลโลก่อนที่จะมาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1475.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการล่าสัตว์ในป่า (อูเชลโล) · ดูเพิ่มเติม »

การสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล)

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี (The Marriage of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราในเมืองมิลานในประเทศอิตาลี ราฟาเอลลงชื่อและวันที่บนภาพเขียน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” RAPHAEL URBINAS MDIIII (ค.ศ. 1504) เป็นภาพที่ได้รับจ้างจากตระกูลอัลบิซซินีสำหรับชาเปลเซนต์โจเซฟภายในวัดซานฟรานเชสโคที่เมืองชิตตาดิคาลเตลโลในอุมเบรีย ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

การอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก)

ูบทความหลักที่ ชะลอร่างจากกางเขน ชะลอร่างจากกางเขน (ภาษาอังกฤษ: Deposition of Christ) เป็นจิตรกรรมที่มาจากฉากชะลอร่างจากกางเขนจากฉากชุดชีวิตของพระเยซูที่เขียนโดยฟราอันเจลิโคผู้เป็นจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นคนสำคัญชาวอิตาลี “ชะลอร่างจากกางเขน” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1432 ถึงปี ค.ศ. 1434 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซานมาร์โคที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี จอร์โจ วาซารีบรรยายว่าเป็นภาพที่ “เขียนโดยนักบุญหรือเทวดา” ฟราอันเจลิโคเขียนภาพนี้ต่อจากลอเร็นโซ โมนาโค (Lorenzo Monaco) ที่เริ่มไว้ก่อนหน้านั้นสำหรับชาเปลสตรอซซิ (Strozzi Chapel) ในวัดซานตาทรินิตา เป็นภาพของการประคองร่างของพระเยซูลงจากกางเขนโดยมีนักบุญแมรี แม็กดาเลนคุกเข่าโศรกเศร้าอยู่ข้างล่างทางด้านซ้ายของภาพ และทางด้านขวามีชายสวมหมวกแดงใส่เสื้อยาวขาวยืนถือตาปูและมงกุฏหนามอยู่ในมือที่เป็นสัญลักษณ์ของทุกขกิริยาและความเสียสละ พระแม่มารีสรวมเสื้อสีเข้มในท่าสำรวมอยู่ข้างหลังนักบุญแมรี แม็กดาเลน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการอัญเชิญพระศพลงจากกางเขน (ฟราอันเจลีโก) · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

การทดลองพระเยซู

การทดลองพระเยซู (Temptation of Christ) ในศาสนาคริสต์ หมายถึง เหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซูเมื่อทรงถูกทดลองโดยมารร้ายจากรายละเอียดจาก “พระวรสารสหทรรศน์” พระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญมาระโก พระวรสารนักบุญลูกา ในการแปลต่าง ๆ ในคริสต์ศาสนามักจะใช้คำว่า “ซาตาน” ในการบรรยายถึงศัตรูของพระเยซู แต่ในคัมภีร์ไบเบิลจะใช้คำว่า “diabolos” ในภาษากรีกซึ่งแปลว่า “ผู้กล่าวร้าย” ในพระวรสารนักบุญมัทธิวและ พระวรสารนักบุญลูกาไม่ได้ใช้คำว่า “ซาตาน” แต่พระวรสารนักบุญมาระโก ใช้คำว่า “ซาตาน” ตามที่กล่าวถึงในพระวรสาร หลังจากพระเยซูทรงรับบัพติศมา ก็ทรงอดพระกระยาหารเป็นเวลา 40 วันในทะเลทราย ระหว่างนี้ปีศาจร้ายก็มาปรากฏตัวต่อพระเยซูและยั่วให้พระองค์แสดงปาฏิหาริย์เพื่อพิศูจน์ว่าเป็นเทพจริง แต่ทุกครั้งที่พยายามพระเยซูก็ทรงปฏิเสธด้วยการอ้างหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติจากคัมภีร์ไบเบิล พระวรสารกล่าวต่อไปว่าเมื่อไม่สำเร็จปีศาจก็หายตัวไป เทวดาก็นำอาหารที่บำรุงร่างกายมาถวายพระเยซู พระวรสารนักบุญมาระโกกล่าวถึงชีวิตตอนนี้เพียงสั้น ๆ แต่พระวรสารนักบุญมัทธิงและพระวรสารนักบุญลูกาบรรยายการทดสอบของมารอย่างละเอียด โดยการบรรยายถึงคำสนทนาระหว่างพระเยซูกับมาร จากวิธีเขียนของพระวรสารนักบุญมัทธิงและลูกาที่ส่วนใหญ่จะเป็นคำอ้างอิงที่เป็นคู่ ๆ แทนที่จะเป็นคำบรรยาย ทำให้นักวิชาการเชื่อกันว่ารายละเอียดเหล่านี้มีรากฐานมาจาก “เอกสารคิว”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการทดลองพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

การตกในบาป

อาดัมและเอวาถูกขับจากสวนเอเดนโดยพระเจ้าหลังจากกระทำบาปกำเนิด โดย โดเม็นนิชิโน การตกในบาป (Fall of Man หรือ the Fall) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟังพระเจ้าไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ในบาปกำเนิด ในศาสนาคริสต์, มนุษย์คนแรกอาดัมและเอวาเมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงในคัมภีร์ไบเบิล แต่กล่าวถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับไล่ ในศาสนาอื่นเช่นศาสนายูดาห์, ศาสนาอิสลาม หรือ ไญยนิยม (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป ในเทววิทยาศาสนาคริสต์, “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจากบาปของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “บาปกำเนิด” (original sin) เช่นในคำสอนของนักบุญพอลแห่งทาซัสที่บันทึกไว้ใน จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม 5:12-19 และ จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 15:21-22 ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เชื่อว่าความตายของพระเยซูเป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่น ๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการตกในบาป · ดูเพิ่มเติม »

การตรึงพระเยซูที่กางเขน

“การตรึงพระเยซูที่กางเขน” โดยซิโมน วูเอท์ (Simon Vouet) ที่ เจนัว (ค.ศ. 1622) การตรึงพระเยซูที่กางเขน (Crucifixion of Jesus) เป็นเหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซูที่ถูกบันทึกในพระวรสารทั้งสี่ฉบับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากที่พระเยซูถูกจับและถูกพิพากษา ในทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ การสิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นเหตุการณ์หัวใจสำคัญ ส่งอิทธิพลให้เกิดเหตุการณ์อื่น ๆ ต่อเนื่องมา นอกจากนั้นการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ก็เป็นสัญลักษณ์สำคัญทางปรัชญาความเชื่อ เป็นการเสียชีวิตของผู้ที่มาช่วยโลก เห็นได้จากการรับทรมานและความตายของพระเมสสิยาห์เพื่อไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ตามด้วยพันธสัญญาใหม่ที่กล่าวถึง การคืนชีพในสามวันหลังจากสิ้นพระชนม์ และทรงปรากฏพระกายต่ออัครทูตก่อนพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ การทรมานและการเสียชีวิตของพระเยซูบนกางเขนมักจะเรียกกันว่า “พระทรมานของพระเยซู” (Passion) เทววิทยาศาสนาคริสต์ถือว่าพระเยซูพลีชีพเพื่อเป็นการไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ดังปรากฏในพระธรรมที่รู้จักกันในนาม “พิธีทดแทนบาป” (Substitutionary atonement) กล่าวกันว่าความตายของพระองค์ถูกทำนายไว้ล่วงหน้าในพันธสัญญาเดิม เช่น เพลงของอิสยาห์ที่กล่าวถึง การทรมานของผู้รับใช้พระเจ้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการตรึงพระเยซูที่กางเขน · ดูเพิ่มเติม »

การประสูติของพระเยซู

“การประสูติ” โดยเปตรุส คริสตุส (Petrus Christus) ราว ค.ศ. 1445 การประสูติของพระเยซู (The Nativity of Jesus; the Nativity) หรือพระคริสตสมภพ ถูกกล่าวถึงในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ ส่วนพระวรสารนักบุญมาระโกและพระวรสารนักบุญยอห์นมิได้กล่าวถึงการประสูติของพระเยซูไว้ แหล่งข้อมูลอื่นเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ก็มีแต่มิได้รวมอยู่ในสารบบคัมภีร์ไบเบิล คำบรรยายของพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกากล่าวว่าพระเยซูชาวนาซาเร็ธเป็นบุตรของนางมารีย์ ขณะมีตั้งครรภ์ได้หมั้นอยู่กับโยเซฟจากตระกูลเดวิด เรื่องนี้คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูประสูติจากหญิงพรหมจารีเพราะเป็นการกำเนิดโดยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์โดยมารดามิได้ร่วมประเวณีกับโยเซฟเลย คริสตชนจึงถือว่าโยเซฟเป็นเพียงบิดาบุญธรรม ทูตสวรรค์ได้ประกาศถึงการประสูติพระเยซูต่อคนเลี้ยงแกะ โหราจารย์สามคนก็ทราบเพราะได้เห็นดวงดาว พระวรสารกล่าวว่าการกำเนิดของพระเยซูเป็นไปตามคำพยากรณ์ของเหล่าผู้เผยพระวจนะชาวอิสราเอล การระลึกถึง การแสดง หรือการสร้างสัญลักษณ์เกี่ยวกับการกำเนิดของพระเยซูถือเป็นหัวใจของการฉลองเทศกาลคริสต์มาส เพื่อแสดงความเชื่อว่าพระเยซูชาวนาซาเรธเป็น “พระคริสต์” หรือ “พระเมสสิยาห์” ตามที่ทำนายไว้คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ในบางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก ถือว่าจุดยอดของการฉลองอยู่ที่พิธีมิสซาเที่ยงคืน หรือเช้าวันคริสต์มาสซึ่งจะเป็นวันที่ 25 ธันวาคมเสมอ ทางอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะอดอาหารก่อนวันคริสต์มาส 40 วัน และวันอาทิตย์สี่วันก่อนคริสต์มาสคริสต์ศาสนิกชนทั้งนิกายโรมันคาทอลิกและแองกลิคันก็จะฉลองเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระเยซู เพื่อเป็นการเตรียมตัวทางใจเพื่อความพร้อมที่จะฉลองวันประสูติของพระเยซู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการประสูติของพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

การนมัสการของโหราจารย์

“การนมัสการของโหราจารย์” โดย เดียริค เบาท์ คริสต์ศตวรรษที่ 15 “การนมัสการของโหราจารย์” โดย เจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน ค.ศ. 1423 การนมัสการของโหราจารย์ (Adoration of the Magi) เป็นชื่อที่ใช้ในหัวข้อการวาดภาพหนึ่งในชุดการประสูติของพระเยซู ซึ่งเป็นภาพของโหราจารย์สามคนเดินทางตามดาวแห่งเบธเลเฮม (star of Bethlehem) จนกระทั่งพบพระกุมารเยซู เมื่อพบแล้วก็มอบของขวัญที่เป็นทองคำ กำยาน และมดยอบ (myrrh) และถวายการสักการะ ในปฏิทินศาสนาเหตุการณ์นี้ฉลองกันทางตะวันตกในวันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ ซึ่งเป็นวันฉลองการที่พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์คือพระเยซู ทุกวันที่ 6 มกราคม ทางนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ฉลองวันเดียวกับวันประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม การขยายความจากคำบรรยายเพียงสั้นๆ เกี่ยวกับแมไจในพระวรสารนักบุญมัทธิว บทที่ 2 ข้อที่ 1-11 เป็นการแสดงว่าการประสูติของพระเยซูเป็นที่ยอมรับตั้งแต่ประสูติในฐานะกษัตริย์แห่งโลก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและการนมัสการของโหราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

กำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี)

กำเนิดวีนัส (The Birth of Venus) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “กำเนิดวีนัส” ระหว่างปี ค.ศ. 1484 ถึงปี ค.ศ. 1486 ที่เป็นภาพของวีนัสลอยมาเกยฝั่งอย่างผู้หญิงเต็มตัว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและกำเนิดวีนัส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภาพชีวิตประจำวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพนิ่ง

ใช้ปีคศ|width.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภาพนิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนผู้อุทิศ

“การชื่นชมของพระบุตร” ฌอง เฮย์ ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ ภาพเหมือนผู้อุทิศ หรือ ภาพรวมผู้อุทิศ (donor portrait หรือ votive portrait) คือภาพเหมือนในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย “ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ แต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้างศิลปะคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจากยุคกลาง และยุคเรอเนสซองซ์ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาดทัศนมิติ เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือบางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภาพเหมือนผู้อุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิทัศน์

ูมิทัศน์ โดยทั่วไปคำว่า "ภูมิทัศน์" หมายถึง ภาพรวมของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่มนุษย์ รับรู้ทางสายตาในระยะห่าง อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรงของแผ่นดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์และสรรพสิ่งมนุษย์สร้างในสภาพอากาศหนึ่งและช่วงเวลาหนึ่งที่เรียกว่าภูมิทัศน์ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วนของเมือง เรียกว่าภูมิทัศน์เมืองนอกจากนี้ยังมีการใช้คำ “ภูมิทัศน์” กับพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะเด่นชัด เช่น ภูมิทัศน์ทะเล ภูมิทัศน์ภูเขา ภูมิทัศน์ทะเลทราย หรือ ภูมิทัศน์พระจันทร์ ซึ่งหมายถึงภาพรวมของพื้นที่บนผิวดวงจันทร์ที่มนุษย์อวกาศไปเยือน ภูมิทัศน์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Landscape มีผู้บัญญัติคำนี้ใช้แทนการทับศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและภูมิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา

มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลา (ภาษาอังกฤษ: Basilica of Santa Maria Novella; ภาษาอิตาลี: Santa Maria Novella) เป็นวัดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอธิคและเรอเนซองส์ตอนต้น มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลามีงานจิตรกรรมฝาผนังสำคัญๆ ของจิตรกรผู้มีชื่อเสียงหลายคนของฟลอเรนซ์ เช่นงานในชาเปลทอร์นาบุโอนิ โดย โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา, ในชาเปลสปาโยลิ หรืองานในระเบียงคดโดย เปาโล อูเชลโล และงานศิลปะชนิดอื่นๆ เช่นกางเขนของ ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตาโกรเช

้านหน้าบาซิลิกา ภายใน บาซิลิกาซานตาโครเช (ภาษาอิตาลี: Basilica di Santa Croce; ภาษาอังกฤษ: Basilica of the Holy Cross) เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ที่ตั้งแต่เดิมเป็นที่ลุ่มนอกกำแพงเมืองฟลอเรนซ์ ภายในวัดเป็นที่เก็บศพคนสำคัญๆ ของอิตาลีเช่นไมเคิล แอนเจโล, กาลิเลโอ กาลิเลอี, และคนอื่นจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “Pantheon of the Italian Glories” (จุดยอดของความเลิศของอิตาลี).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมหาวิหารซันตาโกรเช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารปาโดวา

อาสนมหาวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งปาโดวา (Basilica Cattedrale di Santa Maria Assunta) หรือ มหาวิหารปาโดวา (Duomo di Padova) เป็นคริสต์ศาสนสถานของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองปาโดวา ในประเทศอิตาลี สร้างขึ้นเพื่ออุทิสแก่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาคารปัจจุบันเป็นสิ่งก่อสร้างที่สาม สิ่งก่อสร้างแรกสร้างหลังจากพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเมื่อปี ค.ศ. 313 แต่มาถูกทำลายในแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 3 มกราคม ค.ศ. 1117 โบสถ์ที่สองสร้างเป็นสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ และมารื้อทิ้งในปี ค.ศ. 1551 เพื่อสร้างใหม่ตามแบบที่ออกโดยมีเกลันเจโล ลักษณะที่ยังเป็นโบสถ์สมัยกลางยังคงเห็นได้จากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยจุสโต เด เมนาบูโออีในหอล้างบาป การสร้างเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยาสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1754 แต่ด้านหน้ายังคงเป็นอิฐเปลือยที่ยังไม่ได้รับการตกแต่ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมหาวิหารปาโดวา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี

มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี (Basilica di San Francesco d'Assisi; Basilica of St.) ตั้งอยู่ที่เมืองอัสซีซี ประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกของคณะฟรันซิสกัน ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีก่อตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชั้นบนและชั้นล่างของมหาวิหารมองจากจัตุรัสเดลเลลอจเจ (Piazza delle Logge).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัว

ซิลิกาซานอันโตนิโอแห่งปาดัว (Basilica of Saint Anthony of Padua, Basilica di Sant'Antonio da Padova) เป็นคริสต์ศาสนสถาน นิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นบาซิลิกา ที่ตั้งอยู่ที่เมืองปาดัวในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยา แม้ว่าจะเป็นคริสต์ศาสนสถานที่มีผู้มาเยี่ยมชมและแสวงบุญมากที่สุดแต่มิได้เป็นมหาวิหาร มหาวิหารของปาดัวเป็นอีกสิ่งก่อสร้างหนึ่ง บาซิลิกาซานอันโตนิโอรู้จักกันในท้องถิ่นว่า “il Santo”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมหาวิหารนักบุญแอนโทนีแห่งปาดัว · ดูเพิ่มเติม »

มันโตวา

มันโตวา (Mantova) หรือ แมนชัว (Mantua) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นลอมบาร์เดียในประเทศอิตาลี มันโตวาเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมันโตวา มันโตวาถูกโอบรอบสามด้านด้วยทะเลสาบที่ขุดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่ได้น้ำจากแม่น้ำมินโชที่มาจากทะเลสาบการ์ดา ทะเลสาบทั้งสามชื่อ ลาโกซูเปรีโอเร (Lago Superiore-ทะเลสาบใหญ่) ลาโกดีเมซโซ (Lago di Mezzo-ทะเลสาบกลาง) และลาโกอินเฟรีโอเร (Lago Inferiore-ทะเลสาบเล็ก) ทะเลสาบปาโจโล (ทะเลสาบที่สี่) เคยเป็นทะเลสาบสุดท้ายที่ล้อมเมืองแต่มาเหือดแห้งไปในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มันโตวาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมันโตวา · ดูเพิ่มเติม »

มารีย์ (มารดาพระเยซู)

มารีย์ (מרים, มัรยาม, มีเรียม) คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายเรียกว่าพระแม่มารีย์ พระนางมารีย์พรหมจารี (Blessed Virgin Mary) หรือพระนางมารีย์พระชนนีพระเป็นเจ้า (Mary, Mother of God) (ในอัลกุรอานว่านางมัรยัม) เป็นสตรีชาวยิวจากเมืองนาซาเรธ แคว้นกาลิลี คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่และคัมภีร์อัลกุรอานระบุตรงกันว่านางได้เป็นมารดาของพระเยซูโดยอำนาจของพระเจ้า พระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูการะบุว่ามารีย์เป็นหญิงพรหมจรรย์ (παρθένος, parthénos ในภาษากรีก) ชาวคริสต์เชื่อสืบกันมาแต่อดีตว่านางได้ตั้งครรภ์บุตรด้วยอำนาจพระวิญญาณบริสุทธิ์ขณะที่ยังเป็นหญิงพรหมจรรย์ ส่วนชาวมุสลิมก็เชื่อว่านางตั้งครรภ์ด้วยโองการของพระเจ้า เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อนางได้หมั้นหมายกับนักบุญโยเซฟแล้วและอยู่ระหว่างรอพิธีแต่งงาน เมื่อนางได้แต่งงานกับโยเซฟแล้วก็ย้ายไปอยู่ที่เมืองเบธเลเฮมซึ่งได้เป็นที่ประสูติพระเยซู ตามธรรมเนียมยิวการหมั้นน่าจะเกิดขึ้นเมื่อนางอายุราว 12 ปีแล้วให้กำเนิดพระเยซูในหนึ่งปีหลังจากนั้น คัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มกล่าวถึงนางด้วยเหตุการณ์แม่พระรับสาร เมื่อทูตสวรรค์กาเบรียลมาปรากฏกายต่อหน้านาง แล้วแจ้งว่าพระเจ้าทรงเลือกนางให้เป็นมารดาของพระเยซู คริสตจักรและข้อเขียนนอกพระคัมภีร์ในยุคแรกยังระบุว่าบิดามารดาของนางเป็นคู่สามีภรรยาสูงอายุชื่อนักบุญโยอาคิมและนักบุญอันนา คัมภีร์ไบเบิลบันทึกถึงบทบาทของนางในชีวิตของพระเยซูตั้งแต่การตั้งครรภ์พระองค์จนถึงพระองค์เสด็จขึ้นสวรรค์ ข้อเขียนจากคัมภีร์นอกสารบบยังกล่าวว่าหลังจากมรณกรรมนางได้รับการยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณด้ว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมารีย์ (มารดาพระเยซู) · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โชนเกาเออร์

มาร์ติน โชนเกาเออร์ (Martin Schongauer) (ราว ค.ศ. 1448 - 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1491) เป็นจิตรกรและนักสร้างภาพพิมพ์ (engraver) ของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของเยอรมนีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ภาพพิมพ์ของโชนเกาเออร์แพร่หลายโดยทั่วไป และเป็นที่รู้จักกันในอิตาลีในนามว่า “Bel Martino” และ “Martino d'Anversa” บิดาของมาร์ติน โชนเกาเออร์ชื่อคาสเปอร์เป็นช่างทองชาวเอาก์สบวร์คผู้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่โคลมาร์ ที่มาร์ตินเติบโตขึ้น มาร์ตินอาจจะฝึกงานกับมาสเตอร์ อี. เอส เอ. ไอแอ็ท เมเยอร์เห็นลักษณะของทั้งสองลักษณะในงานพิมพ์ของมาร์ติน และงานทุกชิ้นของโชนเกาเออร์ที่ลงชื่อ M†S แสดงให้เห็นลักษณะที่วิวัฒนาการเต็มที่ โชนเกาเออร์ก่อตั้งตระกูลการสร้างงานพิมพ์ที่สำคัญที่โคลมาร์ ที่วิวัฒนาการมาเป็น “Little Masters” ของศิลปินรุ่นต่อมา และกลุ่มใหญ่กว่านั้นของศิลปินเนิร์นเบิร์ก ในด้านจิตรกรรมลักษณะการเขียนของโชนเกาเออร์เป็นแบบเฟล็มมิชของโรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น และภาพเขียนที่ยังคงเหลืออยู่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการใช้สีและการเขียนรายละเอี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมาร์ติน โชนเกาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ซีลีโอ ฟีชีโน

มาร์ซิลิโอ ฟิชีโน (Marsilio Ficino) (19 ตุลาคม ค.ศ. 1433 - 1 ตุลาคม ค.ศ. 1499) เป็นนักปรัชญายุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญชาวอิตาลี ฟิชีโนเป็นนักปรัชญาผู้มีอิทธิพลของลัทธิมนุษยนิยมของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลี นอกจากจะเป็นนักปรัชญาแล้วฟิชีโนก็ยังเป็นนักโหราศาสตร์ และเป็นผู้ฟื้นฟูปรัชญาเพลโตใหม่ (Neoplatonism) และเป็นคนแรกที่แปลงานเขียนทั้งหมดของเพลโตเป็นภาษาละติน สถาบันฟลอเรนทีนที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นการฟื้นฟูปรัชญาของเพลโตเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปรัชญาของยุโรป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมาร์ซีลีโอ ฟีชีโน · ดูเพิ่มเติม »

มาซัชโช

"ภาพเหมือนตนเอง" มาซัชชีโอ หรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Tommaso Cassai หรือ Tommaso di Ser Giovanni di Mone, 21 ธันวาคม ค.ศ. 1401 - ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1428) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ จิตรกรรมฝาผนังของมาซัชชีโอเป็นงานเชิงมนุษยนิยมซึ่งทำให้แสดงให้เห็นความยืดหยุ่นที่ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ชื่อ “มาซัชชีโอ” เป็นสมญาของชื่อตัว “ตอมมาโซ” เพราะ “มาซัชชีโอ” แปลว่า ตอมมาโซ “ใหญ่” “อ้วน” “งุ่มง่าม” หรือ “เลอะเทอะ” สร้อยที่ให้นี้เพื่อให้แตกต่างจากจิตรกรที่มาซัชชีโอร่วมงานด้วยที่ชื่อ “ตอมมาโซ” เช่นกัน “ตอมมาโซ” หลังนี้มารู้จักกันในชื่อ “มาโซลีโน ดา ปานีกาเล” (Masolino da Panicale) หรือ “ตอมมาโซเล็ก” แม้ว่ามาซัชชีโอจะวาดภาพเพียงไม่นานแต่ก็มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่นๆ มาซัชชีโอเป็นจิตรกรคนแรกๆ ที่ใช้การเขียนแบบทัศนียภาพโดยเฉพาะการใช้จุดลับตา หรือจุดอันตธาน (Vanishing point) เป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมาซาชิโอก็ยังละทิ้งวิธีการเขียนแบบกอธิคและการใช้การตกแต่งอย่างเช่นจิตรกรเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็นแบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้การวาดแบบทัศนียภาพเข้าช่ว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

มาโซลีโน ดา ปานีกาเล

มาโซลิโน ดา พานิคาเล (Masolino da Panicale หรือ Tommaso di Cristoforo Fini) (ราว ค.ศ. 1383 - ราว ค.ศ. 1447) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมแผง มาโซลิโน ดา พานิคาเลเกิดราว ค.ศ. 1383 ที่เมืองพานิคาเลในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 1447 งานที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดก็เห็นจะเป็นงานที่เขียนร่วมกับมาซาชิโอ ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมาโซลีโน ดา ปานีกาเล · ดูเพิ่มเติม »

มาเอสตะ

มาเอสตะ (Maestà) แปลว่า “เดชานุภาพ” เป็นลักษณะการเขียนภาพรูปเคารพแม่พระและพระกุมารที่อาจจะมีนักบุญและทูตสวรรค์รวมอยู่ด้วย “มาเอสตะ” เกี่ยวข้องกับ “บัลลังก์แห่งปรีชาญาณ” (Seat of Wisdom) ซึ่งเป็นหัวเรื่องของภาพ “พระมารดาพระเจ้า” (Theotokos) ซึ่งเป็นภาพคู่กับพระคริสต์ทรงเดชานุภาพ (Christ in Majesty) ที่มีมาก่อนหน้านั้นซึ่งเป็นภาพพระเยซูบนบัลลังก์ที่นิยมกันในงานโมเสกของสมัยไบเซนไทน์ หรือบางครั้งนักประวัติศาสตร์ศิลปะจะเรียกว่า “พระราชินีมารีย์” (Maria Regina) ที่เป็นพระแม่มารีย์นั่งบนบัลลังก์แต่ไม่มีพระกุมาร ทางตะวันตกงานเขียนประเภทนี้วิวัฒนาการมาจากศิลปะไบแซนไทน์ เช่น ภาพจักรพรรดินีเฟาสตาสวมมงกุฏอุ้มบุตรชายบนพระเพลาบนเหรียญคอนแสตนติน และในงานเขียนเช่นการฉลองการสวมมงกุฏของพระเจ้าจัสตินที่สองในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมาเอสตะ · ดูเพิ่มเติม »

มิลาน

มิลาน (Milan) หรือ มีลาโน (Milano) เป็นเมืองหลักของแคว้นลอมบาร์เดียและเป็นเมืองสำคัญในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่บริเวณที่ราบลอมบาร์ดี (Lombardy) เมืองมิลานมีประชากรประมาณ 1,308,500 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) โดยถ้ารวมบริเวณรอบนอกและเขตปริมณฑลจะมีประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเรียกเขตทั้งหมดว่า ลากรันเดมีลาโน (La Grande Milano) มิลานมีพื้นที่ประมาณ 1,982 ตร.กม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมิลาน · ดูเพิ่มเติม »

มิเนอร์วา

มิเนอร์วา (Minerva) เป็นเทพีโรมันแห่งปัญญา และผู้สนับสนุนศิลปะ การค้าและยุทธศาสตร์ พระองค์กำเนิดจากพระเจ้าของจูปิเตอร์พร้อมด้วยศาสตราวุธ หลังศตวรรษที่ 2 ก่อน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมิเนอร์วา · ดูเพิ่มเติม »

มีเกลันเจโล

มีเกลันเจโล หรือที่มักรู้จักกันในชื่อ ไมเคิลแองเจโล มีชื่อเต็มว่า มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni, 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564) เป็นจิตรกร สถาปนิก และประติมากรชื่อดัง ในช่วงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) มีเกลันเจโลเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1475 ที่หมู่บ้านคาปรีส (ปัจจุบันอยู่ในทัสกานี, อิตาลี) เขาเติบโตที่เมืองฟลอเรนซ์ หลังจากที่ไปอยู่ที่กรุงโรมเมื่ออายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นถึง 5 ปี มีเกลันเจโลสร้างประติมากรรมรูปสลัก เดวิด ตอนอายุ 26 ปี จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผลที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมัน ความสำเร็จหลังจากงานชิ้นนี้ ทำให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี มีเกลันเจโล เดิมทีเป็นคนที่เกลียดเลโอนาร์โด ดา วินชี ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะมีอายุห่างกันถึง 23 ปี และไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก ในช่วงนี้ (ค.ศ. 1497 - ค.ศ. 1500) เขาก็ได้สร้างประติมากรรมหินอ่อนอีกชิ้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ (Pietà) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ตอนอายุได้ 30 ปี เขาได้ถูกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่อออกแบบหลุมฝังศพให้กับสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสำเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็นสถาปนิกคนสำคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะภาพ คำพิพากษาครั้งสุดท้าย (The Last Judgment) ซึ่งเขาใช้เวลาในการเขียนภาพขนาดยักษ์นี้นานถึง 6 ปี มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี เสียชีวิตที่กรุงโรม เมื่อปี ค.ศ. 1564 รวมอายุได้ 88 ปี ซึ่งมีคำกล่าวจากสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอนชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิตของมิเกลันเจโลให้ยืนยาวออกไปอีก".

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมีเกลันเจโล · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยม

มนุษยนิยม (Humanism) หมายถึงประเภทกว้างๆ ของปรัชญาเชิงจริยศาสตร์ ที่ยืนยันถึงความสง่างามและคุณค่าของมนุษย์ทุกคน โดยอาศัยหลักความสามารถของบุคคลนั้นในการบ่งชี้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยได้การยอมรับโดยมนุษย์ทั่วไปที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกยะหรือเชิงเหตุผล มนุษยนิยมเป็นองค์ประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและได้รับการผนวกไว้ในหลายสำนักคิดทางศาสนา มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกัน เมื่อมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและตัดสินได้ด้วยตนเอง มนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ "ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล" สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใดๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล (universal morality) ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็นอยู่ธรรมดา ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและมนุษยนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน ไอก์

หมือนของชายโพกหัวแดง" อาจจะเป็นภาพเหมือนตนเองของฟัน ไอก์ ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1433 ยัน ฟัน ไอก์ (Jan van Eyck; ราวก่อน ค.ศ. 1395 - ก่อนวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1441) เป็นจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ทำงานที่บรูช และถือกันว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญของยุโรปในคริสต์ศวรรษที่ 15 สิ่งหนึ่งที่มักจะเข้าใจผิดกันเกี่ยวกับ ฟัน ไอก์ ว่าเป็นผู้ริเริ่มการใช้สีน้ำมันในการวาดภาพ มาจากข้อเขียนของจอร์โจ วาซารี ผู้เขียน "ชีวิตจิตรกร" ในคริสต์ศวรรษที่ 16 แต่ที่แน่ ๆ คือฟัน ไอก์มีความสำเร็จเป็นอันมากจากการใช้วิธีการวาดภาพด้วยสีน้ำมัน ยัน ฟัน ไอก์มักจะมีชื่อเกี่ยวข้องกับฮือเบิร์ต ฟัน ไอก์ ผู้เป็นจิตรกรและเป็นพี่ชาย และทั้งสองคนมาจากมาไซก์ ในประเทศเบลเยียมในปัจจุบัน พี่ชายอีกคนหนึ่ง แลมเบิร์ตมีชื่อกล่าวในเอกสารของราชสำนักเบอร์กันดี และสันนิษฐานกันว่าคงเป็นจิตรกรด้วยและอาจจะเป็นผู้ที่ดูแลการปิดโรงฝึกงานของยัน ฟัน ไอก์ที่บรูช ฟัน ไอก์อีกผู้หนี่งคือ บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์ (Barthélemy van Eyck) ผู้ทำงานอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศสก็เข้าใจว่าจะเป็นญาติกัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและยัน ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกโปแห่งวารัซเซ

ญราศียาโกโปแห่งวารัซเซ (Jacopo da Varazze; Iacobus a Voragine) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งเจนัว นักบันทึกเหตุการณ์ชาวอิตาลี ผู้ประพันธ์ “ตำนานทอง” ซึ่งเป็นชีวประวัตินักบุญสำคัญ ๆ รวบรวมขึ้นในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและยาโกโปแห่งวารัซเซ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล)

ทธการที่ซานโรมาโน (Battaglia di San Romano) เป็นจิตรกรรมสีฝุ่นบนไม้สามภาพที่เขียนโดยปาโอโล อุชเชลโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติในลอนดอน, หอศิลป์อุฟฟีซีในฟลอเรนซ์ และพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในปารีส ปาโอโล อุชเชลโลเขียนภาพ "ยุทธการที่ซานโรมาโน" ในปี ค.ศ. 1432 เป็นภาพที่บรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในยุทธการที่ซานโรมาโน ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและยุทธการที่ซานโรมาโน (อุชเชลโล) · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์

รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ หรือ ราชบัณฑิตยสถานศิลปะ (Royal Academy of Arts) เป็นสถาบันศิลปะ ตั้งอยู่ที่คฤหาสน์เบอร์ลิงตัน ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและรอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

รักบริสุทธิ์

รักบริสุทธิ์ หรือ เพลโตนิคเลิฟ (Platonic love) เป็นคำนิยามของความสัมพันธ์ ที่ไม่มีเรื่องทางเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง คำว่าเพลโตนิคเลิฟ มาจากคำว่า อามอร์ เพลโตนิคัส (amor platonicus) ที่หมายถึง ความรักของเพลโต โดยมีความหมายเหมือนคำว่า อามอร์ โซเครติคัส (amor socraticus) ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง โซเครติส (Socrates) กับลูกศิษย์ โดยกล่าวถึงความรักที่ไม่มีเรื่องทางเพศมาเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ทั้งบุคคลที่อายุต่างกัน และบุคคลที่เพศต่างกัน หรือเพศเดียวกัน คำภาษาไทยมาจากคำประสมระหว่าง คำว่า รัก และ บริสุทธิ์ หมายถึง รักที่มาจากความบริสุทธิ์ใจ โดยคำศัพท์ภาษาอังกฤษ คำว่าพลาโตนิคเลิฟ กล่าวโดย เซอร์วิลเลี่ยม เดวีแนนท์ (Sir William Davenant) ในปี พ.ศ. 2179(ค.ศ. 1636) เกี่ยวกับทฤษฎีของความรักตามคำกล่าวของเพลโต โดยความรักตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง และความซื่อสัตย์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของความรักบริสุทธิ์ ได้แก่ ความรักระหว่างพ่อแม่กับลูก หรือความรักระหว่างเพื่อนฝูง โดยสังเกตได้ว่าความรักบริสุทธิ์ นั้นจะไม่มีความเห็นแก่ตัว หรือความหึงหวง เข้ามาเกี่ยวข้อง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและรักบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

รูปเคารพ

“พระเยซู” โดยอันเดร รูเบลฟ (Andrei Rublev) ราวปี ค.ศ. 1410 รูปเคารพทำจากเซรามิคจากราวปีค.ศ. 900 จากเพรสลาฟ ประเทศบัลกาเรีย รูปเคารพ (ภาษาอังกฤษ: icon; ภาษากรีก: εἰκών, eikon) คือรูป, รูปเหมือน หรือสิ่งที่สร้างแทน ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสมัยปัจจุบัน “รูปเคารพ” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมโดยทั่วไปจะหมายถึงสัญลักษณ์เช่นชื่อ, หน้า, รูป หรือคนที่เป็นที่รู้จักที่มีชื่อเสียงที่มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้สิ่งของหรือรูปเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีความสำคัญเหนือกว่าไม่ว่าจะเป็นตามตัวอักษรหรือตามการตีความหมายมักจะใช้ในศาสนา, วัฒนธรรม, การเมือง, หรือทางเศรษฐกิจ ในประวัติศาสตร์ลัทธินิยมทางศาสนาหรือวัฒนธรรมทางศาสนารูปเคารพจะมีอิทธิพลมาจากรูปที่เป็นตัวเป็นตนไม่ว่าจะเป็นรูปสองหรือสามมิติ ความประสงค์ของรูปเคารพไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสั่งสอนหรือเป็นแรงบันดาลใจ หรือวิธีใช้เช่นเพื่อการบูชาหรือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความสำคัญของการใช้รูปเคารพก็ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ใช้และสมัยของการใช้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี)

ูใบไม้ผลิ (Primavera) เป็นจิตรกรรมที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญของอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ฤดูใบไม้ผลิ” ราวปี ค.ศ. 1482 ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฤดูใบไม้ผลิ (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคลาสสิกใหม่

"แจกันเมดีชี" แจกันกระเบื้อง ตกแต่งด้วยสีปอมเปอีดำและแดง, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ราว ค.ศ. 1830 ลัทธิคลาสสิกใหม่ (neoclassicism, neo-classicism) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะการตกแต่ง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การละคร ดนตรี และสถาปัตยกรรมที่มาจากศิลปะคลาสสิกและวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่มาจากกรีกโบราณหรือโรมันโบราณ) ขบวนการเหล่านี้มีความนิยมระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 19.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและลัทธิคลาสสิกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินอกศาสนา

้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน ลัทธินอกศาสนา หรือ เพเกิน หรือ เพแกน (Paganism มาจากภาษาPaganus แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”) เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายองค์ (polytheistic) หรือศาสนาพื้นบ้าน (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผู้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม (spiritualism) วิญญาณนิยม (animism) หรือลัทธิเชมัน เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพระเจ้าหลายองค์ หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่ คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม (monotheism) ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้งศาสนาตะวันออก (Eastern religions) ปรัมปราวิทยาอเมริกันพื้นเมือง (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก (proselytism) และการความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่าง ๆ (mythology) คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك ผู้เคารพรูปปั้น) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือลัทธินอกศาสนาใหม่ ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์ (เช่นลัทธินอกศาสนาเซลต์ (Celtic paganism) หรือลัทธินอกศาสนานอร์ส (Norse paganism)), ศาสนาพื้นบ้าน/ศาสนาเผ่าพันธุ์/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีนหรือ ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา) และลัทธินอกศาสนาใหม่ (เช่นวิคคา (Wicca) และ ลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน (Germanic Neopaganism)).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและลัทธินอกศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ลายใบอะแคนทัส

อะแคนทัสแบบนอร์ดิก ลายอะแคนทัสออกแบบโดยวิลเลียม มอร์ริส ลายใบอะแคนทัส (acanthus) เป็นลวดลายการตกแต่งทางศิลปะที่เป็นมักจะเห็นกันเสมอที่เป็นการตกแต่งด้วยใบไม้ ในงานสถาปัตยกรรมจะเป็นประติมากรรมที่แกะหินหรือไม้ออกมาเป็นใบไม้ตามลักษณะของใบอะแคนทัสจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่มีลักษณะคล้ายใบทิสเซิล, ต้นฝิ่น หรือพาร์สลีย์ ลายอะแคนทัสเป็นลายที่พบเสมอในการแกะหัวเสาแบบคอรินเทียนและแบบผสม (Composite order) และใช้ในการตกแต่งเป็นบัวนูน (frieze) รอบตอนบนของสิ่งก่อสร้างเป็นต้น กรีกโบราณเป็นชนกลุ่มแรกที่ใช้ลายใบอะแคนทัสในการตกแต่งและมาวิวัฒนาการให้วิจิตรขึ้นโดยการม้วนปลายใบโดยโรมัน ลายนี้ก็ยังคงนิยมใช้กันต่อมาถึงสมัยไบแซนไทน์, โรมาเนสก์ และกอทิก และมาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ ลายอะแคนทัสใช้ในการตกแต่งทั้งภายในและภายนอกอาคาร ภายในอาคารก็ใช้ตกแต่งเป็นบัวประกบ (crown molding) ที่ใช้ในตกแต่งส่วนบนเช่นตอนบนของหัวเสาอิงหรือตอนบนของตู้ นอกจากนั้นก็ยังใช้ในงานศิลปะของยุคกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาโดยเฉพาะในงานประติมากรรม งานแกะสลักไม้ และงานบัวนูน ความสัมพันธ์ระหว่างใบอะแคนทัสที่เป็นเครื่องตกแต่งกับใบอะแคนทัสที่เป็นพันธุ์ไม้เป็นเรื่องที่โต้แย้งกันมานาน นักประวัติศาสตร์ศิลปะอาโลอิส รีเกิล (Alois Riegl) โต้ไว้ในหนังสือ "Stilfragen" ว่าอะแคนทัสที่เป็นเครื่องตกแต่งที่วิวัฒนาการมาจากลายใบปาล์ม (palmette) และมาละม้ายใบอะแคนทัส (Acanthus spinosus) เอาทีหลัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและลายใบอะแคนทัส · ดูเพิ่มเติม »

ลูคา เดลลา รอบเบีย

ลูคา เดลลา รอบเบีย (Luca della Robbia) (ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1482) เป็นประติมากรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางสร้างงานเซรามิคเคลือบ (Ceramic glaze) ลูคาสร้างงานเซรามิคเคลือบที่มีความทนแดดทนฝนที่เหมาะแก่การตกแต่งภายนอกตัวอาคาร งานของลูคามีชื่อว่าเป็นงานที่มีเสน่ห์ที่ไม่ใช่งานที่พยายามแสดงนาฏกรรมเช่นงานของศิลปินอื่นร่วมสมัย งานชิ้นสำคัญสองชิ้นที่สร้างคือ “การประสูติของพระเยซู” ที่สร้างราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและลูคา เดลลา รอบเบีย · ดูเพิ่มเติม »

วังดยุกแห่งมานตัว

วังดยุกแห่งมานตัว (Ducal palace, Palazzo Ducale di Mantova) เป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่เป็นวังที่พำนักของดยุกแห่งมานตัวตั้งอยู่ที่มานตัวในประเทศอิตาลี วังดยุกสร้างราวระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ส่วนใหญ่สำหรับตระกูลกอนซากาเพื่อใช้เป็นที่พำนักในเมืองหลวงของอาณาจักรดยุก สิ่งก่อสร้างต่างๆ ภายในกลุ่มเชื่อมต่อกันโดยซุ้มระเบียง ลานภายใน และสวน และมีห้องทั้งหมดด้วยกัน 500 ห้องในเนื้อที่ทั้งหมดราว 34,000 ตารางเมตร สิ่งที่มีชื่อเสียงที่สุดของวังคืองานจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งห้องเจ้าสาว (ห้องสมรส) ที่เขียนโดยอันเดรีย มานเทน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและวังดยุกแห่งมานตัว · ดูเพิ่มเติม »

วิโอลา

วิโอลา เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องสายที่มีรูปร่างคล้ายไวโอลิน แต่มีขนาดที่ใหญ่กว่า นิยมเล่นใน วงออร์เคสตรา และ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส โดยวิโอลามีระดับเสียงต่ำกว่า ไวโอลิน แต่สูงว่าเชลโลและดับเบิล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและวิโอลา · ดูเพิ่มเติม »

วีนัส

วีนัส (Venus) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและวีนัส · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์ยุคแรก

นาคริสต์ยุคแรก (Early Christianity) หมายถึงศาสนาคริสต์ช่วงก่อนการสังคายนาที่ไนเชียครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 325) แบ่งออกได้เป็นสองยุคย่อย คือ สมัยอัครทูตและสมัยก่อนไนเซีย ตามที่ระบุในบทแรกของหนังสือกิจการของอัครทูต คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกเป็นชาวยิวทั้งหมด ไม่ว่าโดยกำเนิดหรือมาเข้ารีตภายหลัง จึงเรียกกลุ่มนี้ว่าคริสต์ศาสนิกชนชาวยิว การประกาศข่าวดีในสมัยนั้นเป็นแบบมุขปาฐะและใช้ภาษาแอราเมอิก หนังสือ "กิจการของอัครทูต" และ "จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย" ระบุว่าในสมัยนั้นกรุงเยรูซาเลมเป็นศูนย์กลางของคริตชน โดยมีซีโมนเปโตร ยากอบผู้ชอบธรรม และยอห์นอัครทูต เป็นผู้ปกครองชุมชนร่วมกัน ต่อมาเปาโลซึ่งเคยเป็นปฏิปักษ์กับคริสตชนได้กลับใจมารับเชื่อ และประกาศตนเป็น "อัครทูตมายังพวกต่างชาติ" และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคริสตชนยิ่งกว่าผู้ปกครองท่านอื่น ๆ ที่ร่วมกันเขียนพันธสัญญาใหม่Oxford Dictionary of the Christian Church ed.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศาสนาคริสต์ยุคแรก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะกอทิกนานาชาติ

“นักบุญแมรี แม็กดาเลนและเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์ ศิลปะกอทิกนานาชาติ (International Gothic) เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะกอทิกที่รุ่งเรืองในบริเวณเบอร์กันดี, โบฮีเมีย, ฝรั่งเศส และทางตอนเหนือของอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่ จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศสหลุยส์ คูราโจด์ (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่นหนังสือวิจิตรมักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษกับ แอนน์แห่งโบฮีเมียก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ ต่อมาการสร้างงานศิลปะก็ไม่จำกัดแต่ชนชั้นเจ้านายหรือชนชั้นปกครองแต่ขยายไปยังพ่อค้าและเจ้านายชั้นรองด้วย ทางตอนเหนือของยุโรป “ศิลปะยุคปลายโกธิค” ยังคงพบในงานศิลปะจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และไม่มีอะไรมาแทนที่ก่อนถึงสมัยยุคเรอเนสซองซ์คลาสสิก การใช้คำนี้ของนักประวัติศาสตร์ศิลปะแต่ละคนอาจจะแตกต่างกันบ้างที่บางคนใช้ในวงที่จำกัดกว่าผู้อื่น Some art historians feel the term is "in many ways...

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะกอทิกนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะจินตนิยม

''Wanderer above the Sea of Fog'' ภาพวาดของ แคสเปอร์ เดวิด ฟรีดดริก ในปี 1818 ศิลปะจินตนิยม (Romanticism) เริ่มต้นขึ้นในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในยุโรปตะวันตก เป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทางปรัชญา วรรณกรรม และศิลปกรรม อันนำมาซึ่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป กำเนิดของศิลปะจินตนิยมมีส่วนมาจากการต่อต้านแนวคิดทางสังคมและการเมืองแบบเก่าของยุคแสงสว่าง รวมถึงปฏิกิริยาต่อต้านการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมากแนวคิดของศิลปะในยุคนี้จะสะท้อนออกมาในงานศิลปะแบบภาพวาด ดนตรี และวรรณกรรม ตัวอย่างศิลปินผู้มีชื่อเสียงในยุคจินตนิยม ได้แก่ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน, เฟรเดริก ชอแป็ง, วิลเลียม เบลก เป็นต้น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะจินตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคลาสสิก

ศิลปะคลาสสิก (Classics) เป็นสาขาการศึกษาด้านมานุษยวิทยาซึ่งประกอบด้วยการศึกษาเกี่ยวกับภาษา วรรณกรรม ปรัชญา ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม โบราณคดี และวัฒนธรรมต่างๆ ของดินแดนในแถบเมดิเตอเรเนียนในยุคโบราณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรีกโบราณและโรมันโบราณในช่วงยุคสำริด (ประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงยุคมืด ราว ค.ศ. 500) ในตอนแรกความหมายของ ยุคคลาสสิก หมายถึงยุคแรกๆ ของอารยธรรมของมนุษยชาติโดยทั่วไป แต่ในเวลาต่อมาใช้ในความหมายถึงวัฒนธรรมกรีกโบราณและโรมันโบราณเท่านั้น ดังนั้นการศึกษาอารยธรรมของอียิปต์โบราณจึงมิได้รวมอยู่ในความหมายนี้ อย่างไรก็ดี นักศึกษาศิลปะคลาสสิกในปัจจุบันได้ขยายขอบเขตการศึกษาในสาขานี้ออกไปครอบคลุมถึงอารยธรรมในโลกตะวันออกด้วย เช่นจักรวรรดิเปอร์เซีย ราชอาณาจักรอินเดียโบราณ เป็นต้น หมวดหมู่:กรีซโบราณ หมวดหมู่:โรมันโบราณ หมวดหมู่:การศึกษายุคคลาสสิก *.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะไบแซนไทน์

มเสก ศิลปะไบแซนไทน์ ที่สุเหร่าโซเฟีย ศิลปะคริสเตียนยุคแรก (พ.ศ. 640 - 1040) และ ศิลปะไบแซนไทน์ (พ.ศ. 1040 - 1996) ศิลปะคริสเตียนยุคแรก รับอิทธิพลมาจากศิลปะกรีกโบราณ ศิลปะไบแซนไทน์ หมายถึงศิลปะของรัฐที่นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ซึ่งอยู่ในระยะเวลาเดียวกับอาณาจักรไบแซนไทน์แต่มิได้เป็นอยู่ใต้การปกครองของอาณาจักรไบแซนไทน์ เช่น ประเทศบัลแกเรีย เซอร์เบีย หรือรุส รวมทั้งศิลปะของรัฐอาณาจักรเวนิส และราชอาณาจักรซิซิลี ศิลปะของผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ที่อาศัยอยู่ในจักรวรรดิออตโตมันมักจะเรียกว่า ศิลปะหลังไบแซนไทน์ ศิลปะไบแซนไทน์บางลักษณะที่เริ่มจากอาณาจักรไบแซนไทน์โดยเฉพาะการเขียนภาพแบบที่เรียกว่า รูปสัญลักษณ์ (icon) และสถาปัตยกรรมการสร้างศาสนสถานยังคงทำกันอยู่จนถึงปัจจุบันนี้ในประเทศกรีซ ประเทศรัสเซีย และบางประเทศที่อยู่ในเครืออีสเติร์นออร์โธด็อกซ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเชิง 3 มิติ

“หลบหนีการวิจารณ์” โดย เปเร บอร์เรลล์ เดล คาโซ ค.ศ. 1874 ศิลปะเชิง 3 มิติ หรือ ศิลปะลวงตาทรอมพลุยล์ หรือ ทรอมพลุยล์ (Trompe-l'œil, ออกเสียง: tʁɔ̃p lœj) มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “ลวงตา” เป็นเทคนิคการสร้างศิลปะแบบหนึ่งที่ทำให้ผลที่ออกมาดูเหมือนมีความเป็นภาพ 3 มิติแม้ว่าจะเป็นจิตรกรรมสองมิติ ซึ่งทำโดยการเขียนให้ลวงต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและศิลปะเชิง 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2

มเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 (ละติน: Julius II) พระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 มีพระฉายานามว่า “พระสันตะปาปาผู้เหี้ยมโหด” (Il Papa Terribile) พระนามเมื่อเกิดคือจูเลียโน จูลิอาโน เดลลา โรเวเร ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาระหว่างปี ค.ศ. 1503 ถึง ค.ศ. 1513 สมัยของพระองค์เป็นสมัยที่รู้จักกันว่าเป็นสมัยที่มีนโยบายต่างประเทศที่รุนแรง, สมัยของการก่อสร้าง และสมัยของการอุปถัมภ์ศิลป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมเด็จพระสันตะปาปาจูลิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 (Sixtus IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1471 ถึง ค.ศ. 1484 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1957 ซิกส์ตุสที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:ตระกูลเดลลาโรเวเร หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีกูเรีย.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 (Pope Paul III) (29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1468 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1549) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1534 หลังจากกรุงโรมแตกในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สวนเอเดน

“อาดัมและอีฟในสวรรค์” (Adam and Eve in Paradise) โดย ลูคัส ครานาคผู้พ่อ คริสต์ศตวรรษที่ 16 สวนอีเด็น หรือ สวนเอเดน (Garden of Eden; ภาษาฮิบรู: גַּן עֵדֶן - Gan ‘Ēden) เป็นสถานที่บรรยายไว้ในพระธรรมปฐมกาลว่าเป็นสถานที่มนุษย์สองคนแรกที่พระเจ้าสร้าง -- อาดัม และ อีฟ -- อาศัย ความเชื่อนี้เป็นความเชื่อของศาสนาเอบราฮัม การสร้างโลกในพระธรรมปฐมกาลจะกล่าวถึงที่ตั้งของสวนอีเด็นว่าอยู่ในบริเวณแม่น้ำสำคัญสี่สาย: แม่น้ำพิชอน แม่น้ำกิฮอน แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรทีสซึ่งอยู่ในบริเวณอาร์มีเนีย, ยอดเขาอารารัต, เยเรวาน หรือที่ราบสูงอาร์มีเนีย) (พระธรรมปฐมกาล บทที่ 2 ข้อที่ 10-14) ซึ่งอยู่ในบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะเป็นบริเวณคอเคซัสโบราณโดยเฉพาะบริเวณใกล้กับอาร์มีเนีย แต่ที่ตั้งของแม่น้ำทั้งสี่ยังเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่มีหลักฐานเป็นที่แน่นอนที่สนับสนุนที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของแม่น้ำนอกจากที่กล่าวในพระธรรมปฐมกาลเอง และ วรรณกรรมยิว-คริสเตียนเช่น “จูบิลี” สมมุติฐานอื่นก็ว่าตั้งอยู่ที่เมโสโปเตเมีย ทวีปแอฟริกา หรือ อ่าวเปอร์เซีย สมมุติฐานหลังมาจากหลักฐานของลุ่มแม่น้ำสี่สายที่มาพบกันที่เป็นที่ผลิตทองคำ และยางไม้หอม Bdellium แต่ก็ยังต้องมีการตีความหมายของเนื้อหาของพระธรรมปฐมกาลเพิ่มเพื่อยึนยัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสวนเอเดน · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน หรือ สุลต่านเมห์เหม็ดผู้พิชิต (Mehmed II หรือ Fatih Sultan Mehmet) (30 มีนาคม ค.ศ. 1432 – 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1481) เป็นสุลต่านหรือพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิออตโตมันผู้ครองราชย์สองครั้ง ครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1444 จนถึงปี ค.ศ. 1446 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1451 จนถึงปี ค.ศ. 1481 เมื่อมีพระชนมายุได้ 21 สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ก็ทรงตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453 ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงดำเนินการศึกต่อไปและทรงได้รับชัยชนะในเอเชียซึ่งเป็นการรวมอานาโตเลีย และทรงได้รับชัยชนะในยุโรปไปจนถึงเบลเกรด พระปรีชาสามารถทางด้านการบริหารคือการผสานระบบการบริหารของจักรวรรดิไบแซนไทน์ให้เข้ามาอยู่ในระบบเดียวกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำมัน

ภาพเขียนสีน้ำมัน “ทิวทัศน์เมืองเดลฟท์” โดยโยฮันส์ เวร์เมร์ สีน้ำมัน (Oil paint) เป็นสีชนิดที่แห้งช้าที่ประกอบด้วยรงควัตถุที่ผสมกับน้ำมันระเหย (drying oil) ที่มักจะเป็นน้ำมันเมล็ดฝ้าย ความข้นของสีก็อาจจะปรับได้โดยการเติมสารละลายเช่นน้ำมันสน หรือ น้ำยาละลายสี (white spirit) และก็อาจจะมีการใส่ น้ำมันเคลือบ (varnish) เพื่อให้มีเงามากขึ้นเมื่อสีแห้ง การใช้สีน้ำมันใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ในอังกฤษสำหรับการตกแต่งอย่างง่าย ๆ Charles Eastlake, Materials for a History of Oil Painting, Longman, Longman, Brown, Green, and Longman, 1847.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสีน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

Tempietto di San Pietro in Montorio (ค.ศ. 1502) โรม โดย โดนาโต ดันเจโล บรามันเต ซึ่งเป็นวัดที่สร้างบนที่ที่เชื่อกันว่าเป็นที่ที่นักบุญปีเตอร์สิ้นชีวิด มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรมในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา หรือ สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ (Renaissance architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มขึ้นเมื่อราวต้นคริสต์ศตวรรษที่15 และรุ่งเรืองไปจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อบางประเทศในทวีปยุโรปหันมาฟื้นฟูความสนใจเกี่ยวกับปรัชญากรีก และ โรมันโบราณ และวัตถุนิยม สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเน้นความมีความสมมาตร (symmetry) ความได้สัดส่วน (proportion) การใช้รูปทรงเรขาคณิต และลักษณะที่ปรากฏในสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่นสถาปัตยกรรมสมัย โรมัน การวางโครงสร้างจะเป็นไปอย่างมีแบบแผนไม่ว่าจะเป็นเสา หรือ คานรับเสา และการใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลม การใช้โดม มุข (niche) หรือ aedicule ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เข้ามาแทนที่จะเป็นแบบตรงกันข้ามกับรูปทรงที่ซับซ้อนและไม่เป็นระเบียบ (irregular profile) ที่เป็นที่นิยมของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิก สถาปนิกคนแรกที่เริ่มแบบแผนของสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคือ ฟีลิปโป บรูเนลเลสกีหลังจากนั้นไม่นานลักษณะสถาปัตยกรรมที่ว่านี้ก็แพร่หลายไปทั่วประเทศอิตาลี และต่อไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ รัสเซีย และประเทศอื่น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หอล้างบาป

หอล้างบาปกลมเมืองปีซาตั้งอยู่ข้างตัวมหาวิหาร หอล้างบาปประจำมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน หอล้างบาปที่ฟลอเรนซ์ หอล้างบาป หรือ หอบัพติศมา (Baptistery หรือ BaptistryCatholic Encyclopedia. ''Baptistery''. http://www.newadvent.org/cathen/02276b.htm.) เป็นคริสต์ศาสนสถาน ที่สร้างเป็นอิสระจากสิ่งก่อสร้างอื่นโดยมีอ่างล้างบาปเป็นศูนย์กลาง หอล้างบาปอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของโบสถ์หรืออาสนวิหารซึ่งมีแท่นบูชาและคูหาสวดมนต์ของตนเอง ในศาสนาคริสต์ยุคแรกหอล้างบาปจะเป็นสถานสำหรับผู้จะเข้ารีตเรียนรู้เรื่องศาสนาก่อนจะรับศีลล้างบาป และเป็นที่ทำพิธีล้างบาป การสร้างหอล้างบาปอย่างสวยงามเป็นการแสดงถึงความสำคัญของการล้างบาปในศาสนาคริสต์ หอล้างบาปทรงแปดเหลี่ยมของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันเป็นหอล้างบาปแรกที่สร้างเพื่อการพิธีนี้โดยเฉพาะ ซึ่งเป็นแบบลักษณะตัวอย่างของหอล้างบาปที่สร้างกันต่อมา ซึ่งบางครั้งจะเป็นสิบสองเหลี่ยม หรือกลมอย่างที่ปิซา ในบริเวณโถงทางเข้าโบสถ์คริสต์เป็นบริเวณที่ใช้สำหรับใช้เรียนคำสอนและสารภาพความศรัทธาก่อนที่จะทำการรับศีลล้างบาป โถงกลางจะมีอ่างล้างบาปป็นหลัก ซึ่งจะเป็นที่ที่ผู้รับศีลจะลงไปใต้น้ำสามหน จากอ่างจะเป็นบันไดสามขั้นลงไปในอ่าง ห้อยอยู่เหนืออ่างอาจจะเป็นนกพิลาปทองหรือเงินซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระวิญญาณบริสุทธิ์ รูปเคารพที่ทำจากโมเสกบนผนัง หรือจิตรกรรมฝาผนังมักจะเป็นฉากชีวิตของนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา อ่างล้างบาปในระยะแรกมักจะทำด้วยหิน แต่ต่อมาก็มีการทำด้วโลหะบ้าง แหล่งน้ำของหอล้างบาปของมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรันมาจากน้ำพุธรรมชาติ ก่อนที่จะมาเป็นมหาวิหารสิ่งก่อสร้างเดิมเป็นวังของครอบครัวพลอติอิ แลเตอร์รัน (Plautii Laterani) ผู้เป็นผู้บริหารของจักรพรรดิโรมัน จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เป็นผู้ถวายวังนี้ให้กับบิชอปมิลทิอาเดส (Bishop Miltiades) น้ำพุธรรมชาติเป็นแหล่งน้ำของสิ่งก่อสร้างหลายสิ่งก่อสร้างภายในวัง เมื่อมีการเปลี่ยนศาสนาผู้เปลี่ยนก็ต้องรับล้างบาปทำให้แหล่งน้ำกลายเป็นความจำเป็น คาสสิโอโดรัสนักการเมืองและนักเขียนชาวโรมันบรรยายไว้ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและหอล้างบาป · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์อุฟฟีซี

หอศิลป์อุฟฟิซิ (ภาษาอิตาลี: Galleria degli Uffizi) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “หอศิลป์อุฟฟิซิ” เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก่าที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาพิพิธภัณฑ์ศิลปะในโลก ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของ “พาลัซโซ เดกลิ อุฟฟิซิ” ซึ่งเป็นพาลัซโซ (Palazzo) ในเมืองฟลอเรนซ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและหอศิลป์อุฟฟีซี · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)

หอศิลป์แห่งชาติ (National Gallery) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ในกรุงลอนดอนในอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1824 เป็นที่แสดงและเก็บรักษาจิตรกรรมกว่า 2,300 ภาพจากตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึงปี ค.ศ. 1900 หอศิลป์แห่งชาติเริ่มก่อตั้งเมื่อรัฐบาลซี้อภาพเขียน 36 ภาพจากนายธนาคาร จอห์น จูเลียส แองเกอร์สไตน์ (John Julius Angerstein) ในปี ค.ศ. 1824 หลังจากนั้นลักษณะการสะสมก็ขึ้นอยู่กับผู้อำนวยการของหอศิลป์ โดยเฉพาะชาลส์ ล็อก อีสต์เลค (Charles Lock Eastlake) และโดยการอุทิศเงินส่วนบุคคลซึ่งเป็นจำนวนประมาณสองในสามของภาพในหอศิลป์เจ็นทิลิ, ออกัสโต; บาร์แชม, วิลเลียม & ไวท์ลีย์, ลินดา (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและหอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน) · ดูเพิ่มเติม »

หอศีลจุ่มซันโจวันนี

หอศีลจุ่มซันโจวันนี หรือ หอศีลจุ่มฟลอเรนซ์ (Battistero di San Giovanni; Florence Baptistry) เป็นหอศีลจุ่มนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี และมีฐานะเป็นไมเนอร์บาซิลิกา ตัวหอเป็นทรงแปดเหลี่ยมที่ตั้งอยู่กลางจตุรัสเดลดูโอโมตรงกันข้ามกับมหาวิหารฟลอเรนซ์และหอระฆังของจอตโต ดี บอนโดเน (หอระฆังจอตโต) หอศีลจุ่มซันโจวันนีเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าที่สุดสิ่งหนึ่งของฟลอเรนซ์ที่สร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและหอศีลจุ่มซันโจวันนี · ดูเพิ่มเติม »

หน้าบัน

การตกแต่งหน้าบันวัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร หน้าบัน (Tympanum鼓室) คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและหน้าบัน · ดูเพิ่มเติม »

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ. 1508 - ค.ศ. 1509 ให้ตกแต่งภายในห้องชุดใหม่ทั้งหมด ซึ่งอาจจะทรงประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่าพระสันตะปาปาองค์ก่อนสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ผู้ทรงเป็นปรปักษ์ เพราะห้องเหล่านี้อยู่เหนือห้องบอร์เจีย (Borgia Apartment) ของพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์โดยตรงพอดี ห้องชุดราฟาเอลอยู่บนชั้นสามที่มีทิวทัศน์ทางด้านใต้ของลานเบลเวเดียร์ (Cortile del Belvedere) ที่ตั้งของห้องสี่ห้องตั้งจากตะวันออกไปตะวันตกซึ่งทำให้การชมภาพจะไม่ต่อเนื่องตามหัวเรื่องที่เขียนไว้ ห้องชุดสี่ชุดได้แก่ หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระสันตะปาปาจูเลียสในปี ค.ศ. 1513 หลังจากที่ตกแต่งห้องสองห้องเสร็จแล้ว สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ก็ทรงดำเนินโครงการต่อ และหลังจากการเสียชีวิตของราฟาเอลในปี ค.ศ. 1520 จานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟาเอลลิโน เดล โคลเลผู้ช่วยของราฟาเอลก็เขียนภาพในห้อง “ห้องคอนแสตนติน” ต่อจนเสร็.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและห้องราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

ห้องเจ้าสาว (มานเทนยา)

ห้องภาพสโปซิ หรือ ห้องเจ้าสาว (Camera picta หรือ Camera degli Sposi หรือ bridal chamber) เป็นห้องที่มีจิตรกรรมฝาผนังภายในวังดยุคแห่งมานตัว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและห้องเจ้าสาว (มานเทนยา) · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กัญญา

อันเดรอา ออร์ชานยา หรือเรียกสั้นๆ ว่า ออร์ชานยา (Andrea Orcagna หรือ Andrea di Cione di Arcangelo) (ราว ค.ศ. 1308 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1368) เป็นจิตรกร, ประติมากร และ สถาปนิกของยุคกอธิคชาวอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง, ฉากแท่นบูชา ออร์ชานยาเป็นลูกศิษย์ของอันเดรอา ปิซาโนและจอตโต ดี บอนโดเน น้องชายจาโคโป ดิ โชเน (Jacopo di Cione) และ นาร์โด ดิ โชเน (Nardo di Cione) ต่างก็เป็นจิตรกร ดิ โชเนมักจะทำงานจิตรกรรมร่วมกัน งานของออร์ชานยารวมทั้ง “ฉากแท่นบูชารีดีมเมอร์” Orcagna's works include the "Altarpiece of the Redeemer" (ค.ศ. 1354-ค.ศ. 1357) ภายในชาเปลสโตรซซิภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลา และแท่นบูชาที่วัดออร์ซันมิเคเล (เสร็จ ค.ศ. 1359) ที่ถือกันว่าเป็น “งานชิ้นที่สมบูรณ์ที่สุดของงานกอธิคอิตาลี” จิตรกรรมฝาผนัง “ชัยชนะของความตาย” ที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่งานคีตกรรมชิ้นเอกของฟรานซ์ ลิซท์ “ระบำมรณะ” (Totentanz) ในบรรดาลูกศิษย์ของออร์ชานยาก็ได้แก่เนลโล ดิ วันนิ (Nello di Vanni) จิตรกรชาวปิซาของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้ที่มีงานเขียนที่แคมโปซานโตด้วย บางแหล่งก็ให้ความเห็นว่าเนลโลเป็นคนคนเดียวกับแบร์นาร์โด เนลโลหรือจิโอวานนิ ฟาลโคเน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและออร์กัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ซันมีเกเล

ออร์ซันมีเกเล (Chiesa di Orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์ ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและออร์ซันมีเกเล · ดูเพิ่มเติม »

อะลาบาสเทอร์

อะลาบาสเทอร์(Alabaster) เป็นแร่ที่อยู่ในกลุ่มของยิปซัมและแคลไซต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอะลาบาสเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมโบรโจ โลเรนเซตตี

อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Ambrogio Lorenzetti หรือ Ambruogio Laurati) (ราว ค.ศ. 1290 - 9 มิถุนายน ค.ศ. 1348) เป็นจิตรกรสมัยกอธิคชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนนา ของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติเกิดราวปี ค.ศ. 1348 ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตด้วยกาฬโรคเช่นเดียวกับเปียโตร ลอเร็นเซ็ตตีพี่ชายที่เป็นจิตรกรเช่นกันเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1348 อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” อัมโบรจิโอมีผลงานระหว่างปี ค.ศ. 1348 ถึงปี ค.ศ. 1348 อัมโบรจิโอแสดงถึงอิทธิพลของซิโมเน มาร์ตินิแต่เป็นงานที่เป็นธรรมชาติมากกว่า งานชิ้นแรกๆ ที่สุดเท่าที่ทราบคืองานเขียน “พระแม่มารีและพระบุตร” (ค.ศ. 1319, พิพิธภัณฑ์ไดโอเซซาโน, ซานคาชิอาโน) หลักฐานเกี่ยวกับอัมโบรจิโอถูกบันทึกไว้ที่ฟลอเร็นซ์จนปี ค.ศ. 1321 แต่ก็กลับมาอีกหลังจากที่ไปทำงานที่เซียนนาเป็นเวลาหลายปี จิตรกรรมฝาผนังบนผนังใน “ศาลาแห่งเก้า” (Sala dei Nove) และ “ศาลาแห่งความสันติสุข” (Sala della Pace) ในศาลาว่าการเมืองเซียนาเป็นผลงานชิ้นเอกของยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้นที่มิใช่งานที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา “เก้า” เป็นคณาธิปไตยของสมาคมช่างและผู้มีผลประโยชน์ทางการเงินเก้าสมาคมที่ปกครองสาธารณรัฐเซียนนาในขณะนั้น ผนังสามด้านเป็นภาพเขียนของการประชุมที่เป็นอุปมานิทัศน์ของคุณธรรมใน “อุปมานิทัศน์ของรัฐบาลที่ดี” (Allegory of Good Government) บนผนังอีกสองด้านอัมโบรจิโอเขียนภาพปริทัศน์ของ “ผลของการมีรัฐบาลที่ดีต่อบ้านเมือง” (Effects of Good Government on Town and Country) และภาพ “อุปมานิทัศน์ของรัฐบาลที่ไม่ดี” (Allegory of Bad Government) และภาพคู่กัน “ผลของการมีรัฐบาลที่ไม่ดีต่อบ้านเมือง” (Effects of Bad Government on Town and Country) ภาพผลของรัฐบาลที่ดีอยู่ในสภาพที่ดีกว่า ทำให้เป็นภาพที่แสดงสารานุกรมของชีวิตอันสงบสุขของชาวเมืองในยุคกลางและทิวทัศน์ชนบท หลักฐานแรกของนาฬิกาทรายนาฬิกาทรายจะพบได้ในภาพเขียนนี้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอัมโบรโจ โลเรนเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

อัลตีกีเอโร

อัลติเชียโร หรือ อัลติเชียโร ดา เวโรนา (Altichiero หรือ Altichiero da Verona หรือ Aldighieri da Zevio) (ราว ค.ศ. 1330 - ราว ค.ศ. 1390) เป็นจิตรกรศิลปะยุคกอธิคชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง งานของอัลติเชียโรเป็นไปแนวเขียนของจอตโต ดี บอนโดเน และเป็นผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนภาพแบบเวโรนาและปาดัว — งานของอัลติเชียโรยังคงมีให้เห็นในวัดซานอานาสตาเซียในเวโรนาและในโอราโตริโอซานจอร์โจในปาดัวที่มักจะเชื่อว่าเขียนร่วมกับจาโคโปจาโคโป ดาวันซิ (Jacopo d'Avanzi) อัลติเชียโรอาจจะเกินในบริเวณที่ไม่ไกลจากเซวิโอ และกลายมาเป็นสมาชิกคนสำคัญในสำนักของตระกูลสคาลิแจร์ (House of Scaliger) ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอัลตีกีเอโร · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์

หมือนตนเอง” ค.ศ. 1500 เมื่ออายุยี่สิบแปดปี อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ (Albrecht Dürer; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2014 - 6 เมษายน พ.ศ. 2071)Mueller, Peter O. (1993) Substantiv-Derivation in Den Schriften Albrecht Durers, Walter de Gruyter.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูต

ระเยซูและอัครทูต อัครทูตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 59 (Apostles; Ἀπόστολος, apostolos แปลว่า "ผู้ถูกส่งออกไป" เช่น ข่าวสารหรือตัวแทน) ตามพระวรสารสหทรรศน์และธรรมเนียมทางศาสนาคริสต์ใช้หมายถึงอัครสาวกสิบสองคน ที่พระเยซูทรงเลือก ตั้งชื่อ และฝึกเพื่อจะได้ส่งออกไปทำการประกาศข่าวดี หลังจากยูดาส อิสคาริโอท ทรยศต่อพระเยซู อัครสาวกที่เหลือภายใต้การนำของซีโมนเปโตรจึงจับฉลากเลือกมัทธีอัสซึ่งติดตามพระเยซูมาตั้งต้นขึ้นมาเป็นอัครทูตแทน ฉะนั้นเมื่อถึงเทศกาลเพนเทคอสต์ที่พระวิญญาณบริสุทธิ์เสด็จลงมาประทับกับสาวกของพระเยซู จำนวนอัครทูตจึงมีสิบสองคนเท่าเดิม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

อันนีบาเล การ์รัชชี

อันนิบาเล คารัคชี (ภาษาอังกฤษ: Annibale Carracci) (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1560 - ค.ศ. 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1609) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันนีบาเล การ์รัชชี · ดูเพิ่มเติม »

อันโตเนลโล ดา เมสสินา

อันโตเนลโล ดา เมสสินา (ภาษาอังกฤษ: Antonello da Messina หรือ Antonello di Giovanni di Antonio) (ราว ค.ศ. 1430 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1479) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวซิซิลีที่ได้รับอิทธิพลจากตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์สมัยต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและภาพเหมือน งานเขียนแม้จะมาจากทางไต้ของอิตาลีแต่ก็มีอิทธิพลต่อการเขียนทางภาคเหนือของอิตาลีโดยเฉพาะเวน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันโตเนลโล ดา เมสสินา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา กริตติ

หลุมฝังศพของเขาในเมืองเวนิส อันเดรอา กริตติ(Andrea Gritti) (ค.ศ. 1455 - ค.ศ. 1538) เป็นดยุกแห่งเวนิสประมุขของสาธารณรัฐเวนิส ระหว่างปี ค.ศ. 1523 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1538 อันเดรอา กริตติเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1455 ที่บาร์โดลิโนไม่ไกลจากเวโรนาในประเทศอิตาลีปัจจุบัน กริตติใช้เวลาส่วนใหญ่ในสมัยต้นในคอนสแตนติโนเปิลดูแลผลประโยชน์ให้แก่เวนิส ในปี ค.ศ. 1499 กริตติก็ถูกจำคุกในข้อหาเป็นสายลับแต่รอดจากการถูกประหารชีวิตเพราะความที่เป็นมิตรกับวิเซียร์ (vizier) และถูกปล่อยตัวอีกหลายปีต่อมา เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เวนิสก็เสียดินแดนเกือบทั้งหมดที่มีบนแผ่นดินอิตาลี กริตติมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเสียดินแดน ในปี ค.ศ. 1509 หลังจากการพ่ายแพ้ในยุทธการอักนาเดลโลกริตติก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นแม่ทัพของกองทัพเวนิสในเตรวิโซ และสามารถยึดปาดัวคืนมาได้ และสามารถต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี ค.ศ. 1510 หลังจากการเสียชีวิตของนิโคโล ดิ พิติกลิอาโนกริตติก็เป็นผู้บังคับบัญชากองทัพเวนิสทั้งหมดแต่ถูกบังคับให้ถอยโดยกองทัพที่รุกเข้ามาของฝรั่งเศส กริตติได้รับเลือกให้เป็นดยุกแห่งเวนิสในปี ค.ศ. 1523 และได้ลงนามในสนธิสัญญากับสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นการยุติความเกี่ยวข้องของเวนิสในสงครามอิตาลี กริตติพยายามรักษาความเป็นกลางของเวนิสระหว่างความขัดแย้งระหว่างจักรพรรดิคาร์ลและพระเจ้าฟรองซัวส์แห่งฝรั่งเศส และพยายามหันความสนใจของทั้งสองพระองค์ไปยังการหยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมันในฮังการี แต่กริตติก็ไม่สามารถหยุดยั้งสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมันจากการโจมตีคอร์ฟูในปี ค.ศ. 1537ได้ ซึ่งทำให้เวนิสต้องเข้าสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา กริตติ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา มันเตญญา

“The Agony in the Garden” (ค.ศ. 1455) พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ เป็นลักษณะงานสมัยต้นของมานเทนยา อันเดรีย มานเทนยา (ภาษาอังกฤษ: Andrea Mantegna) (ราว ค.ศ. 1431 - 13 กันยายน ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน มานเทนยาเป็นนักศึกษาโบราณคดีโรมัน เป็นลูกเขยของ จาคโคโป เบลลินี และพี่เขยของจิโอวานนี เบลลินี มานเทนยาก็เช่นกันกับศิลปินรุ่นเดียวกันที่ทดลองวิธีต่างๆในการเขียนแบบทัศนียภาพ เช่นลดระดับขอบฟ้าให้ต่ำลงเพื่อทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพดูใหญ่ขึ้น ภาพของมานเทนยาจะมีลักษณะแข็ง และ เหมือนรูปทำจากหินทำให้เห็นว่ามานเทนยาเขียนภาพจากมุมมองของรูปสลัก ก่อนปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา มันเตญญา · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล กัสตัญโญ

อันเดรอา เดล คาตานโย (Andrea del Castagno หรือ Andrea di Bartolo di Bargilla) (ราว ค.ศ. 1421 - ค.ศ. 1457) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง อันเดรอา เดล คาตานโยได้รับอิทธิพลส่วนใหญ่จากมาซาชิโอและจอตโต ดี บอนโดเน งานของคาตานโยรวมทั้งจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดซานตาอพอลโลเนียในฟลอเรนซ์ และภาพเหมือนบนหลังม้าของทหารรับจ้างอิตาลีผู้มีชื่อเสียงนิคโคโล ดา โทเล็นทิโนที่เขียนใน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา เดล กัสตัญโญ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล ซาร์โต

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราวปี ค.ศ. 1520 - 1530) สกอตแลนด์ อันเดรอา เดล ซาร์โต (Andrea del Sarto, ราว ค.ศ. 1486 - ค.ศ. 1531) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์และแมนเนอริสม์ยุคต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน จิตรกรร่วมสมัยยกย่องอันเดรอา เดล ซาร์โตว่า "Senza errori”"หรือผู้ไม่ทำผิดและถือกันว่ามีความสามารถไม่ด้อยไปกว่าราฟาเอล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา เดล ซาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ (Andrea del Verrocchio ชื่อเมื่อเกิด: Andrea di Michele di Francesco de' Cioni) (ราว ค.ศ. 1435 - ค.ศ. 1488) เป็นจิตรกร, ประติมากร และช่างทองสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นชาวอิตาลี ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางจิตรกรรมและประติมากรรม อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1435 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นผู้ทำงานในสำนักของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 1488 ลูกศิษย์ของเวอร์โรชชิโอก็ได้แก่เลโอนาร์โด ดา วินชี, เปียโตร เปรูจิโน, โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา และ ซานโดร บอตติเชลลี แต่ก็มีอิทธิพลต่อ ไมเคิล แอนเจโลด้ว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา เดลลา รอบเบีย

อันเดรอา เดลลา รอบเบีย (Andrea della Robbia) (24 ตุลาคม ค.ศ. 1435 - 4 สิงหาคม ค.ศ. 1525) เป็นประติมากรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางสร้างงานเซรามิคเคลือบ อันเดรอา เดลลา รอบเบียเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1435 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นบุตรของมาร์โค เดลลา รอบเบีย และเป็นญาติของลูคา เดลลา รอบเบีย อันเดรอาเป็นประติมากรคนสำคัญของศิลปะการทำงานเซรามิคเคลือบ (Ceramic glaze) โรงทำเครื่องเคลือบทำกันต่อมาโดยจิโอวานนิ เดลลา รอบเบียลูกของอันเดรอา งานของอันเดรอารวมทั้ง:.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอันเดรอา เดลลา รอบเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารฟลอเรนซ์

อาสนวิหารฟลอเรนซ์ (Florence Cathedral) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารซันตามาเรียแห่งฟลอเรนซ์ (Cattedrale di Santa Maria del Fiore) เป็นอาสนวิหารประจำอัครมุขนายกแห่งฟลอเรนซ์ ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ มณฑลฟลอเรนซ์ แคว้นตอสคานา ประเทศอิตาลี สร้างขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ออกแบบโดยฟีลิปโป บรูเนลเลสกี ด้านหน้าโบสถ์ประดับตกแต่งด้วยหินอ่อนสีขาว เขียว และชมพู อาสนวิหารแห่งนี้ใหญ่เป็นลำดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจากมหาวิหารนักบุญเปโตร มหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง และอาสนวิหารมิลาน มีความยาว 153 เมตร และฐานของโดมกว้างถึง 90 เมตร หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1290 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1430 หมวดหมู่:แคว้นตอสคานา หมวดหมู่:อาสนวิหารในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอาสนวิหารฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด)

อาหารค่ำมื้อสุดท้าย หรือ The Last Supper ในภาษาอังกฤษ และ Il cenacolo หรือ L'ultima cena ในภาษาอิตาลี เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เลโอนาร์โด ดา วินชี วาดให้แก่ดยุกลูโดวีโก สฟอร์ซา ผู้อุปถัมภ์เขา ภาพเป็นเหตุการณ์ตามพระวรสารภาพเกี่ยวกับอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูกับอัครทูต ก่อนที่จะทรงถูกนำไปตรึงกางเขน ภาพวาดนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เนื่องจากถูกวาดด้วยปูนเปียกบนผนัง ภาพวาดนี้ยังถือว่าเป็นภาพวาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของเลโอนาร์โด ดา วินชี ที่ยังคงสภาพให้มองเห็นได้ในปัจจุบัน และยังถือได้ว่าเป็นหนึ่งในบรรดาจิตรกรรมที่รู้จักกันอยู่ทั่วโลก ภาพวาดนี้ยังเป็นแกนสำคัญของการเดินเรื่องราวของนวนิยายชื่อดังของโลก รหัสลับดาวินชี ที่มีเนื้อหาระบุว่า เลโอนาร์โด ดา วินชี ได้แฝงปริศนาความลับไว้ในภาพโดยแสดงถึงสาวกหญิงใกล้ชิดผู้หนึ่งซึ่งมีสัมพันธ์กับพระเยซู ซึ่งเนื้อหาดังกล่าวได้รับการคัดค้านจากศาสนาจักรคาทอลิกอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด) · ดูเพิ่มเติม »

อาดัม

อาดัม (אָדָם; ܐܕܡ; آدم; Adam) เป็นมนุษย์คนแรกที่พระเป็นเจ้าสร้างขึ้นจากดิน ตามคติของศาสนาอับราฮัม ปรากฏทั้งใน คัมภีร์ฮีบรู คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และอัลกุรอาน ตามคติของศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ อาดัมเป็นเพียงมนุษย์คนแรกของโลก แต่ตามคติของอิสลามอาดัมยังเป็นนบีท่านแรกของอัลลอฮ์ด้วย อาดัมและภรรยาชื่อเอวา เดิมพระเจ้าประทานอยู่ในสวนเอเดน ต่อมาภายหลังถูกซาตานหลอกลวงให้ประพฤติผิด เกิดเป็นบาป ทำให้ถูกไล่จากสวนเอเดน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอาดัม · ดูเพิ่มเติม »

อิสอัค

อิสอัค (Isaac) เป็นบุตรคนที่สองของอับราฮัม ที่เกิดจากนางซาราห์ ภรรยาคนแรกของอับราฮัม เรื่องราวของอิสอัค ถูกบันทึกไว้ในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ในส่วนของพระธรรมปฐมกาล บทที่ 22-27.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอิสอัค · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์

''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์จะกล่าวไว้ในคำนำในฉบับพิมพ์อเมริกันว่า “(หนังสือเล่มนี้) ไม่ใช่อุปมานิทัศน์หรือหัวข้อ....กระผมไม่ชอบอุปมานิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใหน...”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอุปมานิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ภาษาอังกฤษ: Allegory of Prudence) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ ทิเชียนเขียนภาพ “อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ” ระหว่างปี ค.ศ. 1565 ถึงปี ค.ศ. 1570 เป็นภาพศีรษะชายสามศีรษะหันหน้ากันไปสามทางเหนือสัตว์สามชนิด จากซ้ายเป็นหมาป่า, สิงห์โต และหมา ศีรษะชายสามคนเป็นอุปมานิทัศน์หรือสัญลักษณ์ของ “ชีวิตสามช่วงของมนุษย์” (ความเป็นหนุ่ม, ความเป็นผู้ใหญ่ และ ความมีอายุ) ซึ่งคล้ายกับการวางท่าของสฟิงซ์และต่อมาบรรยายโดยอริสโตเติล ใบหน้าของแบบเชื่อกันว่าเป็นภาพของทิเชียนเอง, โอราซิโอลูกชาย และหลานมาร์โค เวเชลลิโอซึ่งเช่นเดียวกับโอซาริโอ ทั้งสองคนพำนักและทำงานอยู่กับทิเชียน ทิเชียนเขียนภาพเหมือนตนเองอีกภาพหนึ่งในปี ค.ศ. 1567 ซึ่งใช้เป็นภาพที่ใช้เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของทิเชียนกับภาพนี้ นอกจากนั้นใบหน้านี้ยังปรากฏในภาพเขียนของทิเชียนในสมัยเดียวกันอีกหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพเดียวที่ทิเชียนเขียนคำขวัญ: “EX PRAETERITO/PRAESENS PRUDENTER AGIT/NE FUTURA ACTIONẼ DETURPET” (จาก(ประสบการณ์ใน)อดีต, ปฏิบัติอย่างรอบคอบในปัจจุบัน, ไม่ทำลายอนาคต) เออร์วิน พานอฟสกีตีความหมายในความสัมพันธ์ของใบหน้าทั้งสามในภาพเขียนว่าเมื่อทิเชียนได้รับความสำเร็จในปี ค.ศ. 1569 ในการที่สามารถโอนใบ “Senseria” ซึ่งเป็นใบลิขสิทธิ์ที่ได้รับจากซินยอเรีย (Signoria) ให้แก่ลูกชายได้ ฉะนั้นทิเชียนจึงกลายเป็นอดีต, โอราซิโอเป็นสัญลักษณ์ของปัจจุบัน และ ความไม่มีหลาน, มาร์โคจึงเป็นสัญลักษณ์ของอนาคต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

อีราสโมแห่งนาร์นิ

อีราสโมแห่งนาร์นิ หรือที่รู้จักกันดีว่า กัตตาเมลาตา (Erasmo of Narni หรือ Gattamelata) (ค.ศ. 1370 – 16 มกราคม ค.ศ. 1443) เป็นทหารรับจ้างหรือคอนดตติเอเรผู้มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 อีราสโมแห่งนาร์นิมีชื่อเล่นว่า “The Honeyed Cat” อีราสมัสเกิดที่นาร์นิและเป็นทหารรับจ้างแก่นครรัฐต่างๆ หลายนครตั้งแต่พระสันตะปาปาและเมืองฟลอเรนซ์ และในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและอีราสโมแห่งนาร์นิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮือโค ฟัน เดอร์คุส

ือโค ฟัน เดอร์คุส (Hugo van der Goes; ราว ค.ศ. 1440 - ราว ค.ศ. 1482) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (เรอแนซ็องส์) ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและบานพับภาพ ฮือโค ฟัน เดอร์คุสเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1440 ที่เมืองเกนต์ เสียชีวิตที่ใกล้เมืองบรัสเซลส์เมื่อราว ค.ศ. 1482 ฮือโคเป็นสมาชิกของสมาคมช่างเขียนแห่งเกนต์ในฐานะมาสเตอร์ในปี ค.ศ. 1467 ในปี ค.ศ. 1468 ฮือโคก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับการตกแต่งเมืองบรูชเพื่อเตรียมการฉลองการเสกสมรสระหว่างชาร์ลพระเศียรล้าน ดุ๊กแห่งเบอร์กันดี (Charles the Bold) กับมาร์กาเรตแห่งยอร์ก (Margaret of York) และเป็นผู้ตกแต่งตราประจำพระองค์สำหรับขบวนการเสด็จเข้าเมืองเกนต์ของพระเจ้าชาร์ลในปี ค.ศ. 1469 และต่อมาในปี ค.ศ. 1472 ฮือโคก็ได้รับเลือกให้เป็นอธิการของสมาคมในปี ค.ศ. 1473 หรือปี ค.ศ. 1474 ในปี ค.ศ. 1475 หรือหลายปีต่อมา ฮือโคก็บวชเป็นพระที่สำนักสงฆ์โรดโกลสเตอร์ (Rood Klooster) ไม่ไกลจากบรัสเซลส์ที่เป็นของนิกายวินเดิสไฮม์ (Windesheim Congregation) และยังคงทำงานจิตรกรรมต่อจนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1482 หรือในปี ค.ศ. 1483 ในปี ค.ศ. 1480 ฮือโคถูกเรียกตัวไปเมืองเลอเฟินเพื่อไปเขียน "Justice Scenes" ที่ดีร์ก เบาตส์ เขียนค้างไว้ก่อนที่จะเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1475 หลังจากนั้นไม่นานขณะที่ฮือโคเดินทางกลับจากโคโลญกับพระในสำนักก็เกิดความรู้สึกอยากจะฆ่าตัวตายและประกาศตัวเองว่าเป็นผู้ที่ถูกแช่ง แต่เมื่อกลับมาถึงโรดโกลสเตอร์ ฮือโคก็หายและเสียชีวิตที่นั่น ระยะเวลาที่พำนักที่สำนักสงฆ์ถูกบันทึกโดยคัสปาร์ โอฟเฮยส์ (Gaspar Ofhuys) นักบวชอีกองค์หนึ่ง รายงานโดยแพทย์ชาวเยอรมันฮีเยโรนือมุส มึนเซอร์ (Hieronymus Münzer) ในปี ค.ศ. 1495 ทีกล่าวถึงจิตรกรชาวเกนต์ตกอยู่ในอารมณ์เศร้าเพราะความกดดันที่จะเขียนภาพให้ดีเท่าฉากแท่นบูชาเกนต์ อาจจะหมายถึงฮือโค งานเขียนชิ้นที่สำคัญที่สุดที่ยังเหลืออยู่คือฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์) ที่เป็นงานที่จ้างสำหรับวัดซานเอจีดีโอในโรงพยาบาลของวัดซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์ โดยตอมมาโซ ปอร์ตีนารี (Tommaso Portinari) ผู้จัดการสาขาบรูชของธนาคารเมดีชี ฉากแท่นบูชามาถึงฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 1483 หลายปีหลังจากที่ฮือโคเขียนเสร็จ เป็นงานที่ชื่นชมกันในฟลอเรนซ์ จอร์โจ วาซารีในหนังสือ "ชีวิตศิลปิน" ของปี ค.ศ. 1550 เรียกฮือโคว่า "Ugo d'Anversa" (ฮือโคแห่งแอนต์เวิร์ป) ซึ่งเป็นหลักฐานเดียวที่ยืนยันว่าฮือโคเป็นผู้เขียนภาพ งานชิ้นอื่นใช้การวิจัยลักษณะการเขียนโดยการเปรียบเทียบกับฉากแท่นบูชานี้ในการบ่งว่าฮือโคเป็นผู้วาด ดูเหมือนว่าฮือโคจะทิ้งงานร่างไว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจจะใช้โดยผู้นิยมในการสร้างงานเขียนที่ฮือโคไม่ได้วาดด้วยตนเอง ร่างภาพ "เจค็อบและเรเชล" อยู่ที่ไครสต์เชิร์ช เชื่อเป็นงานที่ลงชื่อในจำนวนไม่กี่ชิ้นที่เหลืออยู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฮือโค ฟัน เดอร์คุส · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก-หลุยส์ ดาวีด

ัก-หลุยส์ ดาวีด ฌัก-หลุยส์ ดาวีด (Jacques-Louis David; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1748 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 1825) เป็นศิลปินในยุคนีโอคลาสสิก ที่มีชื่อเสียงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและยังเป็นจิตรกรในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฌัก-หลุยส์ ดาวีด · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ วาซารี

อร์โจ วาซารี (Giorgio Vasari) (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1511 - 27 มิถุนายน ค.ศ. 1574) เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี ผลงานที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากที่สุดคืองานบันทึก ประวัติชีวิตและงานของศิลปินอิตาลีก่อนหน้าและร่วมสมัยในชื่อ “ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น” (หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ชีวิตศิลปิน” (The Vite)) ซึ่งเป็นงานที่ยังมีการอ้างอิงกันในการเขียนประวัติชีวิตศิลปินหรือการวิจัยจิตรกรรมและประติมากรรมกันอยู่จนทุกวันนี้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจอร์โจ วาซารี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฮอว์ควูด

อห์น ฮอว์ควูด (John Hawkwood) (ค.ศ. 1320 – ค.ศ. 1394) เป็นทหารรับจ้างหรือคอนดตติเอเรชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในอิตาลี นักบันทึกพงศาวดารชาวฝรั่งเศสฌอง ฟรัวส์ซาร์ท (Jean Froissart) รู้จักฮอว์ควูดในนามว่า “ฮัคคูเด” และชาวอิตาลีว่า “จิโอวานนิ อคูโต” ฮอว์ควูดเริ่มอาชีพโดยการเป็นทหารรับจ้างให้แก่พระสันตะปาปาก่อนและต่อมาก็กับฝ่ายต่างๆ ตามแต่จะได้รับจ้างเป็นเวลากว่า 30 ปี ชีวิตเบื้องต้นของฮอว์ควูดเต็มไปด้วยตำนานและเรื่องเล่าขานและไม่ทราบสาเหตุของการมีอาชีพเป็นทหาร แต่ตามเรื่องที่ยอมรับกันเป็นส่วนใหญ่ฮอว์ควูดเป็นลูกชายคนที่สองของช่างย้อมหนังในเอสเซ็กซ์และได้ไปฝึกงานอยู่ที่ลอนดอน บางเรื่องก็อ้างว่าเป็นช่างตัดเสื้อมาก่อนที่จะเป็นทหาร ฮอว์ควูดเป็นทหารในกองทัพอังกฤษในฝรั่งเศสในตอนต้นของสงครามร้อยปี ภายใต้การนำของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ บ้างก็ว่าฮอว์ควูดเข้าร่วมต่อสู้ในยุทธการเครซี และ/หรือ ยุทธการปัวติเยร์ส แต่ก็ไม่มีหลักฐานสนับสนุน นอกจากนั้นก็มีตำนานว่าได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเองหรือไม่ก็เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายดำ หรืออาจจะเป็นได้ว่าแต่งตั้งตนเองเพื่อเป็นประโยชน์แก่การไปรับจ้างเป็นทหาร ชีวิตการเป็นทหารของฮอว์ควูดให้แก่ฝ่ายอังกฤษมาสิ้นสุดลงในยุทธการเบรตินยี ใน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจอห์น ฮอว์ควูด · ดูเพิ่มเติม »

จอตโต ดี บอนโดเน

อตโต ดี บอนโดเน จอตโต ดี บอนโดเน (Giotto di Bondone) (ค.ศ. 1267 – 8 มกราคม ค.ศ. 1337), เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนาม จอตโต (Giotto), เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี จากเมืองฟลอเรนซ์ ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนสร้างสรรค์ผลงาน ที่ก่อให้เกิดกระแสใหม่ในสังคมที่นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ในที่สุด จอตโต ดี บอนโดเนเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับจิโอวานนี วิลลานิผู้กล่าวว่าจอตโตเป็นช่างผู้มีความสามารถที่สุดในสมัยนั้น เป็นผู้วาดภาพตามกฎของธรรมชาติ และจอตโตได้รับเงินเดีอนจากรัฐบาลเมืองฟลอเรนซ์เนื่องมาจากความสามารถBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจอตโต ดี บอนโดเน · ดูเพิ่มเติม »

จักรราศี

รื่องหมายจักรราศีของโหราศาสตร์สากลราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 แกะจากแม่พิมพ์ไม้ ภาพสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในจอร์เจียเป็นรูปจักรราศีที่มีพระเยซูอยู่ตรงกลาง เครื่องหมายจักรราศีที่ใช้ในโหราศาสตร์สากลในปัจจุบัน จักรราศี (zodiac มาจากภาษากรีก ζῳδιακός หมายถึง "สัตว์") เป็นแถบสมมติบนท้องฟ้าที่มีขอบเขตประมาณ 8 องศา ค่อนไปทางเหนือและใต้ของแนวเส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนผ่าน (สุริยวิถี) ซึ่งครอบคลุมแนวเส้นทางปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลอีก 7 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวพลูโตนั้น ความเอียงของวงโคจรมีค่ามาก ดาวพลูโตจึงมีเส้นทางปรากฏห่างจากสุริยวิถี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจักรราศี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโป ปอนตอร์โม

“จาโคโป ปอนตอร์โม” จากหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” โดย จอร์โจ วาซารี พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี แคพโพนีชาเปล, ซานตาเฟลิชิตา, ฟลอเรนซ์, อิตาลี โจเซฟในอียิปต์ (รายละเอียด) นักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อท พระแม่มารีและนักบุญอลิสซาเบ็ธ นักบุญเควนแต็ง ภาพเหมือนของชายหนุ่ม จาโคโป ปอนตอร์โม หรือ ปอนตอร์โม (Jacopo Pontormo หรือ Jacopo da Pontormo หรือ Pontormo) (24 พฤษภาคม ค.ศ. 1494 - 2 มกราคม ค.ศ. 1557) เป็นจิตรกรสมัยแมนเนอริสม์ตระกูลฟลอเรนซ์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการเขียนภาพเหมือน ปอนตอร์โมมีชื่อเสียงในการวางตัวแบบเอี้ยวตัว, การบิดเบือนทัศนียภาพ, การใช้สีที่ไม่ใช่ธรรมชาติซึ่งมาจากความเป็นคนที่อยู่นิ่งไม่ได้และเป็นคนมีอารมณ์ที่ทำนายไม่ได้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจาโกโป ปอนตอร์โม · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรชั้นครู

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรชั้นครู · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช

ตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช (Dutch and Flemish Renaissance painting) เป็นจิตรกรรมของคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นศิลปะที่โต้ตอบศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบอิตาลีของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ ศิลปินกลุ่มนี้ที่เริ่มจากจิตรกรจริตนิยมแอนต์เวิร์ป และฮีเยโรนีมึส โบส เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษจนถึงปลายสมัยจิตรกรจริตนิยม เช่น ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) และกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในตอนปลาย ซึ่งเป็นศิลปะที่วิวัฒนาการมาจากการเขียนแบบใหม่ในอิตาลีและงานเขียนแบบท้องถิ่นของจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก แอนต์เวิร์ปกลายเป็นเมืองศูนย์กลางของศิลปะในบริเวณนั้น จิตรกรหลายคนทำงานให้กับราชสำนักในยุโรปรวมทั้งฮีเยโรนีมึส โบส ผู้ที่มีลักษณะการเขียนที่เป็นที่เลื่องลือ, ยัน มาบูซ (Jan Mabuse), มาร์เติน ฟัน เฮมสแกร์ก (Maarten van Heemskerck), ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) ต่างก็มีบทบาทในการนำแบบการวาดของอิตาลีเข้ามาผสมกับลักษณะการเขียนของตนเอง นอกจากนั้นจิตรกรดัตช์และเฟลมิชก็ยังมีบทบาทในการริเริ่มหัวข้อการวาดใหม่ เช่น จิตรกรรมภูมิทัศน์ จิตรกรรมชีวิตประจำวัน ตัวอย่างเช่นงานเขียนของโยอาคิม ปาตีนีร์ (Joachim Patinir) ที่มีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ ขณะเดียวกับที่ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) และปีเตอร์ อาร์ตเซิน (Pieter Aertsen) ช่วยทำให้จิตรกรรมชีวิตประจำวันเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำมัน

"โมนาลิซา" โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราว ค.ศ. 1503-1506 จิตรกรรมสีน้ำมัน หรือ ภาพเขียนสีน้ำมัน (oil painting) คือการเขียนภาพโดยใช้สีฝุ่นที่ผสมกับน้ำมันแห้ง (drying oil) — โดยเฉพาะในตอนต้นของยุโรปสมัยใหม่, น้ำมันลินสีด (linseed oil) ตามปกติแล้วก็จะต้มน้ำมันเช่นลินสีดกับยางสนหรือยางสนหอม (frankincense) ส่วนผสมนี้เรียกว่า "น้ำมันเคลือบ" (varnish) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ภาพเขียนมีความหนาและเป็นเงา น้ำมันอื่นที่ใช้ก็มีน้ำมันเม็ดฝิ่น, น้ำมันวอลนัต, และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันแต่ละอย่างก็มีคุณภาพต่าง ๆ กัน เช่นอาจจะทำให้สืเหลืองน้อยลง หรือใช้เวลาแห้งไม่เท่ากัน บางครั้งก็จะเห็นความแตกต่างจากเงาของภาพเขียนแล้วแต่ชนิดของน้ำมัน จิตรกรจะใช้น้ำมันหลายชนิดในภาพเขียนเดียวกันเพื่อให้ได้ลักษณะของภาพเขียนออกมาตามที่ต้องการ การแสดงออกของสีก็จะต่างกันตามแต่วัสดุที่ใช้เขียน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมสีน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมแผง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมเฟลมิช

ตรกรรมเฟลมิช (Flemish painting) รุ่งเรืองตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บริเวณฟลานเดอส์เป็นบริเวณที่มีจิตรกรสำคัญ ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปและเป็นที่ดึงดูดจิตรกรจากประเทศข้างเคียง จิตรกรเหล่านี้นอกจากจะมีผลงานในฟลานเดอส์แล้วยังได้รับการเชิญให้ไปเป็นช่างเขียนประจำราชสำนักและสำนักต่าง ๆ ในยุโรป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจิตรกรรมเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จุสโต เด เมนาบูโออี

ต เดมนาบวย (Giusto de' Menabuoi) (ราว ค.ศ. 1320 - ค.ศ. 1391) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จุสโต เดมนาบวยเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1320 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1391 ที่เมืองปาดัว ในลอมบาร์ดีจุสโตเขียนจิตรกรรมฝาผนัง “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ภายในแอบบีที่วิโบลโดเนในมิลาน หลังจากนั้นจุสโตก็ย้ายไปปาดัวที่ไปเขียนจิตรกรรมฝาผนังวัดเอเรมิตานิ, บาซิลิกาซานอันโตนิโอแห่งปาดัว และที่สำคัญที่สุดก็ที่มหาวิหารปาดัว (ค.ศ. 1376) จุสโตอยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของฟินา บุซซาคารินิFina Buzzacarini.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจุสโต เด เมนาบูโออี · ดูเพิ่มเติม »

จูลีโอ โรมาโน

ูลีโอ โรมาโน (Giulio Romano) (ราว ค.ศ. 1499 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1546) เป็นจิตรกรและสถาปนิกสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จูลีโอ โรมาโนเป็นลูกศิษย์คนสำคัญของราฟาเอล ลักษณะการเขียนแบบเรอเนซองส์สูงของจูลีโอมีส่วนช่วยในการวางพื้นฐานของงานศิลปะยุคต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เรียกว่าแมนเนอริสม์ งานเขียนเส้นของจูลีโอเป็นงานที่เป็นที่นิยมของนักสะสม ซึ่งมาร์คานโตนิโอ ราอิมอนดินำไปแกะพิมพ์เป็นการทำให้เป็นการเผยแพร่งานแบบอิตาลีไปทั่วยุโรป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและจูลีโอ โรมาโน · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคาร

1970 ธนาคาร (bank) คือสถาบันรับฝากเงินจากสาธารณชนทั่วไปและให้ผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยเงินฝาก แล้วนำเงินที่รับฝากไปปล่อยให้หน่วยงานเอกชนหรือรัฐบาลกู้และรับผลตอบแทนมาเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ ต่างจาก อธนาคาร (Non-bank) ซึ่งเป็นสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร กล่าวคือไม่ได้รับอนุญาตประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์จากธนาคารแห่งประเทศไทย ไม่สามารถเปิดบัญชีเงินฝากให้แก่ประชาชน แต่สามารถให้บริการทางการเงินเฉพาะบางประเภทที่ใกล้เคียงกัน อาทิในการให้สินเชื่อระยะสั้น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและธนาคาร · ดูเพิ่มเติม »

ทหารรับจ้าง

“ทหารรับจ้าง” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ค.ศ. 1480 ทหารรับจ้าง (mercenary) คือ บุคคลที่เข้าร่วมในการขัดกันด้วยอาวุธ (armed conflict) โดยที่มิได้มีเชื้อชาติหรือเป็นสมาชิกของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งของคู่ขัดแย้ง แต่ "มีแรงจูงใจให้เข้าร่วมในการขัดกัน โดยมีความประสงค์ส่วนตัวในค่าตอบแทนที่จะได้รับเป็นสำคัญ ซึ่งอาจจะมากกว่านายทหารผู้อยู่ระดับเดียวกันและปฏิบัติหน้าที่ในกองทัพของผู้ว่าจ้างนั้น" (พิธีสารพิ่มเติม อนุสัญญากรุงเจนีวา ฉบับที่สาม) ผู้ที่เป็นทหารอาชีพของกองทัพตามปกติไม่ถือว่าเป็นทหารรับจ้าง แม้ว่าจะได้รับเงินค่าตอบแทนก็ตาม เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าทหารรับจ้างเป็นผู้ที่มีอาชีพสู้รบเพื่อเงินตอบแทน คำว่า “ทหารรับจ้าง” จึงเป็นคำที่มีความหมายเป็นนัยยะในทางลบ ถึงแม้ว่าจะมีบางกรณีที่เป็นการยกเว้นก็ตาม ความแตกต่างระหว่าง “ทหารรับจ้าง” และ “อาสาสมัครต่างด้าว” (foreign volunteer) บางครั้งก็ออกจะคลุมเครือ เพราะจุดประสงค์ในการเข้าร่วมการต่อสู้ของกองทหารด้าวไม่เป็นที่ชัดเจน ตัวอย่างเช่นในกรณีของกองทหารต่างด้าวฝรั่งเศส” (French Foreign Legion) และกองทหารกุรข่า (Brigade of Gurkhas) ที่ไม่ถือว่าเป็น “ทหารรับจ้าง” ภายใต้กฎการยุทธ (laws of war) เพราะแม้ว่าลักษณะของทั้งสองกลุ่มจะตรงกับคำจำกัดความของการเป็นทหารรับจ้างหลายอย่าง ที่ตรงกับที่ระบุไว้ในข้อ 47 ของพิธีสารเพิ่มเติมอนุสัญญากรุงเจนีวา ฉบับที่สาม..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทหารรับจ้าง · ดูเพิ่มเติม »

ทหารรับจ้างอิตาลี

หมือนของฟารินาตา เดกลิ อุแบร์ติ (Farinata degli Uberti) โดย อันเดรอา เดล คาสตานโย (Andrea del Castagno), เป็นภาพที่แสดงการแต่งตัวที่นิยมกันของทหารรับจ้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้นำทหารรับจ้างอิตาลี หรือ คอนดตติเอเร (Condottieri เอกพจน์ condottiero หรือ condottiere) คือผู้นำของกองทหารรับจ้าง ที่เป็นกองทหารอาชีพที่ไม่ขึ้นต่อผู้ใดโดยเฉพาะ ผู้ที่จะเข้าร่วมในการต่อสู้ก็เมื่อได้รับสัญญาจ้างจากนครรัฐในอิตาลี หรือจากพระสันตะปาปา ตั้งแต่ปลายยุคกลางมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคกลาง “คอนดตติเอโร” หมายถึง “ผู้รับสัญญา” (contractor) และมีความหมายเดียวกับภาษาอังกฤษใหม่ว่า “กัปตันทหารรับจ้าง” ที่ตามความหมายแล้วมิได้บ่งถึงสัญชาติของผู้ได้รับจ้าง คำที่ใช้เรียกทหารรับจ้างในภาษาอิตาลีมาเป็นคำมาตรฐานที่ใช้กันในภาษาอังกฤษในบทเขียนที่เกี่ยวกับสมัยนโปเลียนที่ใช้กันมาจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะคำที่ใช้สำหรับทหารอาชีพยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งปลายสมัยของสงครามนโปเลียน (ค.ศ. 1800–ค.ศ. 1815) ฉะนั้นคำว่า “คอนดตติเอเร” ในภาษาอังกฤษจึงทหารใดก็ได้ที่ได้รับค่าจ้างประจำ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทหารรับจ้างอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนมิติ

ทัศนมิติแบบสองจุด ทัศนมิติ (perspective) หรือทับศัพท์ว่าเพอร์สเปกทีฟ คือการเขียนภาพให้ปรากฏออกมาในลักษณะที่เหมือนการมองเห็นจริง โดยปรกติมักจะใช้เพื่อการนำเสนอภาพจำลองของแนวความคิดในการออกแบบผลงาน เช่นภาพงานอาคารในงานสถาปัตยกรรม ภาพการตกแต่งภายในสำหรับงานมัณฑนศิลป เป็นต้น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทัศนมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ทัดดิโอ กัดดี

ทัดดิโอ กัดดี (Taddeo Gaddi) (ราว ค.ศ. 1300 - ค.ศ. 1366) เป็นจิตรกรและสถาปนิกของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ในฐานะจิตรกรทัดดิโอสร้างงานฉากแท่นบูชา และงานจิตรกรรมฝาผนัง และเป็นที่ทราบกันว่าเป็นลูกศิษย์คนสำคัญของจอตโต ดี บอนโดเน ในฐานะสถาปนิกทัดดิโอได้ชื่อว่าเป็นผู้ออกแบบปอนเตเวคคิโอ (Ponte Vecchio).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทัดดิโอ กัดดี · ดูเพิ่มเติม »

ทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล)

ทิพยทัศน์ของกางเขน (The Vision of the Cross) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเวิร์คช็อพของราฟาเอลผู้เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1520 ถึงปี ค.ศ. 1524 หลังจากที่ราฟาเอลเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1520 ผู้ที่เขียนอาจจะเป็นจานฟรานเชสโค เพ็นนิ, จุยลิโอ โรมาโน และราฟฟาเอลลิโน เดล โคลเล (Raffaellino del Colle) “ทิพยทัศน์ของกางเขน” เป็นภาพหนึ่งในชุดภาพที่ราฟาเอลได้รับสัญญาให้วาดสำหรับวังพระสันตะปาปาในกรุงวาติกัน ซึ่งเป็นงานจิตรกรรมสำหรับตกแต่งห้องชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า “ห้องราฟาเอล” ภาพ “ทิพยทัศน์ของกางเขน” ตั้งอยู่ภายใน“ห้องคอนแสตนติน” (Sala di Costantino) เป็นภาพจักรพรรดิคอนแสตนตินก่อนที่ทรงเข้าต่อสู้ในยุทธการสะพานมิลเวียน (Battle of the Milvian Bridge) เมื่อวันที่28 ตุลาคม ค.ศ. 312 ตามตำนานจักรพรรดิคอนแสตนตินทรงเห็นกางเขนส่องสว่างอยู่บนฟ้า ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้มีพระราชดำรัส “สัญลักษณ์นี้นำมาซึ่งชัยชนะ” (In hoc signo vinces) ในจิตรกรรมชิ้นนี้จารึกเป็นภาษากรีกโบราณ “สัญลักษณ์นี้คือชัยชนะ” (Εν τούτῳ νίκα) ลักษณะภาพเป็นแบบแมนเนอริสม์ที่เต็มไปด้วยความสับสนยุ่งเหยิงที่ประกอบด้วยมังกร, คนแคระ, พระสันตะปาปาสององค์ และสัญลักษณ์อื่นๆ สัดส่วนของทหารก็ไม่ถูกต้องที่บางครั้งดูเตี้ยกว่าผู้ที่อยู่ใกลออกไป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทิพยทัศน์ของกางเขน (ห้องราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

ขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ)

ับจากสวนอีเด็น (Cacciata dei progenitori dall'Eden, Expulsion from the Garden of Eden) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยมาซาชิโอจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เขียนบนผนังของชาเปลบรันคาชชิภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในปี ค.ศ. 1423 ภาพ “ขับจากสวนอีเด็น” เป็นฉากหนึ่งในจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพชุดที่เขียนโดยมาซาชิโอ, มาโซลิโน ดา พานิคาเล และจิตรกรอื่นๆ ภาพ “ขับจากสวนอีเด็น” เป็นภาพของอาดัมกับอีฟขณะที่ถูกขับจากสวรรค์ที่กล่าวถึงในพระธรรมปฐมกาล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ) · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเวนิส

หมือนของดยุกเลโอนาร์โด โลเรดันแต่งกายตามธรรมเนียม “corno ducale” (จิโอวานนี เบลลินี หลัง ค.ศ. 1501, หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน) ดยุกแห่งเวนิส หรือ โดเจแห่งเวนิส (Doge of Venice) มาจาก “Doge” (ภาษาเวนิส) หรือ “Doxe” ที่มาจากภาษาละติน “Dux” ที่หมายถึงผู้นำทางทหาร ภาษาอิตาลีใช้ “Duce” ดยุกแห่งเวนิสเป็นตำแหน่งประมุขของสาธารณรัฐเวนิสที่ใช้กันมากว่าหนึ่งพันปี เป็นตำแหน่งเลือกตั้งตลอดชีพโดยชนชั้นเจ้านายในนครรัฐ ผู้ที่ได้รับเลือกมักจะเป็นผู้มีอาวุโสสูงที่สุดและเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบดีที่สุด ความสามารถในการรักษาดุลยภาพระหว่างการมีพิธีรีตองอย่างเจ้านายและความเป็นสารธารณรัฐที่ทำให้เวนิสเป็นตัวอย่างที่ดีของมกุฏสาธารณรัฐ (crowned republic) หรือสาธารณรัฐที่มีเจ้านายเป็นผู้ครอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและดยุกแห่งเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

ดันเต อาลีกีเอรี

ูรันเต เดกลี อาลีกีเอรี หรือดันเต อาลีกีเอรี หรือเรียกสั้น ๆ ว่าดันเต (Durante degli Alighieri; Dante Alighieri) (ราวกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1265 - 14 กันยายน ค.ศ. 1321) ดันเต อาลีกีเอรีเป็นรัฐบุรุษ กวี และนักภาษาศาสตร์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ในยุคกลาง งานชิ้นที่สำคัญที่สุดคือ “ดีวีนากอมเมเดีย” (Divina Commedia) ที่เดิมชื่อ “Commedia” แต่ต่อมาเรียก “Divina” โดยโจวันนี บอกกัชโช และในที่สุดก็กลายเป็น “Divina Commedia” ซึ่งถือว่าเป็นกวีนิพนธ์ชิ้นเอกของภาษาอิตาลีและของโลก ดันเตได้รับการขนานนามในอิตาลีว่า “il Sommo Poeta” หรือ “มหากวี” และได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งภาษาอิตาลี” ดานเต เปตราก และโจวันนี บอกกัชโช รู้จักรวมกันว่า “สามมงกุฏ” (the three fountains หรือ the three crowns) บอกกัชโชเป็นคนแรกที่เขียนชีวประวัติของดันเตใน “ศาสตรนิพนธ์ในการสรรเสริญดันเต” (Trattatello in laude di Dante).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและดันเต อาลีกีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

ดิเอโก เบลัซเกซ

อโก เบลัซเกซ ดิเอโก โรดริเกซ เด ซิลบา อี เบลัซเกซ (Diego Rodríguez de Silva y Velázquez; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2142 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2203) เป็นจิตรกรชาวสเปน มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Las Meninas, La Venus del espejo และ La Rendición de Breda.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและดิเอโก เบลัซเกซ · ดูเพิ่มเติม »

ดุชโช

นักบุญปีเตอร์ และ นักบุญแอนดรูจาก “Maestà” “พระแม่มารีและพระบุตร” ดุชโช ดี บูโอนินเซญญา (Duccio di Buoninsegna) (เกิดราว ค.ศ. 1255-ค.ศ. 1260 -- เสียชีวิตราว ค.ศ. 1318-ค.ศ. 1319) เป็นจิตรกรที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งของประเทศอิตาลี เกิดที่เซียนนาในแคว้นทัสเคนี วัสดุที่ดุชโชใช้วาดส่วนใหญ่เป็นสีฝุ่นผสมไข่ (tempera) หัวข้อที่วาดเช่นเดียวกับศิลปินสมัยนั้นจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับคริสต์ศาสนา ดุชโชมีอิทธิพลต่อซิโมเน มาร์ตินิ พี่น้อง อัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติ และ เปียโตร ลอเร็นเซ็ตติ และอื่นๆ งานของดุชโชก็ได้แก่ “พระแม่มารีรูเชลไล” (Madonna Rucellai) ที่เขียนเมื่อ..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและดุชโช · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีนากอมเมเดีย

ีวีนากอมเมเดีย (Divina Commedia; Divine Comedy) หรือไตรภูมิดันเต เป็นวรรณกรรมอุปมานิทัศน์ที่ดันเต อาลีกีเอรี เขียนขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและดีวีนากอมเมเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ความตายของโพรคริส (โคสิโม)

วามตายของโพรคริส หรือ ซาไทร์โศรกเศร้ากับความตายของโพรคริส (The Death of Procris หรือ A Satyr mourning over a Nymph) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่มิได้ลงชื่อลงวันที่ที่ระบุว่าเขียนได้อย่างแน่นอนว่าโดยเปียโร ดิ โคสิโม ผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในสหราชอาณาจักร ภาพ “ความตายของโพรคริส” ที่เขียนโดยเปียโร ดิ โคสิโม ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1510 เป็นภาพที่มีเนื้อหาที่ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ชื่อภาพ “ความตายของโพรคริส” (Morte di Procri) เป็นชื่อที่ใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เชื่อกันว่าเป็นภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจจากตำนานเกี่ยวกับความตายของโพรคริสด้วยน้ำมือของสามีเซฟาลัสใน “มหากาพย์เมตะมอร์ฟอร์ซิส” VII ที่เขียนโดยโอวิด แต่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนไม่ยอมรับชื่อนี้และจะเรียกชื่อภาพว่า “A Mythological Subject” หรือ “ซาไทร์โศรกเศร้ากับความตายของโพรคริส” แม้จะเป็นภาพที่ไม่ทราบเนื้อหาที่แน่นอนที่เป็นภาพของซาไทร์กำลังโศรกเศร้าอาลัยอยู่กับร่างของสตรี แต่ก็เป็นภาพที่เป็นที่นิยมกันที่สุดในบรรดางานเขียนของเปียโร ดิ โคสิโม นักประวัติศาสตร์ศิลป์ เออร์วิน พานอฟสกีหลงมนตร์เสน่ห์ของภาพเพราะ “ความแปลกอันดึงดูดที่กำจายออกมาจากภาพ” และผู้ออกความเห็นผู้อื่นกล่าวว่าเป็นภาพที่มี “บรรยากาศเป็นหมอกมัวเหมือนกึ่งฝัน”Rose-Marie Hagen, Rainer Hagen.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและความตายของโพรคริส (โคสิโม) · ดูเพิ่มเติม »

คันทวย

ผังคันทวยไม้ที่ Yingzao Fashi จากตำราการก่อสร้าง คันทวย หรือ ทวย (corbel) คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ระเบียง หรือ หลังคาของสิ่งก่อสร้าง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและคันทวย · ดูเพิ่มเติม »

คณะดอมินิกัน

ณะนักเทศน์ (Order of Preachers; Ordo fratrum Praedicatorum) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า คณะดอมินิกัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและคณะดอมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

งานโมเสก

งานโมเสก (Mosaic.) เป็นศิลปะการตกแต่งด้วยชิ้นแก้ว, หิน, หรือกระเบื้องชิ้นเล็กๆ ซึ่งใช้เป็นการตกแต่งภายในเช่นภายในมหาวิหาร การตกแต่งลวดลายหรือภาพทำจากชิ้นกระเบื้องหรือเศษจากเครื่องปั้นดินเผาที่เรียกว่า “tesserae” หรือ กระจกสี หรือแก้วใสเคลือบด้วยโลหะข้างหลัง งานโมเสก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและงานโมเสก · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลกอนซากา

ตราอาร์มของดัชชีแห่งมานตัว ตระกูลกอนซากา (House of Gonzaga) เป็นตระกูลที่ปกครองมานตัวทางตอนเหนือของอิตาลีระหว่าง..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตระกูลกอนซากา · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลเอสเต

ตราอาร์มของตระกูลเอสเต ตระกูลเอสเต (House of Este) เป็นตระกูลของยุโรปที่แบ่งเป็นสองสาย สายอาวุโสคือ “เวลฟ-เอสเต” หรือ ตระกูลเวลฟ และสายรอง “ฟุลค์-เอสเต” (Fulc-Este) หรือที่มาเรียกว่า “ตระกูลเอสเต” ทั้งสองตระกูลเกี่ยวข้องกับตระกูลเว็ตติน (House of Wettin) ซึ่งเป็นตระกูลเก่าที่มีอายุแปดร้อยปี สายอาวุโสของตระกูลเอสเตตระกูลเวลฟเป็นต้นตระกูลของดยุคแห่งบาวาเรีย (ค.ศ. 1070–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1156–ค.ศ. 1180), ดยุคแห่งดยุคแห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1138–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1142–ค.ศ. 1180), พระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนี (ค.ศ. 1198–ค.ศ. 1218) และที่มีอิทธิพลในประวัติศาสตร์มากที่สุด, ดยุคแห่งบรันสวิคและลืนเนอเบิร์ก (ค.ศ. 1208–ค.ศ. 1918) ผู้ต่อมาเป็น “เจ้าชายอีเล็คเตอร์แห่งฮาโนเวอร์” ซึ่งเป็นตำแหน่งสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อสองสายของตระกูลกลับมารวมตัวกันอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตระกูลเอสเต · ดูเพิ่มเติม »

ตรีเอกภาพ

จิตรกรรมฝาผนัง “ตรึเอกภาพ” โดยลูคา โรสเซ็ทที (Luca Rossetti) แสดงให้เห็นพระเจ้าพระบิดา (พระยาห์เวห์) พระเจ้าพระบุตร (พระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ในรูปของนกพิราบ (ค.ศ. 1738-ค.ศ. 1739) ที่โบสถ์เซนต์กอเซนซิโอ ที่เมื่องอิฟเรีย ใกล้ตูริน ตรีเอกภาพ (ศัพท์โรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) หรือ ตรีเอกานุภาพ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Trinity) คือภาวะที่พระเป็นเจ้าพระองค์เดียวเป็นเอกภาพ แต่ปรากฏเป็นสามพระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร (เชื่อว่ามาเกิดเป็นพระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 เทววิทยาศาสนาคริสต์ทั้งทางตะวันออกและตะวันตกยอมรับว่า “ในพระเจ้าเดียว มีสามพระบุคคล” สามสิ่งนี้ต่างบุคคลกันแต่มีธรรมชาติเดียวคือความเป็นพระเจ้า ทางปรัชญายังกล่าวต่อไปว่าพระบุตรหรือพระเยซูมีสองธรรมชาติรวมอยู่ในบุคคลเดียวกัน คือความเป็นพระเจ้าและขณะเดียวกันก็เป็นมนุษย์ (hypostatic union) ความเชื่อเรื่อง “ตรีเอกภาพ” เรียกว่า “ตรีเอกภาพนิยม” คริสตจักรเกือบทุกคริสตจักรในคริสต์ศาสนามีความเชื่อแบบ “ตรีเอกภาพนิยม” และถือว่าเป็นรากฐานของคำสอนของคริสต์ศาสนาHarris, Stephen L. (1985) Understanding the Bible Palo Alto: Mayfield.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตรีเอกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสิบราตรี

ตำนานสิบราตรี (The Decameron, Il Decamerone) เป็นจุลนวนิยาย (novella) ร้อยเรื่องที่เขียนโดยโจวันนี บอกกัชโช นักประพันธ์ชาวอิตาลี ที่อาจจะเริ่มราวปี ค.ศ. 1350 และจบลงในปี ค.ศ. 1353 “ตำนานสิบราตรี” เป็นหนังสือที่เขียนเป็นอุปมานิทัศน์ที่เป็นเรื่องราวของความรักแบบต่างๆ ตั้งแต่รักที่ยั่วยวนไปจนถึงรักที่จบลงด้วยโศกนาฏกรรม บางท่านก็เชื่อว่าบางส่วนของหนังสือได้รับอิทธิพลมาจาก “ตำราแห่งความรัก” (The Book of Good Love) โดย ฆวน ราอูส “ตำนานสิบราตรี” มีอิทธิพลต่องานประพันธ์และงานจิตรกรรมต่อมาอีกมากเช่น “ตำนานแคนเตอร์บรี” โดยเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ หรือ “เริ่มดีจบดี” (All's Well That Ends Well) โดยวิลเลียม เชกสเปียร์ ที่มีรากฐานมาจากเล่มสามเรื่องที่เก้า หรือโคลง “อิสาเบลลาและกระถางใบโหระพา” (Isabella, or the Pot of Basil) โดยจอห์น คีตส์ ที่มาจากเรื่องของลิสาเบ็ตตา ชื่อเรื่องมาจากคำภาษากรีกสองคำผสมกัน “δέκα” หรือ “déka” ที่แปลว่า “สิบ” และ “ἡμέρα” หรือ “hēméra” ที่แปลว่า “วัน”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตำนานสิบราตรี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานทอง

''Legenda Aurea'', 1290 circa, Biblioteca Medicea Laurenziana, Florence ภาพนักบุญจอร์จ ฆ่ามังกรเป็นเรื่องหนึ่งที่รวบรวมในตำนานทอง ภาพนักบุญคริสโตเฟอร์แบกพระเยซูข้ามแม่น้ำ โดยคอนราด วิทซ-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง นักบุญมาร์กาเร็ตแห่งอันติโอก ดึงดูดความสนใจนายทหารโรมัน โดย ฌอง โฟเคท์ (Jean Fouquet) จากหนังสือวิจิตร (Illuminated manuscript) “การพลีชีพของนักบุญไพรมัส และนักบุญเฟลิซิอานัส” จากตำนานทองของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ภาพนักบุญแอนดรูว์ผู้ที่ถูกตรึงกางเขนบนกางเขนเอ็กซ์-หนึ่งในนักบุญในตำนานทอง ตำนานทอง (Legenda Aurea) เป็นตำนานชีวิตนักบุญที่รวบรวมราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตำนานทอง · ดูเพิ่มเติม »

ตินโตเรตโต

“ทินโทเร็ตโต” (ค.ศ. 1588) โดย ทินโทเร็ตโต ทินโทเรตโต หรือ จาโคโป ทินโทเรตโต (Tintoretto หรือ Jacopo Comin หรือ Jacopo Tintoretto; 29 กันยายน ค.ศ. 1518 — 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1594) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนสซองซ์แบบเวนิสคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และอาจจะถือว่าเป็นจิตรกรคนสุดท้ายของเรอเนสซองซ์อิตาลี ทินโทเรตโตเติบโตในเวนิส ภาพวาดมากมายของเขาถูกแสดงลักษณะอย่างหนักแน่นโดยชีวิตและประเพณีต่างๆ ของราชินีแห่งทะเลอาเดรียติก จิตรกรได้ชื่อเล่นของเขาจากความสูงน้อยของเขาและจากการค้าของพ่อเขา เขาเป็นบุตรชายของคนย้อมผ้า และชื่อของเขาหมายถึง “คนย้อมผ้าน้อย” แต่ชื่อเล่นถ่อมตัวนี้เป็นนามแฝงซึ่งทำให้เขากลายเป็นมีชื่อเสียง เขามีแรงกระตุ้นที่สร้างสรรค์และวาดภาพใหญ่ๆ ทินโทเรตโตเป็นที่รู้จักกันในชื่อจาโคโป โรบัสติ (Jacopo Robusti) เมื่อยังหนุ่ม เพราะพ่อของทินโทเรตโตป้องกันประตูเมืองปาดัวจากทหารหลวงอย่างค่อนข้างจะไม่เหมือนใคร นามสกุลจริงของทินโทเรตโตคือ “Comin” ซึ่งเพิ่งพบโดยมิเกล ฟาโลเมียผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ปราโดที่มาดริดเมื่อเร็วๆ นี้ “Comin” มาจากคำว่า “cumin” ซึ่งเป็นชื่อของเครื่องเทศ ทินโทเรตโตได้ชื่อว่า “Il Furioso” จากความที่วาดภาพอย่างรวดเร็วและเต็มไปด้วยพลัง การใช้ช่องว่างและแสงสีทำให้ถือกันว่าทินโทเรตโตเป็นผู้นำทางศิลปะแบบบาโรก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและตินโตเรตโต · ดูเพิ่มเติม »

ฉากประดับแท่นบูชา

ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) คือภาพหรืองานแกะสลักนูนที่เป็นภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนาที่แขวนหน้าแท่นบูชา ฉากแท่นบูชามักจะประกอบด้วยแผงสองหรือสามแผง ประกอบกันที่เรียกว่า “จิตรกรรมแผง” และมักจะเรียกว่า “บานพับภาพ” ซึ่งอาจจะเป็นสองหรือสามบานหรือมากกว่านั้น บางครั้งฉากแท่นบูชาอาจจะเป็นกลุ่มประติมากรรม บางครั้งฉากแท่นบูชาก็อาจจะตั้งบนแท่นบูชา ถ้าแท่นบูชาเป็นแท่นลอยที่มองได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลังก็จะมีฉากแท่นบูชาได้ทั้งสองด้าน นอกจากนั้นก็ยังอาจจะตกแต่งด้วยภาพเขียนฉากกางเขนหรือชั้นแท่นบู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฉากประดับแท่นบูชา · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี

ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี (Portinari-triptiek; Trittico Portinari; Portinari Altarpiece) เป็นบานพับภาพที่เขียนโดยฮือโค ฟัน เดอร์คุส จิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวดัตช์ของตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟีซี เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ฟัน เดอร์คุสเขียนภาพ "ฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี" ราวปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพการชื่นชมของคนเลี้ยงแกะ เป็นงานที่ได้รับจ้างสำหรับวัดโรงพยาบาลซานตามารีอานูโอวาในฟลอเรนซ์โดยนายธนาคารชาวอิตาลี ตอมมาโซ ปอร์ตีนารี ที่พำนักอยู่ที่เมืองบรูชเป็นเวลากว่าสี่สิบปีในฐานะผู้แทนของธนาคารเมดีชีของตระกูลเมดีชี ปอร์ตีนารีเองปรากฏในแผงซ้ายของฉากแท่นบูชากับลูกชายสองคน คือ อันโตนีโอและปีเจลโล ส่วนมารีอา ดี ฟรันเชสโก บารอนเชลลี (ภรรยา) กับมาร์การีตา (ลูกสาว) อยู่บนแผงขวา ทุกคนในภาพมีนักบุญผู้พิทักษ์ของแต่ละคน (ยกเว้นปีเจลโล) กล่าวคือ บนแผงซ้ายเป็นนักบุญทอมัสอัครสาวกถือหอกและนักบุญแอนโทนีอธิการถือกระดิ่ง บนแผงซ้ายนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาถือผอบน้ำมันหอม และนักบุญมาร์กาเรตแห่งแอนติออกถือหนังสือและมีมังกรที่เท้า แผงกลางประกอบด้วยคนเลี้ยงแกะสามคนคุกเข่าทำความเคารพพระบุตร ฟัน เดอร์คุสเขียนฉากบ้าน ๆ อย่างเป็นจริงเป็นจังและได้บรรยากาศ นอกจากนั้นในภาพก็มีเทวดาที่ลอยอยู่เหนือและที่คุกเข่ารอบพระแม่มารีและพระบุตรผู้ที่มิได้นอนในกองฟางแต่นอนอยู่กลางลานโดยมีรัศมีรอบ การเขียนที่มีลักษณะแปลกเช่นนี้อาจจะเขียนตามทิพยทัศน์ของนักบุญบริจิตแห่งสวีเดนก่อนที่จะเสียชีวิตที่บรรยายถึงการเห็นแสงสว่างส่องออกมาจากร่างของพระบุตร แจกันดอกไม้ ในฉากหลัง ฟัน เดอร์คุสเขียนฉากที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลัก กล่าวคือ บนแผงซ้ายฉากหลังเป็นภาพนักบุญโจเซฟพาพระแม่มารีผู้ทรงครรภ์เดินทางหนีไปอียิปต์; แผงกลางทางด้านขวาเป็นภาพเทวดาที่ประกาศข่าวการกำเนิดของพระเยซูแก่คนเลี้ยงแกะ และแผงขวาเป็นภาพการเดินทางของแมไจสามคนมายังเบทเลเฮม ด้านหน้าของภาพเป็นภาพนิ่งขนาดเล็กของแจกันดอกไม้สองแจกันและข้าวสาลีกำมือหนึ่ง (ซึ่งหมายถึงเบทเลเฮม "เมืองแห่งขนมปัง") ที่อาจจะเป็นนัยถึงศีลมหาสนิทหรือทุกขกิริยาของพระเยซู กำข้าวสาลีอาจจะหมายถึงพระกระยาหารมื้อสุดท้าย ที่พระเยซูแบ่งขนมปังกับอัครสาวก ดอกลิลลีสีส้มในแจกันเป็นสัญลักษณ์ของทุกขกิริยาของพระเยซูที่จะมาถึง ดอกไอริสสีขาวเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ ขณะที่ดอกไอริสสีม่วงและก้านดอกแอควิลีเจีย (Aquilegia caerulea) เป็นสัญลักษณ์ของความเศร้าเจ็ดอย่างของพระแม่มารี (Seven sorrows of the Virgin) ฉะนั้นภาพการกำเนิดนี้จึงเป็นภาพที่เป็นเหตุการณ์ที่จะนำมาซึ่งความตายของพระเยซูในที่สุด เมื่องานชิ้นนี้ไปถึงฟลอเรนซ์ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและฉากแท่นบูชาปอร์ตีนารี · ดูเพิ่มเติม »

ซันตาตรีนีตา

ซันตาตรีนีตา หรือโบสถ์พระตรีเอกภาพ (Santa Trinita; Church of the Holy Trinity) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นสถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ โบสถ์ซันตาตรีนีตาเป็นโบสถ์แม่คณะวัลลุมโบรซัน (Vallumbrosan Order) ที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1092 โดยขุนนางชาวฟลอเรนซ์ งานศิลปะที่มีชื่อเสียงและสำคัญที่สุดภายในวัดเป็นงานจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลซาสเซ็ตติ (Sassetti Chapel) โดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาผู้ถือกันว่าเป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซันตาตรีนีตา · ดูเพิ่มเติม »

ซันซักกาเรีย เวนิส

ซันซักกาเรีย เวนิส (San Zaccaria) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์ที่อุทิศแก่นักบุญเศคาริยาห์ผู้เป็นบิดาของนักบุญยอห์นผู้ให้รับบัพติสมาและเชื่อกันว่าเป็นที่ฝังศพของนักบุญเศคาริยาห์องด้วย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบผสมระหว่างกอธิค และ ฟื้นฟูศิลปวิทยาที่สร้างระหว่าง ค.ศ. 1444 ถึง ค.ศ. 1515 โดยมีอันโตนิโอ กัมเบลโลเป็นสถาปนิกเอกแต่ด้านหน้าสร้างโดยมอโร โคดุซซิ โบสถ์เดิมสร้างโดยดยุกจุสตินาโน พาร์ติชิอาโนในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โบสถ์ซันซักกาเรียเป็นที่ฝังศพของดยุกแห่งเวนิส 8 องค์ วัดโรมาเนสก์เดิมมาได้รับการสร้างใหม่เมื่อราวคริสต์ทศวรรษ 1170 เมื่อมีการสร้างหอระฆังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน และมาสร้างเป็นแบบกอธิคในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ตัววัดตั้งติดกับอารามของคณะเบเนดิกตินที่ดยุกแห่งเวนิสมาทำพิธีเทศกาลอีสเตอร์ประจำปีทุกปีที่รวมทั้งพิธีการมอบหมวกดยุก (cornu) ด้วย ซึ่งเป็นพิธีที่เริ่มขึ้นหลังจากนักบวชจากโบสถ์มอบที่ดินสำหรับการขยายจตุรัสซันมาร์โกในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ภายในตัวโบสถ์เป็นมุขโค้งด้านสกัดที่ล้อมด้วยจรมุขประดับด้วยหน้าต่างกอธิคสูง ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบตอนเหนือของยุโรปโดยทั่วไป ซึ่งกลายมาเป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์นี้ใน เวนิส ผนังทางด้านทางเดินประดับด้วยภาพเขียนโดยทินโทเรตโต อันเจโล เทรวิซานี จุยเซปเป ซาลวิอาติ โจวันนี เบลลินี อันโตนีโอ บาเลสตรา, โจวันนี โดเมนนิโก ตีเอโพโล, พาลมาผู้อาวุโส และ แอนโทนี แวน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซันซักกาเรีย เวนิส · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดร บอตตีเชลลี

ซานโดร บอตติเซลลี อเลสซานโดร ดี มาริอาโน ดี วานนี ฟิลิเปปิ หรือ ซานโดร บอตติเชลลี หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า บอตติเชลลี (Alessandro di Mariano di Vanni Filipepi หรือ Sandro Botticelli เรียกย่อว่า Il Botticello; 1 มีนาคม ค.ศ. 1444 (พ.ศ. 1987/88) - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1510(พ.ศ. 2053) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีแห่งตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้น เพียงไม่ถึงร้อยปึต่อมาวิธีการเขียนตระกูลนี้ (ภายใต้การอุปถัมภ์ของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ) ก็ถูกจัดโดยจอร์โจ วาซารีให้เป็น “ยุคทอง” ในบทนำของหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ของชีวประวัติของบอตติเชลลี ชื่อเสียงของบอตติเชลลีได้รับความเสียหายหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาบอตติเชลลีก็ได้รับความนับถือว่าเป็นจิตรกรฝีมือดีของสมัยเรอเนสซองซ์ตอนต้นของอิตาลีหรือสมัยที่เรียกกันในภาษาอิตาลีว่า “ควัตโตรเชนโต” ผลงานที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของงานเขียนแบบฟลอเรนซ์ก็ได้แก่ “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซันโดร บอตตีเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ซากรากอนแวร์ซาซีโอเน

ซากรากอนแวร์ซาซีโอเน (Sacra conversazione; Holy Conversation/Sacred Conversation) การสนทนาอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นชื่อศิลปะศาสนาคริสต์แบบหนึ่ง ที่เป็นที่นิยมกันในประเทศอิตาลีซึ่งองค์ประกอบของภาพจะมีแม่พระและพระกุมาร ท่ามกลางเหล่าเซนต์ ลักษณะองค์ประกอบที่ว่านี้เริ่มวาดกันในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่มาแทนบานพับภาพที่องค์ประกอบมีส่วนสัมพันธ์แบบทัศนียภาพกับช่องว่างภายในภาพ ตัวอย่างงานชิ้นแรก ๆ ที่ใช้การเขียนลักษณะนี้ก็ได้แก่งานของปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา หรืองานของฟราอันเจลีโก หรือฟีลิปโป ลิปปี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซากรากอนแวร์ซาซีโอเน · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก. 5:3;ยน.1:44) แต่ว่าต่อมาได้ย้ายมาตั้งหลักแหล่งที่เมืองคาร์เปอร์นาอุม (มก. 1: 21.29) นักบุญอันดรูว์ น้องชายของท่านได้เป็นคนแนะนำให้ท่านติดตามพระเยซู (ยน. 1:42) และอาจเป็นนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาที่ได้เป็นผู้ตระเตรียมจิตใจของท่านสำหรับการพบปะครั้งสำคัญของท่านกับพระเยซู พระเยซูทรงได้เปลี่ยนชื่อท่านใหม่ว่าเปโตร ซึ่งแปลว่า "ศิลา" (มธ. 16: 17-19) ครั้งหนึ่งพระเยซูตรัสถามท่านว่า "ท่านคิดว่าเราเป็นใคร" และเปโตรได้ทูลว่า "พระองค์คือพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า" พระเยซูจึงตรัสว่า "เราจะตั้งเราเป็นหัวหน้าแทนท่าน ทั้งจะมอบกุญแจอาณาจักรสวรรค์" (มธ. 16: 15-19) สัญลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดในภาพคือ มือของท่านมีลูกกุญแจ เปโตรเป็นพยานบุคคลผู้หนึ่งที่ได้แลเห็นพระคูหาว่างเปล่าของพระอาจารย์ (ยน. 20:6) และได้เห็นการคืนพระชนม์ของพระเยซู (ลก. 23:34) หลังจากที่พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว ท่านก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำบรรดาคริสตชน (กจ. 1: 15; 15:7) ได้กล่าวสรุปข่าวดี (พระวรสาร) (กจ. 2:14-41) และท่านเองเป็นคนแรกที่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปิดคริสตจักรไปสู่พวกคนต่างชาติ (กจ.10-11) เปโตรเขียนจดหมาย 2 ฉบับที่ทรงคุณค่าอย่างมากคือ 1 และ 2 เปโตร ท้ายที่สุดเปโตรได้เสียสละชีวิตเพื่อพระเยซูตามคำทำนายของพระองค์ (ยน 21.18-19) ภารกิจด้านวิญญาณที่ได้รับมอบหมายมิใช่ว่าจะช่วยให้ท่านหมดจากสภาพของความเป็นคนหรือจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางอารมณ์ก็หาไม่ (มธ.10: 41; 14:26,66-72; ยน. 13: 6;18:10; มธ. 14: 29-31) เปาโลอัครทูตเองก็มิได้ลังเลใจแต่อย่างใดที่จะพูดจาต่อว่าท่านเวลาที่พบกันที่เมืองแอนติออก (กจ.15; กท. 2:11-14) เพื่อเชิญชวนท่านว่าไม่ต้องปฏิบัติตามแบบของพวกยิว ในเรื่องนี้รู้สึกว่าเปโตร ยังตัดสินใจช้าและยังถือว่ากลุ่มคริสตชนซึ่งเดิมทีเป็นคนต่างศาสนาก็ยังด้อยกว่าหรือเป็นรองกลุ่มคริสตชนที่เดิมทีเป็นชาวยิว (กจ. 6: 1-2) ต่อเมื่อเปโตรได้มาที่กรุงโรม เมื่อนั้นแหละท่านจึงจะได้กลายเป็นอัครทูตของทุก ๆ คน และได้ทำหน้าที่ของท่านอย่างครบถ้วนคือเป็น "ศิลาหัวมุม" ของคริสตจักรของพระเยซูโดยรวมชาวยิวและคนต่างศาสนาให้เข้ามาอยู่ภายในอาคารเดียวกัน และท่านได้ประทับตราภารกิจหน้าที่นี้ด้วยการหลั่งโลหิตของท่านตามแบบพระอาจารย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าท่านเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ท่านถูกจับตรึงกางเขน และได้ขอร้องให้หันศีรษะท่านลง เพราะคิดว่าไม่สมควรที่จะตายในลักษณะเดียวกับพระเยซูผู้เป็นพระอาจาร.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซีโมนเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมเน มาร์ตีนี

หน้าแรกของ “Virgil” โดย เพทราค (Petrach) หนังสือวิจิตร วาดโดยซิโมเน มาร์ตินิราว ค.ศ. 1336 ปัจจุบันอยู่ที่มิลาน รายละเอียดจิตรกรรมฝาผนังที่ “ทีว่าการเมืองเซึยนนา” ซิโมเน มาร์ตินิ (Simone Martini, ราว ค.ศ. 1284 - ราว ค.ศ. 1344) เป็นจิตรกรสมัยยุคกลางคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ ซิโมเน มาร์ตินิเป็นจิตรกรคนสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนภาพในอิตาลีสมัยต้น มาร์ตินิได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากการวิวัฒนาการของศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic) เชื่อกันว่ามาร์ตินิเป็นลูกศิษย์ของดุชโช ผู้เป็นจิตรกรชาวเซียนนาที่มีความสำคัญในขณะนั้น พี่เขยของมาร์ตินิคือลิบโป เม็มมิ (Lippo Memmi) ผู้เป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงเช่นกัน หลักฐานเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของ มาร์ตินิมีไม่มากนักและที่มีอยู่ก็ยังเป็นการถกเถียงกัน มาร์ตินิเสียชีวิตที่อาวินยองเมื่อไปเป็นจิตรกรประจำราชสำนักพระสันตะปาปาที่นั่นเมื่อราวปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซีโมเน มาร์ตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอนา

มืองเซียนายามค่ำ เซียนา (Siena) อยู่ในแคว้นตอสคานา ประเทศอิตาลี และเป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซียนา ในยุคกลางเซียนาเป็นเมืองคู่แข่งของฟลอเรนซ์ที่มีชื่อเสียงทางศิลปะและสถาปัตยกรรม ใจกลางเมืองเก่าของเซียนาได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและซีเอนา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม

ียนก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้ำเป็นรูปวัวที่ลาส์โกซ์ (Lascaux) ในประเทศฝรั่งเศส ประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม (ภาษาอังกฤษ: History of painting) เริ่มสร้างกันมาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์และเผยแพร่ไปในทุกวัฒนธรรมและทุกที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในโลกจนกระทั่งปัจจุบันนี้ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรที่ 20 จิตรกรรมจะเป็นการเขียนศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art), ศิลปะศาสนา หรือศิลปะคลาสสิก หลังจากนั้นจึงมีการเริ่มเขียนจิตรกรรมที่เป็นแต่เพียงศิลปะนามธรรม (Abstract art) และต่อมาศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปะตะวันตก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและประวัติศาสตร์ของจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติของไม้กางเขนแท้

ูบทความหลักที่ สัตยกางเขน ประวัติของสัตยกางเขน หรือ ตำนานของสัตยกางเขน หรือ (Legend of the True Cross หรือ History of the True Cross) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี “ตำนานของสัตยกางเขน” เป็นงานที่สันนิษฐานกันว่าเขียนก่อนปี ค.ศ. 1447 และเสร็จราวปี ค.ศ. 1466 สำหรับวัดซานฟรานเชสโก, อเรซโซในประเทศอิตาลี เป็นงานเขียนชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและถือกันว่าดีที่สุดของเปียโร และเป็นงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของงานเขียนในสมัยเรอเนซองส์ตอนต้น เนื้อหาของภาพมาจากตำนานที่เป็นที่นิยมกันมากที่ปรากฏในหนังสือ “ตำนานทอง” เกี่ยวกับประวัติของนักบุญที่เขียนโดยจาโคบัส เด โวราจิเน (Jacobus da Varagine) ในคริสต์ศตวรรที่ 13th เป็นเรื่องประวัติความเป็นมาของสัตยกางเขน (True Cross)-ที่เชื่อกันว่าเป็นไม้จากสวนอีเด็นที่นำมาใช้ทำกางเขนที่ใช้ในการตรึงกางเขนของพระเยซู งานชิ้นนี้แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญในการเขียนแบบทัศนียภาพและการใช้สี และในใช้เรขาคณิตในการวางภาพ และการสร้างภาพซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของงานของเปียโตร.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและประวัติของไม้กางเขนแท้ · ดูเพิ่มเติม »

ประตูชัย

ประตูชัย (triumphal arch, arc de tromphe) เป็นสิ่งก่อสร้างมีลักษณะเป็นซุ้มโค้งประดับด้วยประติมากรรม คำจารึก และสิ่งตกแต่งอย่างอื่น กำเนิดในยุคสาธารณรัฐโรมโดยสร้างเพื่อฉลองชัยชนะในการรบแต่ละคราว ตัวอย่างเช่น ประตูชัยของลูชียุส สเตอริตินุส (Lucius Steritinus) สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและประตูชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาลัซโซสกีฟาโนยา

ปาลัซโซสกีฟาโนยา (Palazzo Schifanoia) เป็นวังตั้งอยู่ที่เมืองแฟร์ราราในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในประเทศอิตาลี เป็นวังที่สร้างสำหรับตระกูลเอสเต ชื่อของวัง "Schifanoia" เชื่อกันว่ามาจากคำว่า "Schifanoia" ที่มาจากคำว่า "schivar la noia" ที่แปลว่า "หลบจากความน่าเบื่อ" ซึ่งเป็นคำบรรยายที่ตรงกับความเป็นจริงของจุดหมายในการก่อสร้างแต่เดิม สิ่งที่สำคัญที่สุดที่มีชื่อเสียงของวังนี้คือจิตรกรรมฝาผนังอุปมานิทัศน์ของ "วัฏจักรสิบสองเดือน" (Cycle of the Year) ที่เขียนโดยฟรันเชสโก เดล กอสซา และโกซีโม ตูรา ระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปาลัซโซสกีฟาโนยา · ดูเพิ่มเติม »

ปาลัซโซปุบบลีโก

ปาลัซโซปุบบลีโก (Palazzo Pubblico) เป็นสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์ตั้งอยู่ที่ในเมืองซีเอนา ในแคว้นทัสกานีของประเทศอิตาลี ที่สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1297 จุดประสงค์เดิมของสิ่งก่อสร้างก็เพื่อใช้เป็นตึกที่ทำงานของรัฐบาลของเมืองซีเอนาที่ประกอบด้วยโปเดสตา (Podesta) และสภาเก้าผู้แทน (Council of Nine) ด้านนอกของสิ่งก่อสร้างเป็นตัวอย่างของสิ่งก่อสร้างของยุคกลางของอิตาลีที่มีอิทธิพลของกอทิก ชั้นล่างสร้างด้วยหินและชั้นบนสร้างด้วยอิฐ ด้านหน้าของวังโค้งเว้าเล็กน้อยรอบโค้งนูนของจัตุรัสกัมโพ (Piazza del Campo) ซึ่งเป็นจัตุรัสใหญ่ที่เป็นศูนย์กลางของเมือง หอระฆังมันจา (Torre del Mangia) สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1325 ถึงปี ค.ศ. 1344 ตอนบนออกแบบโดยลิปโป เมมมี หอออกแบบให้สูงกว่าหอของเมืองฟลอเรนซ์คู่อริ และในช่วงเวลานั้นเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในอิตาลี ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ก็มีการติดตั้งนาฬิกาที่ทำด้วยเครื่องกล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปาลัซโซปุบบลีโก · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล อุชเชลโล

"ภาพเหมือนสตรี" (ค.ศ. 1450) โดย ปาโอโล อุชเชลโลที่พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ปาโอโล อุชเชลโล (Paolo Uccello; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Paolo di Dono; ค.ศ. 1397 - 10 ธันวาคม ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และเป็นจิตรกรในบรรดาจิตรกรคนแรก ๆ ที่ใช้ทฤษฎีการเขียนแบบทัศนียภาพ จอร์โจ วาซารี กล่าวใน "ชีวิตศิลปิน" ถึงปาโอโล อุชเชลโลว่าเป็นจิตรกรผู้มีความสนใจอย่างมุ่งมั่นในการเขียนแบบทัศนียภาพและจะนั่งศึกษาเพื่อจะเข้าใจการใช้จุดลับตาหรือจุดอันตรธาน (Vanishing point) อุชเชลโลใช้ทัศนียภาพเพื่อทำให้ภาพมีความลึกในการบรรจุเนื้อหาแทนที่จะต้องเขียนต้องเขียนภาพเป็นชุดหรือต่อเนื่องเป็นฉากๆ อย่างเช่นจิตรกรร่วมสมัย "ยุทธการซานโรมาโน" เป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงที่สุดของปาโอโล อุชเชลโล ซึ่งเดิมสันนิษฐานว่าเป็นภาพ "ศึกซานอีจิดิโอ..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปาโอโล อุชเชลโล · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล เวโรเนเซ

ปาโอโล เวโรเนเซ (Paolo Veronese) หรือ ปาโอโล กาลยารี (Paolo Cagliari; ค.ศ. 1528 - 19 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีที่ทำงานอยู่ในเวนิสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานชิ้นสำคัญของเวโรเนเซก็ได้แก่ "งานแต่งงานที่เคนา" และ "งานเลี้ยงที่บ้านของลีวาย" (The Feast in the House of Levi) เวโรเนเซใช้ชื่อ "ปาโอโล กาลยารี" และมารู้จักกันว่า "ปาโอโล เวโรเนเซ" ตามชื่อเมืองเกิดที่เวโรนาในประเทศอิตาลี เวโรเนเซ, ทิเชียน และตินโตเรตโต เป็นจิตรกรคนสำคัญสามคนของเวนิสในปลายสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เวโรเนเซมีชื่อเสียงในการใช้สีและการเขียนตกแต่งแบบลวงตาทั้งในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานเขียนสำคัญของเวโรเนเซเป็นงานเขียนที่เต็มไปด้วยนาฏกรรมและการใช้สีแบบจริตนิยม (mannerist) เต็มไปด้วยฉากสถาปัตยกรรมและขบวนที่หรูหรา งานเขียนชิ้นใหญ่ของงานเลี้ยงฉลองในคัมภีร์ไบเบิลที่เขียนสำหรับหอฉัน (refectory) ของสำนักสงฆ์ในเวนิสและเวโรนาเป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่ควรจะกล่าวถึง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปาโอโล เวโรเนเซ · ดูเพิ่มเติม »

ปาโดวา

แพดัว (Padua) หรือ ปาโดวา (Padova) เป็นเมืองในแคว้นเวเนโตที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี แพดัวเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแพดัว และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการโทรคมนาคมของบริเวณนี้ แพดัวมีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 212,500 คน บางครั้งแพดัวก็รวมเป็นส่วนหนึ่งของเวนิส ภายในปริมณฑลแพดัว-เวนิส ปริมณฑลซึ่งทำให้มีประชากรรวมกันทั้งสิ้นประมาณ 1,600,000 คน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปาโดวา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ

ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอตะ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ ปีเอตะ ปีเอตะ (ภาษาอังกฤษ: Pietà) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันภาพสุดท้ายที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอแสดงภาพอัคคาเดเมียที่เวนิสในประเทศอิตาลี “ปีเอตะ” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอตะ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร ดี โกซีโม

ปียโร ดิ โคสิโม (ภาษาอังกฤษ: Piero di Cosimo) (2 มกราคม ค.ศ. 1462 - 12 เมษายน ค.ศ. 1522) เป็นจิตรกรรมสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน เปียโร ดิ โคสิโมเกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1462 ที่ ฟลอเรนซ์ ในประเทศอิตาลี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1522 เปียโรเป็นลูกของช่างทองและฝึกงานภายใต้โคสิโม โรสเสลิ (Cosimo Rosseli) ผู้ที่เปียโรได้รับนาม และเป็นผู้ช่วยในการวาดภาพที่ชาเปล ในปี ค.ศ. 1481 เปียโรเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโร ดี โกซีโม · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา

ระเยซูคืนชีพ” (Resurrection) รายละเอียดจากภาพประวัติของสัตยกางเขน พระเยซูคืนชีพ เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา (ภาษาอังกฤษ: Piero della Francesca) (ราว ค.ศ. 1412 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง นอกจากจะเป็นจิตรกรแล้ว เปียโร เดลลา ฟรานเชสกาก็ยังเป็นนักคณิตศาสตร์และนักเรขาคณิต ลักษณะของภาพเขียนจะสงบและการใช้รูปเรขาคณิตโดยเฉพาะการเขียนแบบทัศนียภาพและการเขียนภาพลึกบนผนังแบนเรียบ (foreshortening) งานส่วนใหญ่ของเดลลา ฟรานเชสกาอยู่ที่เมืองอเรซโซในแคว้นทัสเคนี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร กาวัลลีนี

ปียโตร คาวาลลินิ (Pietro Cavallini) (ราว ค.ศ. 1250 - ราว ค.ศ. 1330) เป็นจิตรกรศิลปะกอธิคของยุคกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมและออกแบบงานโมเสก ประวัติชีวิตของคาวาลลินิไม่เป็นที่ทราบกันเท่าใดนัก แต่ที่ทราบคือทำงานอยู่ที่กรุงโรม งานชิ้นแรกที่สำคัญของคาวาลลินิคืองานโมเสกชุดสำหรับมหาวิหารเซนต์พอลนอกกำแพงในกรุงโรมที่เป็นเรื่องราวจาก with stories from the พันธสัญญาเดิม และ พันธสัญญาใหม่ที่สร้างระหว่าง..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโตร กาวัลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร อาเรตีโน

ปีเอโตร อาเรตีโน (Pietro Aretino; 20 เมษายน ค.ศ. 1492 - 21 ตุลาคม ค.ศ. 1556) เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทละครชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 อาเรตีโนเป็นผู้ที่มีอิทธิพลเป็นอันมากต่อศิลปะและการเมืองร่วมสมัยและได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มเรื่องเร้ากามารมณ์ (pornography) ทางวรรณกรรมของสมัยใหม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโตร อาเรตีโน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร โลเรนเซตตี

ปีเอโตร โลเรนเซตตี (Pietro Lorenzetti หรือ Pietro Laurati) (ราว ค.ศ. 1280 - ค.ศ. 1348) เป็นจิตรกรสมัยกอธิคชาวอิตาลีของตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนนาในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมแผง ปีเอโตร โลเรนเซตตีเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1280 ที่ เซียนนา ในประเทศอิตาลี และเสียชีวิตด้วยกาฬโรคเช่นเดียวกับอัมโบรจิโอ ลอเร็นเซ็ตติน้องชายที่เป็นจิตรกรเช่นกันเมื่อปี ค.ศ. 1348 ที่เซียนนา ปีเอโตรเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่จอร์โจ วาซารีลงบันทึกไว้ในหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ปีเอโตรมีผลงานราวระหว่าง ปี ค.ศ. 1306 ถึงปี ค.ศ. 1345.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโตร โลเรนเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร เปรูจีโน

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1497–1500) เปียโตร เปรูจิโน (Pietro Perugino; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Pietro Vannucci, ค.ศ. 1446 - ค.ศ. 1524) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและปีเอโตร เปรูจีโน · ดูเพิ่มเติม »

นรก

แสดงนรก วาดโดย Herrad von Landsberg นรก (สันสกฤต: นรก; บาลี: นิรย; อาหรับ: นารฺ, ญะฮีม, ญะฮันนัม, สะก็อร; อังกฤษ hell) หมายถึง ภพหนึ่งในคติของศาสนาต่าง ๆ เช่น อิสลาม, คริสต์, พุทธและยูดาห์ อันเป็นสถานที่ตอบแทนความชั่วของมนุษย์ที่ได้ทำไปเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนรก · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรม

นักบุญเจอโรม หรือ นักบุญเยโรม (Jerome; Eusebius Sophronius Hieronymus; Ευσέβιος Σωφρόνιος Ιερώνυμος) เป็นบาทหลวงชาวโรมัน เกิดเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนักบุญเจอโรม · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา)

นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันโตเนลโล ดา เมสสินาจิตรกรคนสำคัญสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอนในอังกฤษ อันโตเนลโล ดา เมสสินาเขียนภาพ “นักบุญเจอโรมในห้องศึกษา” ระหว่างปี ค.ศ. 1474 ถึงปี ค.ศ. 1475 ระหว่างที่ไปพำนักอยู่ในเวนิสที่อาจจะเป็นภาพของอันโตนิโอ พาสคาลิโน left ภาพนี้เป็นภาพเขียนที่มีขนาดเล็กเป็นภาพของนักบุญเจอโรมกำลังทำงานอยู่ในห้องที่ไม่มีผนังและเพดานก็ดูจะมีลักษณะของประตูชัยซึ่งอาจจะเป็นลักษณะของคริสต์ศาสนสถานแบบอารากอน ภาพนี้ก็เช่นเดียวกับภาพอื่นของเมสสินาที่เต็มไปด้วยรายละเอียดที่คล้ายกับศิลปะเฟล็มมิชที่รวมทั้งหนังสือ สัตว์ สิ่งของที่เขียนอย่างละเอียดและตรงตามความจริงที่เห็นได้ด้วยการมองด้วยตา (optical truth) แสงในภาพนี้ตัดกันพอดีตรงส่วนบนและมือของนักบุญ สิ่งที่น่าสังเกตอีกอย่างหนึ่งคือภูมิทัศน์เมดิเตอเรเนียนนอกหน้าต่างสองด้านของห้อง สัตว์ในภาพก็มี ไก่ฟ้าและนกยูงตรงด้านหน้าของภาพ และแมวและสิงห์โตในเงาด้านขวาของ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนักบุญเจอโรมในห้องศึกษา (เมสสินา) · ดูเพิ่มเติม »

นักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน)

นักปรัชญาสามคน (The Three Philosophers, I tre filosofi) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยจอร์โจเนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนาในประเทศออสเตรีย ภาพ “นักปรัชญาสามคน” เขียนเสร็จราวระหว่างปี ค.ศ. 1505 ถึงปี ค.ศ. 1509 ให้แก่ขุนนางชาวเวนิสชื่อทัดดิโอ คอนตารินิ ภาพ “นักปรัชญาสามคน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จเพียงปีเดียวก่อนที่จอร์โจเนจะเสียชีวิตและเป็นภาพเขียนภาพหนึ่งในบรรดาภาพเขียนสุดท้ายที่เขียน ที่เป็นภาพของนักปรัชญาสามคนที่มีอายุต่างกันและต่างเชื้อชาติกันที่ตามดาวเพื่อจะหาพระเยซูผู้ที่เพิ่งมาประสูติ แต่บุคคลสามคนนี้มาจากคนละสมัย ชายหนุ่มเป็นสัญลักษณ์ของยุคเรอเนซองส์ ชายกลางคนมาจากอาราเบีย ชายสูงอายุเป็นสัญลักษณ์ของยุคกลาง ทั้งสามคนยืน/นั่งอยู่ในป่าที่มีฉากหลังเป็นเมือง ชื่อของภาพมาจากบทเขียนของมาร์คันโตนิโอ มิคิเอลผู้เห็นภาพเขียนนี้ในคฤหาสน์ในเวนิส แต่ที่เห็นได้ชัดคือชายสามคนนี้เป็นอุปมานิทัศน์ ชายหนุ่มที่นั่งอยู่ดูเหมือนจะนั่งสังเกตถ้ำและดูจะพยายามวัดด้วยอุปกรณ์สักอย่าง นักวิชาการบางท่านก็ตีความหมายว่าไม่ใช้แมไจสามคนที่มองไปยังถ้ำที่เกิดของพระเยซู แต่เป็นสัญลักษณ์ของความคิดสามปรัชญา: ยุคเรอเนซองส์คือชายหนุ่ม, อาราเบียคือชายกลางคน และยุคกลางคือชายสูงอายุ แต่นักวิชาการผู้อื่นกล่าวว่าเป็นอุปมานิทัศน์ของอายุสามระดับของมนุษ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนักปรัชญาสามคน (จอร์โจเน) · ดูเพิ่มเติม »

นิมฟ์

''เฮรัสและนิมฟ์'' โดย จอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์, ค.ศ. 1896 ตามตำนานเทพปกรณัมกรีก นิมฟ์ (nymph) คือสตรีที่เป็นร่างตัวแทนของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นร่างที่ยึดติดกับสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรือเป็นผู้ติดตามของเหล่าทวยเทพ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะตกเป็นเป้าหมายของเหล่าซาไทร์ (satyr) ตัณหาจัด วอลเตอร์ เบอร์เคิร์ต (Walter Burkert) กล่าวว่า "ความคิดที่ว่าแม่น้ำคือเทพเจ้า และน้ำพุคือนิมฟ์นั้น ไม่ได้เป็นแค่ความนึกคิดของนักกวี หากแต่ยังเป็นถึงความเชื่อและพิธีกรรมอีกด้วย การบูชาเทพเจ้าเหล่านี้ถูกจำกัดอยู่เพียงสถานที่หนึ่งที่ใดที่พวกเขาไม่สามารถแยกออกจากสถานที่แห่งนั้นได้" นิมฟ์นับเป็นบุคคลาธิษฐานของการสรรสร้างของธรรมชาติ ซึ่งบ่อยครั้งมักใช้เป็นสัญลักษณ์ของน้ำ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนิมฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคโคโล ดา โทเล็นทิโน

นิคโคโล มอรุซซิ หรือที่รู้จักกันดีว่า นิคโคโล ดา โทเล็นทิโน (Niccolò da Tolentino หรือ Niccolò Mauruzzi) (ราว ค.ศ. 1350 – 20 มีนาคม ค.ศ. 1435) เป็นทหารรับจ้างหรือคอนดตติเอเรชาวอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนิคโคโล ดา โทเล็นทิโน · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ปูแซ็ง

นีกอลา ปูแซ็ง (Nicolas Poussin; 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 - 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน ปูแซ็งเกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 ที่เมืองเลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีในประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665 ลักษณะการเขียนเป็นแบบคลาสสิกซิสม์ งานของปูแซ็งเจะชัดเจน มีเหตุผลและมีระเบียบและนิยมเส้นมากกว่าสี ปูแซ็งมีอิทธิพลต่อจิตรกรที่มีลักษณะเขียนไปทางคลาสสิกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น ฌัก-หลุยส์ ดาวีด, ปอล เซซาน ปูแซ็งใช้เวลาส่วนใหญ่ในช่วงทำงานเขียนในกรุงโรม นอกจากช่วงที่คาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Cardinal Richelieu) เรียกตัวกลับมาฝรั่งเศสเพื่อมาเป็นเป็นจิตรกรเอกประจำราชสำนักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและนีกอลา ปูแซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเดท

การฝังศพผู้เสียชีวิตจากแบล็กเดทในเมืองตูร์แน ภาพประกอบจากบันทึกของฌีล ลี มุยซี (Gilles Li Muisis) อธิการอารามนักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์แน แบล็กเดท (Black Death) หรือ กาฬมรณะ เป็นโรคระบาดทั่วครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตามเส้นทางสายไหมและถึงไครเมียในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (Xenopsylla cheopis) ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแบล็กเดท · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์รารา

แฟร์รารา (Ferrara) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในประเทศอิตาลี แฟร์ราราเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแฟร์รารา แฟร์ราราตั้งอยู่ประมาณ 50 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของโบโลญญาบนฝั่งโปดิโวลาโนซึ่งเป็นแควของแม่น้ำโป ตัวเมืองมีถนนกว้างและวังและคฤหาสน์มากมายจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 เมื่อเป็นที่ตั้งสำนักของตระกูลเอสเต ความงามและความสำคัญทางวัฒนธรรมของแฟร์ราราทำให้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแฟร์รารา · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระรับสารและสองผู้อุทิศคุกเข่า (ลิปปี)

แม่พระรับสารและสองผู้อุทิศคุกเข่า (Annunciation with two Kneeling Donors) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟิลิปโป ลิปปีจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของสมัยยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โบราณแห่งชาติที่วังบาร์แบรินีในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “แม่พระรับสารและสองผู้อุทิศคุกเข่า” ที่เขียนโดยฟิลิปโป ลิปปี ราวระหว่างปี ค.ศ. 1440 ถึงปี ค.ศ. 1445 เป็นภาพที่มีพระแม่มารีย์เป็นศูนย์กลางขององค์ประกอบของภาพ ในฉากหลังทางขวาของภาพนอกประตูเป็นภาพสตรีสองคนกำลังขึ้นกระได ด้านขวาของภาพเป็นภาพเหมือนผู้อุทิศสองคนไม่ทราบนามคุกเข่าเป็นพยานต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การวาดให้ขนาดของผู้อุทิศมีขนาดเท่าเทียมกับองค์ประกอบสำคัญในภาพเป็นสิ่งที่ยังใหม่อยู่ในขณะนั้น ก่อนหน้านั้นถ้าเป็นบุคคลธรรมดาก็จะมีขนาดเล็กกว่าตัวประกอบหลักของภาพซึ่งเป็นแสดงความสำคัญของตัวเอกของ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแม่พระรับสารและสองผู้อุทิศคุกเข่า (ลิปปี) · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระซอลลี

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร พระแม่มารีซอลลิ (ภาษาอังกฤษ: Solly Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ หอศิลป์ในกรุงเบอร์ลินในประเทศเยอรมนี ราฟาเอลเขียนภาพ “พระแม่มารีซอลลิ” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1500 ถึงปี ค.ศ. 1504 “พระแม่มารีซอลลิ” เป็นงานเขียนหนึ่งในชิ้นแรกๆ ที่ราฟาเอลเขียนที่ยังเห็นอิทธิพลของเปียโตร เปรูจิโนผู้เป็นครูอย่างเห็นได้ชัด สิ่งสองสิ่งจากภาพนี้ที่จะพบในงานต่อๆ มาของราฟาเอลคือพระแม่มารีอ่านหนังสือเช่นในภาพ “พระแม่มารีและพระบุตร” ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะนอร์ตันไซมอน, “พระแม่มารีคอนเนสตาบิเล”, “พระแม่มารีโคลอนนา” และ “พระแม่มารีคาร์เดลลิโน” และเช่นเดียวกับภาพสุดท้ายคือนก “พระแม่มารีซอลลิ” ตั้งชื่อตามเจ้าของเดิมนายธนาคารอังกฤษเอ็ดเวิร์ด ซอลล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแม่พระซอลลี · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมาร

แม่พระและพระกุมาร (Madonna and Child; Madonna col Bambino) เป็นรูปเคารพที่สำคัญที่สุดรูปหนึ่งในศาสนาคริสต์ เป็นรูปของพระนางมารีย์พรหมจารี (ซึ่งชาวคาทอลิกเรียกว่าแม่พระ) และพระกุมารเยซู (พระเยซูเมื่อทรงพระเยาว์) “แม่พระและพระกุมาร” โดย ฟิลลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแม่พระและพระกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์

ระแม่มารีและพระบุตรในสวน หรือ พระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ (La belle jardinière หรือ Madonna and Child with Saint John the Baptist) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันบนไม้ที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส “พระแม่มารีและพระบุตรในสวน” เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1507 ที่ได้รับจ้างโดยฟาบริซิโอ แซร์การ์ดิชาวเซียนา เป็นภาพของพระแม่มารี, พระบุตร และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์เมื่อยังเด็ก ภาพนี้เป็นภาพพระแม่มารีที่มีความสำคัญที่สุดในบรรดาจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี ราฟาเอลศึกษางานของเลโอนาร์โด ดา วินชีและนำเทคนิคการเขียนของดา วินชีมาใช้ในงานเขียนของตนเอง ลักษณะเด่นของภาพนี้อยู่ที่การใช้ความตัดกันของแสงเงาและ ความดูสบายๆ ของตัวแบบในฉากที่เป็นสวนที่เห็นได้ชัดว่าเป็นอิทธิพลของดา วินชี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแม่พระและพระกุมารกับนักบุญยอห์นแบปติสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระแห่งเหล่าเครูบ

แม่พระแห่งเหล่าเครูบ (The Madonna of the Cherubim) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอันเดรอา มันเตญญาจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ภาพ “แม่พระแห่งเหล่าเครูบ” ที่เขียนโดยอันเดรีย มานเทนยาราวปี ค.ศ. 1485 เป็นภาพที่จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแม่พระแห่งเหล่าเครูบ · ดูเพิ่มเติม »

แร็มบรันต์

แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแร็มบรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โกเล เด โรแบร์ตี

แอร์โคเล เดรอแบร์ติ (Ercole de' Roberti หรือ Ercole Ferrarese หรือ Ercole da Ferrara) (ราว ค.ศ. 1451 - ค.ศ. 1496) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์ราราของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง แอร์โคเล เดรอแบร์ติเกิดเมื่อราว ค.ศ. 1451 เป็นบุตรของยามรักษาประตูที่ปราสาทของตระกูลเอสเต ต่อมาก็ได้เป็นจิตรกรประจำสำนักของตระกูล แต่งานเขียนของแอร์โคเลมีเหลืออยู่เพียงไม่กี่ชิ้น และงานส่วนใหญ่ก็ถูกทำลายไป จอร์โจ วาซารีรวมประวัติชีวิตของแอร์โคเล เดรอแบร์ติในหนังสือ “ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น” และบรรยายถึงแอร์โคเลว่า “แอร์โคเลเป็นคนชอบดื่มไวน์เอามากๆ และความเมาอันสม่ำเสมอก็มีส่วนทำให้อายุสั้น ที่ทำมาจนอายุได้สี่สิบปีโดยไม่มีอุบัติเหตแต่อย่างใด แต่วันหนึ่งแอร์โคเลก็ล้มพับไปเพราะเส้นเลือดในสมองแตกซึ่งก็เป็นการทำให้ชีวิตสิ้นสุดในระยะเวลาไม่นานนัก”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแอร์โกเล เด โรแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอุมเบรีย

อุมเบรีย (Umbria) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นของประเทศอิตาลี มีเนื้อที่ทั้งหมด 8,456 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 900,000 คน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 จังหวัด คือ จังหวัดเปรูจาและจังหวัดแตร์นี เมืองหลักของแคว้นคือเปรู.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแคว้นอุมเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองซิซิลี

ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและแคว้นปกครองตนเองซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

ใบปิด

ใบปิด หรือ โปสเตอร์ (poster) คือภาพขนาดใหญ่พิมพ์บนกระดาษออกแบบเพื่อใช้ติดหรือแขวนบนผนังหรือกำแพง ใบปิดอาจจะเป็นภาพพิมพ์และภาพเขียน หรืออาจจะเป็นอย่างเดียวอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ จุดประสงค์ก็เพื่อทำให้เตะตาผู้ดูและสื่อสารข้อมูล ใบปิดอาจจะใช้สอยได้หลายประการแต่ส่วนใหญ่มักจะใช้ในการเผยแพร่เพื่อการประชาสัมพันธ์โดยเฉพาะการโฆษณางานแสดงศิลปะ, งานดนตรี หรือภาพยนตร์; การโฆษณาชวนเชื่อ; หรือในการสื่อสารของผู้ประท้วงที่ต้องการสื่อสารความเชื่อต่อคนกลุ่มใหญ่ ประโยชน์ของใบปิดอาจมีหลายจุดประสงค์ โดยส่วนมากจะเป็นเครื่องมือในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นงานต่างๆ งานดนตรี ภาพยนตร์ และในบางครั้งก็ผลิตมาเพื่อใช้ในการศึกษา หรือเป็นสื่อการสอนต่างๆ นอกจากนั้นใบปิดก็ยังใช้ในการพิมพ์ภาพจิตรกรรมของศิลปินคนสำคัญๆหรือภาพถ่าย เพื่อใช้ในการตกแต่ง ซึ่งกลายมาเป็นศิลปะการค้าที่ทำรายได้ดีให้ทั้งพิพิธภัณฑ์และบริษัทการค้าหรือร้านทางอินเทอร์เน็ต เช่นภาพเขียนของโคลด โมเนท์ หรือ เลโอนาร์โด ดา วินชี หรืองานของช่างภาพอเมริกันโรเบิร์ต เมเปิลธอร์พ (Robert Mapplethorpe) งานศิลปะการสร้างใบปิดเริ่มเมื่อราวคริสต์ทศวรรษ 1890 โดยจิตรกรชาวฝรั่งเศสและเผยแพร่ไปทั่วยุโรป ศิลปินคนสำคัญที่สุดที่ริเริ่มความนิยมในการสร้างใบปิดก็คืออองรี เดอ ทูลูส-โลเทรค และ จูลส์ เชเรท์ (Jules Chéret) เชเรท์ถือกันว่าเป็นบิดาแห่งการโฆษณาด้วยป้าย คนส่วนใหญ่ที่สะสมใบปิด และใบปิดที่มีชื่อเสียง นักสะสมใบปิดจะเก็บใบปิดเก่าโดยมักจะใส่กรอบรูปและมีแผ่นรองหลังด้วย โดยขนาดใบปิดที่เป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปอยู่ที่ 24x36 นิ้ว แต่ใบปิดก็มีหลายขนาดหลากหลาย และใบปิดขนาดเล็กที่ไว้โฆษณาจะเรียกว่า แฮนด์บิลล์ หรือ “ใบปลิว” (flyer).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและใบปิด · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อย

น้อยในประเทศเบลเยียม โบสถ์น้อย หรือ วัดน้อย (chapel) เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่างๆ ตั้งแต่ใหญ่ขนาดมหาวิหารย่อย ๆ ไปจนถึงโบสถ์น้อยเล็ก ๆ ข้างทาง เช่นเดียวกับถ้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างขนาดก็ขึ้นอยู่กับฐานะของผู้สร้าง โบสถ์น้อยที่เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร, โบสถ์ใหญ่ ๆ, ปราสาท, วัง, คฤหาสน์, วิทยาลัย, โรงพยาบาล คุก หรือสุสาน บางครั้งโบสถ์น้อยที่สร้างในมหาวิหารจะสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น "โบสถ์น้อยแม่พระ" ที่มักจะสร้างเป็นโบสถ์น้อยที่อยู่ทางตะวันออกสุดของโบสถ์ หรือ "โบสถ์น้อยศีลศักดิ์สิทธิ์" ที่ตั้งติดกับโบสถ์และใช้เป็นที่เก็บไวน์ และขนมปังที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท ถ้าโบสถ์น้อยมีขนาดค่อนข้างเล็กที่สร้างเป็นคูหาภายในทางด้านข้างหรือทางด้านหลังของมหาวิหารหรือโบสถ์ก็อาจจะเรียกว่า "คูหาสวดมนต์" ความหมายเป็นนัยยะของโบสถ์น้อยคือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่ใช่สถาบันศาสนา เช่น โบสถ์น้อยของปราสาท หรือโบสถ์น้อยส่วนตัวภายในมหาวิหารเป็นต้น.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยบรันกัชชี

ปลบรันคาชชิ (Brancacci Chapel, Capella dei Brancacci) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยมาซาชิโอ ที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิ ที่เขียนให้แก่พ่อค้าไหมเฟลิเช บรันคาชชิหลานของเปียโตร บรันคาชชิผู้สร้างชาเปล ความงามของงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลนี้ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ชาเปลซิสตินแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น” ใน และเป็นงานเขียนที่มีอิทธิพลมากที่สุดชิ้นหนึ่งของสมัยที่ว่านี้ เปียโตร บรันคาชชิสร้างชาเปลนี้ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อยบรันกัชชี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยสโกรเวญญี

ปลสโครเวนยี หรือ ชาเปลอารีนา (Cappella degli Scrovegni, Scrovegni Chapel หรือ Arena Chapel) เป็นชาเปลของนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองปาดัวในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ กอธิค ฟื้นฟูศิลปวิทยา บาโรก ชาเปลสโครเวนยีมีจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยจอตโต ดี บอนโดเนที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1305 ที่เป็นงานศิลปะชิ้นเอกที่มีความสำคัญที่สุดในศิลปะตะวันตก ชาเปลอุทิศให้ “พระแม่มารีคาริตา” (Santa Maria della Carità) ในโอกาสการสมโภชน์การประกาศของเทพในปี ค.ศ. 1305 จิตรกรรมฝาผนังของจอตโตเป็นภาพชีวิตของพระแม่มารีเพื่อฉลองบทบาทในการไถ่บาปให้แก่มนุษยชาติของพระองค์ ชาเปลรู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า “ชาเปลอารีนา” เพราะก่อตั้งบนที่ดินที่ซื้อโดยเอ็นริโค เดกลิ สโครเวนยีที่ติดกับโรงละครโรมัน (Amphitheatre) ซึ่งเป็นสถานที่ที่ใช้ในการแห่ฉลองการสมโภชน์การประกาศของเทพมาเป็นเวลานานก่อนที่จะมาสร้างชาเปลแล้ว ในโอกาสวันอุทิศมาร์เคตโตดาปาโดวาก็ประพันธ์บทสรรเสริญ (Motet) เมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1305 เอ็นริโค เดกลิ สโครเวนยีผู้มีอาชีพให้ยืมเงินเป็นผู้สั่งให้สร้างชาเปลส่วนตัวนี้ติดกับคฤหาสน์ของครอบครัวในบริเวณที่ดินที่กว้างขวาง กล่าวกันว่าเอ็นริโคสร้างชาเปลนี้เพื่อแก้บาปให้บิดา เรจินาลโด เดกลิ สโครเวนยีบิดาของสโครเวนยีเป็นคนขูดเลือด (usurer) ที่ดานเตกล่าวถึงว่าเป็นลำดับหนึ่งในเจ็ดลำดับของ “โทษภูมิ” ในมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” แต่จากการค้นคว้าศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ก็พบว่าเอ็นริโคเองก็คิดดอกเบี้ยแบบขูดเลือดขูดเนื้อ ฉะนั้นการสร้างชาเปลจึงอาจจะเป็นการแก้บาปของตนเองก็เป็นได้ อนุสรณ์ของเอ็นริโคอยู่ในบริเวณมุขตะวันออกของชาเปล และภาพของเอ็นริโคปรากฏในภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ในการถวายชาเปลจำลองแก่พระแม่มารี แม้ว่าจะเป็นชาเปลส่วนตัวของตระกูลแต่ก็ใช้ในโอกาสการฉลองการประกาศของเทพสำหรับสาธารณชนด้วย นอกจากจะมีงานจิตรกรรมของจอตโตแล้วชาเปลก็ไม่มีสิ่งตกแต่งอื่นใด มีเพดานเป็นแบบเพดานโค้งประทุน ภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” เขียนบนผนังด้านในเหนือประตูทางเข้าทั้งผนัง แต่ละผนังจัดเป็นสามระดับของกลุ่มจิตรกรรม แต่ละระดับมีที่กว้างพอสำหรับภาพสี่ภาพที่แต่ละภาพกว้างสองตารางเมตร ด้านที่หันไปทางแท่นบูชาเริ่มเรื่องจากตอนบนขวาของผนังที่เป็นฉากชีวิตของพระแม่มารีที่รวมทั้งการประกาศของเทพแก่พระมารดาถึงการกำเนิดของพระองค์ และการนำพระองค์เข้าวัดเป็นครั้งแรก เรื่องดำเนินต่อไปจนถึงการประสูติของพระเยซู, ความทุกข์ทรมานของพระเยซู และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังจากที่ทรงถูกตรึงกางเขน สิ่งที่มีลักษณะเด่นของจิตรกรรมชุดนี้คือการแสดงอารมณ์อันรุนแรงของภาพ, ลักษณะตัวแบบ และ ความเป็นธรรมชาติ จอตโตแยกภาพจากกันโดยการวาดสิ่งตกแต่งทางสถาปัตยกรรมเป็นภาพหินอ่อนและคูห.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อยสโกรเวญญี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

ปลทอร์นาบุโอนิ (Tornabuoni Chapel, Cappella Tornabuoni) เป็นชาเปลหลักหรือชาเปลของบริเวณร้องเพลงสวดอยู่ภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่เขียนโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาและห้องเขียนภาพระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1490.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซัสเซตตี

ปลซาสเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Sassetti Chapel; ภาษาอิตาลี: Cappella Sassetti) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตาทรินิตาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อยซัสเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

โพลิเซียโน

ลิเซียโน หรือ โพลิเชียน หรือ อันเจโล อัมโบรจินิ หรือ อักโนโล โพลิเซียโน (Poliziano หรือ Angelo Ambrogini หรือ Agnolo Poliziano, Politianus) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1454 – 24 กันยายน ค.ศ. 1494) ชื่อ “โพลิเซียโน” มาจากชื่อเมืองเกิดมอนเตพุลเชียโน (Mons Politianus) โพลิเซียโนเป็นนักปราชญ์สาขาคลาสสิก กวี และนักประพันธ์ชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา และเป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการรื้อฟื้นภาษาละติน โพลิเซียโนเขียนโคลง “Manto” ในคริสต์ทศวรรษ 1480 สำหรับเป็นบทนำในการให้คำสอนเกี่ยวกับ “เวอร์จิล”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโพลิเซียโน · ดูเพิ่มเติม »

โกซีโม รอสเซลลี

ม รอซเซลิ (Cosimo Rosselli) (ค.ศ. 1439 - ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและฉากแท่นบูชา รอซเซลิทำงานส่วนใหญ่ในฟลอเรนซ์ โคสิโม รอซเซลิเกิดในปี ค.ศ. 1439 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เมื่ออายุได้สิบสี่ปีรอซเซลิก็ไปเป็นลูกศิษย์ของเนริ ดิ บิชชิ (Neri di Bicci) และในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโกซีโม รอสเซลลี · ดูเพิ่มเติม »

โกซีโม ตูรา

ม ทูรา (Cosimo Tura หรือ Il Cosmè หรือ Cosmè Tura) (ราว ค.ศ. 1430 - ค.ศ. 1495) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีตอนต้นของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์ราราของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโกซีโม ตูรา · ดูเพิ่มเติม »

โกซีโม เด เมดีชี

ม เดอ เมดิชิ (Còsimo di Giovanni degli Mèdici หรือ Cosimo de' Medici) (27 กันยายน ค.ศ. 1389 - 1 สิงหาคม ค.ศ. 1464) โคสิโมเกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1389 ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี เป็นบุตรของ จิโอวานนิ ดิ บิชชิ เดอ เมดิชิ (Giovanni di Bicci de' Medici) และพิคคาร์ดา บูเอริ โคสิโมสมรสกับคอนเทสสินา เดอ บาร์ดิ (Contessina de' Bardi) และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1464 ที่คาเร็จจิในประเทศอิตาลี โคสิโมเป็นนักการเมืองคนแรกที่ก่อสร้างความสำคัญของตระกูลเมดิชิซึ่งเป็นเหมือนผู้ปกครองฟลอเรนซ์โดยปริยาย บางครั้งโคสิโมก็รู้จักกันในนามว่า “โคสิโมผู้อาวุโส” (il Vecchio) หรือ “Cosimo Pater Patriae”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโกซีโม เด เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

โมนาลิซา

มนาลิซา (Mona Lisa) หรือ ลาโจกอนดา (La Gioconda) หรือ ลาโชกงด์ (La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507) เป็นภาพที่มีชื่อเสียงทั่วโลกภาพหนึ่ง เป็นที่รู้จักในฐานะภาพของสุภาพสตรีที่มีรอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโมนาลิซา · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก

โยฮันน์ กูเทนแบร์ก (Johannes Gensfleisch zur Laden zum Gutenberg (ค.ศ. 1398 – 3 ก.พ. ค.ศ. 1468) ช่างเหล็กและนักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงจากการมีส่วนพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ในช่วงราวคริสศตวรรษ 1450 ซึ่งรวมถึงตัวพิมพ์โลหะอัลลอย และหมึกพิมพ์ที่ใช้น้ำมันเป็นฐาน แม่พิมพ์สำหรับหล่อตัวพิมพ์ได้อย่างแม่นยำ และแท่นพิมพ์แบบกดแบบใหม่ ซึ่งพัฒนาจากเครื่องกดที่ใช้ในการทำไวน์ กูเตนแบร์กได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์ที่ถอดได้ขึ้นในยุโรป ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อจากการพิมพ์แบบบล็อกที่ใช้กันอยู่ในขณะนั้น เมื่อรวมส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวเข้าด้วยกันในระบบการผลิตแล้ว เขาได้ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป กูเตนแบร์กเกิดที่เมืองไมนซ์ ในประเทศเยอรมนี โดยเป็นบุตรชายของพ่อค้าชื่อ Friele Gensfleisch zur Laden ซึ่งต่อมาได้รับเอาชื่อ "zum Gutenberg" ซึ่งเป็นชื่อของบริเวณที่ครอบครัวของเขาย้ายเข้าไปอยู่อาศัย มาใช้เป็นนามสกุล หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1941 หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโยฮันน์ กูเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ กอสตา

ลอเรนโซ คอสตา (Lorenzo Costa) (ค.ศ. 1460 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1535) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ลอเรนโซ คอสตาเกิดในปี ค.ศ. 1460 ที่เมืองเฟอร์ราราในประเทศอิตาลีแต่ย้ายไปอยู่โบโลนยาเมื่ออายุยี่สิบกว่าๆ และเป็นผู้มีอิทธิพลต่อตระกูลการเขียนภาพแบบเซียนา แต่จิตรกรหลายคนที่ทำงานอยู่ทั้งในเฟอร์ราราและโบโลนยาถือว่าลอเรนโซ คอสตาเป็นผลผลิตของตระกูลการเขียนภาพแบบเฟอร์รารา มีการกล่าวอ้างว่าคอสตาได้รับการฝึกหัดจากโคสิโม ตูรา (Cosimo Tura) ในปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโลเรนโซ กอสตา · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ กีแบร์ตี

ลเรนโซ กีแบร์ตี บน "ประตูสวรรค์" (Gates of Paradise) ที่หอศีลจุ่มซานจิโอวานนี (Battistero di San Giovanni) ที่ฟลอเรนซ์ งานของโลเรนโซ กีแบร์ตี ที่ชนะการประกวดเมื่อปี ค.ศ. 1401 ซึ่งยังเป็นฉากแบบยุคกลาง แต่รูปนี้ไม่มีบน "ประตูสวรรค์" เมื่อสร้าง "ประตูสวรรค์" ประตูที่เห็นในปัจจุบันเป็นประตูที่ทำเลียนแบบของจริง พระเจ้าสร้างอาดัมและอีฟบานภาพจาก "ประตูสวรรค์" โลเรนโซ กีแบร์ตี (Lorenzo Ghiberti; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Lorenzo di Bartolo; ค.ศ. 1378 - 1 ธันวาคม ค.ศ. 1455) เป็นประติมากรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์ตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางประติมากรรม งานโลหะ และจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโลเรนโซ กีแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ เด เมดีชี

ลอเรนโซ เดอ เมดิชิ (Lorenzo de’ Medici หรือ Lorenzo il Magnifico; Lorenzo the Magnificent) (1 มกราคม ค.ศ. 1449 – 9 เมษายน ค.ศ. 1492) เป็นรัฐบุรุษคนสำคัญของฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญในทางการปกครอง นอกจากนั้นลอเรนโซ เดอ เมดิชิยังเป็นเป็นนักการทูต, ผู้อุปถัมภ์ผู้มีปัญญา, ศิลปิน, และกวี ลอเรนโซ เดอ เมดิชิมีชีวิตอยู่ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของสมัยเรอเนซองส์ หลังจากลอเรนโซ เดอ เมดิชิเสียชีวิตยุคทองของเรอเนซองส์ก็สิ้นสุดลง ความสัมพันธ์ที่เปราะบางระหว่างแคว้นต่างๆของอิตาลีที่ลอเรนโซพยายามยึดไว้ก็แตกหักลง เพียงสองปีหลังจากลอเรนโซเสียชีวิตฝรั่งเศสก็รุกรานอิตาลีระหว่างปี..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโลเรนโซ เด เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี บอกกัชโช

วันนี บอกกัชโช (Giovanni Boccaccio) (ค.ศ. 1313 – 21 ธันวาคม ค.ศ. 1375) เป็นนักเขียน กวี และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวอิตาลี ผู้เป็นนักประพันธ์งานสำคัญหลายชิ้นที่รวมทั้ง “ตำนานสิบราตรี” (Decameron) และ “On Famous Women” รายละเอียดเกี่ยวกับการกำเนิดของบอกกัชโชไม่เป็นที่ทราบกันเท่าใดนัก บางหลักฐานก็ว่าเกิดที่ปารีส จากแม่ที่เป็นชาวปารีสBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโจวันนี บอกกัชโช · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี บัตติสตา ตีเอโปโล

อวานนิ บัตติสตา ติเอโปโล (Giovanni Battista Tiepolo หรือ Giambattista Tiepolo หรือ Gianbattista) (5 มีนาคม ค.ศ. 1696 - 27 มีนาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรยุคบาโรกชาวเวนิสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และ จิตรกรรมสีน้ำมัน ติเอโปโลไม่แต่ทำงานในอิตาลีแต่ยังทำงานในเยอรมนีและสเปนด้ว.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโจวันนี บัตติสตา ตีเอโปโล · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี เบลลีนี

“การนำพระเยซูเข้าวัด” (Presentation in the Temple) โดย จิโอวานนี เบลลินี (ราว ค.ศ. 1499-1500), พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย จิโอวานนี เบลลินี (Giovanni Bellini) (ค.ศ. 1430 - ค.ศ. 1516) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เบลลินีเป็นครอบครัวจิตรกรจากเวนิส จิโอวานนี เบลลินีเป็นลูกของจาคโคโป เบลลินี เป็นน้องชายของ เจ็นทิลี เบลลินี และเป็นน้องเขยของอันเดรีย มานเทนยา (Andrea Mantegna) จิโอวานนี เบลลินีมีชื่อว่าเป็นผู้ปฏิวัติการเขียนภาพแบบเวนิสในการออกไปทางแบบที่ให้ความรู้สึกอ่อนหวาน (sensuous) และเป็นสีสรรค์ (colouristic) เบลลินีใช้สีน้ำมันที่ใสและแห้งช้าซึ่งเมื่อแห้งทำให้มีภาพมีสีเข้มขึ้น เหลือบ และเป็นเงาที่ละเอียด การใช้สีที่ sumptuous และ ภูมิทัศน์ที่มีบรรยากาศมีผลต่อการอิทธิพลต่อการเขียนภาพแบบเวนิสโดยเฉพาะต่อจอร์จิโอเนและทิเทียน ผู้เป็นลูกศิษย์ของเบลลินีเอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโจวันนี เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

โดนาโต ดันเจโล บรามันเต

โดนาโต ดันเจโล บรามันเต โดนาโต ดันเจโล บรามันเต (ค.ศ. 1444 - 11 มีนาคม ค.ศ. 1514) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี ซึ่งเป็นผู้นำรูปแบบหรือสไตล์ที่เรียกว่าเออร์ลี่เรเนซองส์เข้ามาในเมืองมิลาน และไฮเรเนซองส์สู่โรม ซึ่ง ณ โรมแห่งนี้ เขาได้ทำการออกแบบผลงานที่เป็นที่รู้จักทั่วโลกได้แก่มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ (St. Peter's Basilica) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1987 หมวดหมู่:สถาปนิกชาวอิตาลี หมวดหมู่:สถาปนิกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมาร์เค.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโดนาโต ดันเจโล บรามันเต · ดูเพิ่มเติม »

โดนาเตลโล

รูปปั้นโดนาเตลโลที่ฟลอเรนซ์ โดนาเตลโล หรือ โดนาโต ดี นิกโกเลาะ ดี เบตโต บาร์ดี (Donatello หรือ Donato di Niccolò di Betto Bardi; ค.ศ. 1386 - 13 ธันวาคม ค.ศ. 1466) ศิลปินชาวอิตาลีในด้านงานปั้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโดนาเตลโล · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย · ดูเพิ่มเติม »

โครงสร้างทรงโค้ง

กอทิกของโบสถ์แซ็ง-เซเวอแร็งแห่งปารีส โครงสร้างทรงโค้ง (Vault; voûte; Gewölbe; volta) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโค้ง (arch) ที่เป็นช่องใต้เพดานหรือหลังคา | url.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและโครงสร้างทรงโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

เพลโต

"แนวคิดหลักทางปรัชญาของยุโรป ล้วนแต่เป็นเชิงอรรถของเพลโต" -- อัลเฟรด นอร์ท ไวท์เฮด, Process and Reality, ค.ศ. 1929 เพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, Plato.) (427 - 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์ เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก โลกปัจจุบันรู้จักเขาผ่านทางงานเขียนที่หลงเหลืออยู่ ที่ถูกนำขึ้นมาแปลและจัดพิมพ์เป็นในช่วงการเคลื่อนไหวด้านมนุษยนิยม งานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามชุดรวมงานแปลปัจจุบันของเพลโตมักมีบางบทสนทนาที่นักวิชาการจัดว่าน่าสงสัย หรือคิดว่ายังขาดหลักฐานที่จะยอมรับว่าเป็นของแท้ได้ ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโต.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเพลโต · ดูเพิ่มเติม »

เพดานโบสถ์น้อยซิสทีน

มือของพระเจ้าจรดกับมือของอาดัม เพดานโบสถ์น้อยซิสติน (Sistine Chapel ceiling) เป็นจิตรกรรมฝาผนังบนเพดานของโบสถ์น้อยซิสตินที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโลระหว่าง ค.ศ. 1508 ถึง ค.ศ. 1512 ที่ได้รับการจ้างโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 เป็นงานจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดของยุคทองของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เพดานที่เขียนภาพอยู่ภายในโบสถ์น้อยของพระสันตะปาปาภายในพระราชวังวาติกันที่สร้างขึ้นในระหว่าง ค.ศ. 1477 ถึง ค.ศ. 1480 โดยสมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ที่กลายมาเป็นชื่อโบสถ์น้อย โบสถ์น้อยเป็นที่ตั้งของห้องประชุมพระสันตะปาปาและสถานที่ที่ใช้ในการทำพิธีทางศาสนาของพระสันตะปาปาShearman 1986, pp. 22-36 ภาพเขียนบนเพดานเป็นส่วนหนึ่งของหัวข้อใหญ่ในการตกแต่งภายในทั้งหมดของโบสถ์น้อยที่รวมทั้งจิตรกรรมฝาผนัง “การตัดสินครั้งสุดท้าย” บนผนังด้านพิธีโดยไมเคิล แอนเจโลเช่นกัน และภาพเขียนอื่น ๆ โดยกลุ่มจิตรกรชั้นนำของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่รวมทั้งซานโดร บอตติเชลลี และเปียโตร เปรูจิโน และพรมทอแขวนผนังชุดใหญ่โดยราฟาเอล หัวใจของภาพทั้งหมดสะท้อนปรัชญาของโรมันคาทอลิกShearman 1986b, pp. 38-87O'Malley 1986, pp. 92-148 หัวใจของภาพเขียนบนเพดานเป็นฉากเก้าฉากจากพระธรรมปฐมกาล ในบรรดาเก้าภาพ ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคือภาพพระเจ้าสร้างอาดัม (Creation of Adam) ที่กลายมาเป็นรูปสัญลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักกันดีพอ ๆ กับ “โมนาลิซา” ของเลโอนาร์โด ดา วินชี โดยเฉพาะส่วนที่เป็นนิ้วมือของพระเจ้าที่แทบจะมาจรดกับนิ้วมือของอาดัมที่เป็นภาพที่กลายมาเป็นภาพที่แปลงไปเป็นงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเพดานโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

เมดีชี

ตระกูลเมดีชี (Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system).

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

เยเรมีย์

ผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์บนเพดานในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโล เยเรมีย์ (Jeremiah, יִרְמְיָהוּ: - Yirməyāhū, ความหมาย "Yhwh will raise"; Ἰερεμίας) เป็นหนึ่งในผู้เผยพระวจนะใหญ่ในคัมภีร์ฮีบรู เป็นบุตรของฮิลคิยะห์ (Hilkiah) นักบวชจากอนาโธธ และเป็นผู้เขียนหนังสือเยเรมีย์ เยเรมีย์เป็นหนึ่งในหมู่ปุโรหิตเมืองอานาโธทในแผ่นดินของเผ่าเบนยามิน เยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะ มีชีวิตอยู่ในช่วงหลังของศตวรรษที่เจ็ดต่อเนื่องถึงช่วงแรกของศตวรรษที่หกก่อนคริตส์ศักราช ในระหว่างการทำพันธกิจอันยาวนาน เยเรมีย์เตือนประชากรของพระเจ้าถึงวิบัติภัยที่จะเกิดแก่ชาติเนื่องด้วยพวกเข้ากราบไหว้รูปเคารพและทำบาป เยเรมีย์มีชีวิตอยู่จนได้เห็นคำพยากรณ์นี้เกิดขึ้นจริงเมื่อกรุงเยรูซาเลมล่มสลายด้วยมือเนบูคัดเนสซาร์กษัตริย์บาบิโลน ทั้งนครกับพระวิหารในกรุงเยรูซาเลมถูกทำลาย และกษัตริย์กับคนยูดาห์จำนวนมากตกไปเป็นเชลยที่บาบิโลน เยเรมีย์ได้ทำนายด้วยว่าในที่สุดประชาชนจะกลับมาจากการเป็นเชลยและฟื้นฟูบูรณะชาติขึ้นใหม่ หนังสือเยเรมีย์อาจแบ่งเป็นส่วน ๆ ได้ดังนี้ 1) ข่าวสารจากพระเจ้าถึงชาติยูดาห์กับบรรดาผู้นำระหว่างรัชสมัยของโยสิยาห์ เยโฮยาคิม เยโฮยาคีน และเศเดคียาห์ 2) เนื้อหาจากบันทึกของบารุคผู้เป็นเลขานุการของเยเรมีย์ รวมทั้งการเผยพระวจนะและเหตุการณ์สำคัญต่างๆ จากชีวิตของเยเรมีย์ 3) ข่าวสารจากองค์เจ้านายเกี่ยวกับประเทศอื่นๆ 4) ภาคผนวกเชิงประวัติศาสตร์ เล่าเรื่องราวการล่มสลายของกรุงเยรูซาเลมและการเป็นเชลยของบาบิโลน เยเรมีย์เป็นคนละเอียดอ่อน ท่านรักประชาชนในชาติอย่างลึกล้ำ และเกลียดที่จะต้องประกาศการพิพากษาซึ่งจะเกิดแก่พวกเขา ในข้อพระคัมภีร์หลายตอนเยเรมีย์พูดจากความรู้สึกลึก ๆ ถึงความทุกข์อันเนื่องมาจากการที่พระเจ้าทรงเรียกให้ท่านเป็นผู้เผยพระวจนะ พระวจนะขององค์เจ้านายเหมือนไฟเผาหัวใจจนท่านไม่อาจเก็บถ้อยคำเหล่านั้นไว้ได้ พระวจนะที่ยิ่งใหญ่บางตอนในพระธรรมชี้ไปไกลกว่ายุคสมัยอันทุกข์ยากวุ่นวานของเยเรมีย์เอง ชี้ถึงวันเวลาที่จะมีพันธสัญญาใหม่ เป็นพันธสัญญาที่ประชากรของพระเจ้าจะถือรักษาโดยไม่ต้องมีธรรมมาจารย์มาคอยเตือน เพราะพันธสัญญานั้นจารึกบนหัวใจของเขาเอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเยเรมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เลออน บัตติสตา อัลแบร์ตี

ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ (Leon Battista Alberti) (18 กุมภาพันธ์พ.ศ. 1947 – 25 เมษายน พ.ศ. 2015) เป็นผู้รู้รอบด้าน ผู้เป็นปราชญ์ สถาปนิก นักเขียน กวี นักภาษาศาสตร์ นักปรัชญา นักถอดรหัส ชาวอิตาลี ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งใน ผู้ที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาของศิลปวิทยาการในยุคเรอเนซอง.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเลออน บัตติสตา อัลแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนาร์โด ดา วินชี

ลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519) เป็นอัจฉริยบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาคศาสตร์ นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ นักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารมื้อสุดท้าย และ โมนา ลิซ่า งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่วางรากฐานด้านการบิน รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น นักประวัติศาสตร์และนักวิชาการหลายคนต่างยกย่องเลโอนาร์โดเป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลมและเป็นผู้รู้รอบด้าน หรือ "ชายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา" (Renaissance Man) บุคคลที่มี "ความอยากรู้อยากเห็นอย่างไม่มีข้อกังขา" และ "จินตนาการที่สร้างสรรค์ขึ้นเรื่อย ๆ".

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

เวกกีเอตตา

| สี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเวกกีเอตตา · ดูเพิ่มเติม »

เวนิส

วนิส (Venice) หรือ เวเน็ตเซีย (Venezia) เป็นเมืองหลักของแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี มีประชากร 271,663 คน (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2547) เมืองเวนิสได้รับฉายาว่า ราชินีแห่งทะเลเอเดรียติก (Queen of the Adriatic), เมืองแห่งสายน้ำ (City of Water), เมืองแห่งสะพาน (City of Bridges) และเมืองแห่งแสงสว่าง (The City of Light) เมืองเวนิสถูกสร้างขึ้นจากการเชื่อมเกาะเล็กๆ จำนวนมากเข้าด้วยกันในบริเวณทะเลสาบเวนิเทีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเอเดรียติก ในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ทะเลสาบน้ำเค็มนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งระหว่างปากแม่น้ำโปกับแม่น้ำปลาวี มีผู้อยู่อาศัยโดยประมาณ 272,000 คน ซึ่งนับรวมหมดทั้งเวนิส โดยมี 62,000 คนในบริเวณเมืองเก่า 176,000 คนในแตร์ราแฟร์มา (Terraferma) และ 31,000 คนในเกาะอื่น ๆ ในทะเล.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

เอลเกรโก

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1604) โดยเอลเกรโก โดเมนิคอส เทโอโทโคพูลอส (Δομήνικος Θεοτοκόπουλος; Doménicos Theotokópoulos; ค.ศ. 1541 7 เมษายน ค.ศ. 1614) หรือที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ เอลเกรโก (El Greco; "ชาวกรีก") เป็นจิตรกร ประติมากร และสถาปนิกสมัยเรอเนซองซ์คนสำคัญของประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เอลเกรโกมักจะลงนามในภาพเขียนด้วยชื่อเต็มเป็นภาษากรีก เอลเกรโกเกิดที่เกาะครีตซึ่งในสมัยนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเวนิสและเป็นศูนย์กลางของศิลปะไบแซนไทน์ยุคปลาย เอลเกรโกได้รับการฝึกฝนลักษณะศิลปะไบแซนไทน์ก่อนที่เดินทางไปเวนิสเมื่ออายุ 26 ปึเช่นเดียวกับศิลปินชาวกรีกคนอื่น ๆJ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเอลเกรโก · ดูเพิ่มเติม »

เอวา

อวา โดย Juan Antonio Vera Calvo เอวา (חַוָּה‎, Ḥawwāh; Eve อีฟ) เป็นผู้หญิงคนแรก ที่หนังสือปฐมกาลบันทึกไว้ โดยคำว่า เอวา เป็นคำมาจากภาษาฮีบรู แปลว่า มีชีวิตอยู่ ตามบันทึกพระคัมภีร์ มนุษย์ผู้หญิงถูกตั้งชื่อว่า เอวา หรือ อีฟ เพราะนางเป็นมารดาของปวงชนที่มีชีวิต ภาษาอาหรับเรียกว่า เฮาวาอ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเอวา · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเออแฌน เดอลาครัว · ดูเพิ่มเติม »

เอดัวร์ มาแน

อดัวร์ มาแน (Édouard Manet,; 23 มกราคม ค.ศ. 1832 - 30 เมษายน ค.ศ. 1883) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้เป็นจิตรกรคนแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19ที่เขียนภาพเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนทั่วไป มาแนเป็นจิตรกรคนสำคัญที่มีบทบาทในการเปลี่ยนจากการเขียนภาพแบบเหมือนจริง (Realism) ไปเป็นแบบอิมเพรสชันนิสม์ “อาหารกลางวันบนลานหญ้า” (Le déjeuner sur l'herbe) และ “โอลิมเปีย” (Olympia) งานชิ้นเอกสองชิ้นของมาแนเป็นงานที่ทำให้เกิดมีความเห็นขัดแย้งกันมากและเป็นจุดที่ทำให้จิตรกรหนุ่ม ๆ รุ่นนั้นเริ่มหันมาวาดภาพอิมเพรสชันนิสม์—ซึ่งในปัจจุบันถือกันว่าเป็นจุดสำคัญของศิลปะที่แยกมาเป็นศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเอดัวร์ มาแน · ดูเพิ่มเติม »

เฮราคลิตุส

ราคลิตุสชาวเอเฟซัส (Heraclitus the Ephesian; กรีกโบราณ: Ἡράκλειτος ὁ Ἐφέσιος — Hērákleitos ho Ephésios) (ราว 535 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 475 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักปรัชญายุคก่อนโสกราตีสชาวกรีกผู้ที่เดิมมาจากเอเฟซัสใน ไอโอเนียบนฝั่งทะเลอานาโตเลีย เฮราคลิตุสเป็นที่รู้จักกันในปรัชญาของความเปลี่ยนแปลงที่เป็นศูนย์กลางของจักรวาล และกฎจักรวาล (Logos) เป็นพื้นฐานของทุกสิ่งทุกอย่าง ในปัจจุบันเฮราคลิตุสมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีอิทธิพลต่อฟรีดริช นีทเชอในปรัชญาของ space และ time จากประโยค “ท่านไม่สามารถจะก้าวลงไปในแม่น้ำเดียวกันเป็นครั้งที่สองเพราะแม่น้ำสายอื่นไหลมาสู่ตัวท่าน”.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเฮราคลิตุส · ดูเพิ่มเติม »

เจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน

็นทิเล ดา ฟาบริอาโน (Gentile da Fabriano) (ราว ค.ศ. 1370 - ราว ค.ศ. 1427) เป็นจิตรกรที่มีลักษณะการเขียนแบบกอธิคนานาชาติของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และจิตรกรรมสีฝุ่นบนไม้ เจ็นทิเล ดา ฟาบริอาโนเกิดราว ค.ศ. 1370 ใกล้เมืองฟาบริอาโนในประเทศอิตาลีปัจจุบัน มารดาของฟาบริอาโนเสียชีวิตก่อน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน · ดูเพิ่มเติม »

เจนตีเล เบลลีนี

็นทิเล เบลลินี (ภาษาอังกฤษ: Gentile Bellini) (ค.ศ. 1429 - ค.ศ. 1507) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน เจ็นทิเล เบลลินีเกิดราว..1429 ที่ เวนิส, ประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเจนตีเล เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

เทพปกรณัมกรีก

รูปปั้นครึ่งตัวของซูส, ที่เมือง Otricoli พิพิธภัณฑ์ Pio-Clementino วาติกัน) เทพปกรณัมกรีก (ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นเรื่องปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ เทพปกรณัมกรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานเทพปกรณัมขึ้น เทพปกรณัมกรีกได้ถูกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น ซึ่งอาจสืบย้อนหลังไปได้ถึงสมัยไมนอส และสมัยไมซีนี ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 ก่อน..

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเทพปกรณัมกรีก · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเทววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์

"นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก เซนต์ (Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนเปิลส์

นเปิลส์ (Naples), นาโปลี (Napoli) หรือ นาปูเล (เนเปิลส์: Napule) เป็นเมืองหลักของแคว้นคัมปาเนียและจังหวัดเนเปิลส์ในอิตาลี มีชื่อเสียงในด้านความร่ำรวยทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และศาสตร์การทำอาหาร เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญในคาบสมุทรอิตาลีมาตลอด 2,800 ปีนับแต่ก่อตั้งเมืองขึ้นมา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ชายฝั่งด้านตะวันตกของอิตาลีติดกับอ่าวเนเปิลส์ กึ่งกลางระหว่างพื้นที่ภูเขาไฟสองแห่ง คือ ภูเขาไฟวิสุเวียสและกัมปีเฟลเกรย์ เนเปิลส์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 800-900 ปีก่อนคริสตกาล ในฐานะอาณานิคมกรีก จึงจัดว่าเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แรกเริ่มนั้นมีชื่อว่า Παρθενόπη Parthenope ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Νεάπολις Neápolis (เมืองใหม่) จัดเป็นหนึ่งในเมืองสำคัญในพื้นที่ Magna Graecia โดยมีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมกรีกไปสู่สังคมโรมัน ต่อมาได้กลายเป็นศูนย์กลางหลักทางวัฒนธรรมของสาธารณรัฐโรมัน โดยเวอร์จิล กวีภาษาละตินที่มีชื่อเสียง ก็ได้เคยศึกษาวิชาที่เนเปิลส์และต่อมาก็ได้อาศัยอยู่ที่บริเวณชานเมือง ตลอดระยะเวลาในประวัติศาสตร์ เนเปิลส์ได้รับสืบทอดอิทธิพลทางศิลปะและสถาปัตยกรรมจากอารยธรรมต่าง ๆ มากมาย รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เด่นชัดที่สุดที่ยังคงพบได้ในปัจจุบันถือกำเนิดมาจากยุคกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และสมัยบาโรก ใจกลางเนเปิลส์เป็นศูนย์กลางเมืองทางประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป (1,700 เฮกตาร์ หรือ 17 ตารางกิโลเมตร) และได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเมือง เนเปิลส์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของ Duchy และอาณาจักรต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งเคยเป็นเมืองหลวงของ Crown of Aragon และยังเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญ (โดยเฉพาะในสมัยของลัทธิมนุษยนิยมเรอเนสซองซ์ และตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 ถึง 19) อิทธิพลของเมืองได้แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่หลายส่วนในยุโรปไปจนถึงนอกทวีป และรอบเมืองก็เป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญต่าง ๆ (เช่น พระราชวังกาแซร์ตา ปอมเปอี และเฮอร์คิวเลเนียม) ซึ่งล้วนแต่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดต่อเนเปิลส์ในด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ และสถาปัตยกรรม เนเปิลส์เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเนเปิลส์ตั้งแต่ พ.ศ. 1825 ถึง พ.ศ. 2349 ต่อมาได้ถูกผนวกอาณาจักรเข้ากับราชอาณาจักรซิซิลี และกลายเป็นเมืองหลวงของ Kingdom of Two Sicilies จนกระทั่งอาณาจักรต่าง ๆ บนคาบสมุทรถูกผนวกรวมเป็นประเทศอิตาลีเมื่อ พ.ศ. 2404 ซึ่งหลังสงคราม Neapolitan ฝ่ายเนเปิลส์ก็ได้สนับสนุนการรวมประเทศนี้อย่างเต็มที่ ภายในอาณาเขตการปกครองของเนเปิลส์มีประชากรประมาณ 1 ล้านคน แต่จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ระบุว่าเขตมหานครของเนเปิลส์มีประชากรมากเป็นอันดับสอง (รองจากมหานครมิลาน ซึ่ง Svimez Data ระบุว่ามีผู้อยู่อาศัย 4,434,136 คน ขณะที่สถาบัน Censis ระบุว่ามี 4,996,084 คน)) หรือสาม (ตามข้อมูลขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา มีผู้อยู่อาศัย 3.1 ล้านคน) ของอิตาลี นอกจากนี้ยังเป็นมหานครที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในอิตาลี เนเปิลส์ถูกจัดให้เป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งมากเป็นอันดับสี่ในอิตาลี รองจากมิลาน โรม และตูริน และถูกจัดให้เป็นเมืองที่ร่ำรวยเป็นอันดับที่ 91 ของโลกโดยวัดจากกำลังซื้อของประชากร และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมอยู่ที่ 43,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเหนือกว่าเศรษฐกิจของบูดาเปสต์และซูริก ท่าเรือเนเปิลส์เป็นท่าเรือที่มีความสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป (มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากท่าเรือฮ่องกง) เมื่อไม่นานมานี้เศรษฐกิจของเนเปิลส์ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และอัตราการว่างงานของประชากรในเมืองและบริเวณโดยรอบก็ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2542 กระนั้นก็ยังคงเต็มไปด้วยการทุจริตทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นแหล่งตลาดมืดที่เฟื่องฟู ในตัวเมืองเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทขนาดใหญ่สัญชาติอิตาลีหลายแห่ง เช่น MSC-Cruises และเป็นที่ตั้งของ Center Rai of Naples (สื่อ) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2501 ขณะที่ในเขตบัญโญลีเป็นที่ตั้งของสำนักงานขนาดใหญ่ขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ และยังมี SRM institution for economic research และบริษัทและศูนย์การศึกษา OPE ที่ตั้งอยู่ในตัวเมืองเช่นกัน เนเปิลส์เป็นสมาชิกเต็มของเครือข่าย Eurocities นอกจากนี้ ยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์กลางของ Acp/Ue และได้รับการยกย่องจาก Creative Cities Network ในสังกัดขององค์การยูเนสโกให้เป็นเมืองแห่งวรรณกรรม ในเขตโปซิลลีโปของเมืองเป็นที่ตั้งของ Vill Rosebery ซึ่งเป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการหนึ่งในสามแห่งของประธานาธิบดีอิตาลี ในศตวรรษที่ 20 เนเปิลส์ตกอยู่ภายใต้การปกครองของลัทธิฟาสซิสต์ และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองก็เป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดในอิตาลี ภายหลังสงครามสงบได้มีการบูรณะเมืองซึ่งได้ขยายตัวเมืองออกไปยังพื้นที่รอบนอก ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมานี้ ได้มีการสร้างย่านธุรกิจ (เชนโตรดีเรซีโอนาเล) ที่มีอาคารระฟ้าและโครงสร้างพื้นฐานแบบ TGV ในโรม รวมถึงการขยายเส้นทางรถไฟใต้ดินที่จะครอบคลุมพื้นที่ครึ่งหนึ่งของภูมิภาค และเนเปิลส์จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม International Astronautical Congress ใน พ.ศ. 2555 และ Universal Forum of Cultures ใน พ.ศ. 2556 เนเปิลส์เป็นเมืองที่เริ่มมีการทำพิซซาขึ้นเป็นครั้งแรก โดยในขณะนั้นจะใช้การทอดก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นการอบในภายหลัง นอกจากนี้วัฒนธรรม Neapolitan ยังมีอิทธิพลด้านดนตรีอย่างแพร่หลาย อย่างเช่นการประดิษฐ์ Romantic guitar และแมนโดลิน รวมทั้งอุปรากรและเพลงท้องถิ่น บุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ของเนเปิลส์คือนักบุญ Januarius ผู้ปกป้องคุ้มครองเมือง ส่วนตัวละครจากเรื่องแต่งที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์คือ พูลชิเนลลา และไซเรน สิ่งมีชีวิตจากมหากาพย์โอดิสซีของกรีก.

ใหม่!!: จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีและเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Italian Renaissance paintingจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีจิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีจิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตรกรรมยุคเรอเนสซองซ์อิตาลีจิตรกรรมยุคเรอเนสซองซ์ในอิตาลีจิตรกรรมยุคเรอเนซองส์อิตาลีจิตรกรรมยุคเรอเนซองส์ของอิตาลี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »