โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

ดัชนี จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

ักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชสำนักใต้ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1383 - ค.ศ. 1392 พระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้เป็นต้นราชสกุล ไดกะกุจิ ที่ปกครอง ราชสำนักใต้ เมื่อใส่คำว่าโกะเข้าไปพระนามของพระองค์จึงมีความหมายว่า จักรพรรดิคะเมะยะมะยุคหลัง หรือ จักรพรรดิคะเมะยะมะที่ 2.

25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1893พ.ศ. 1926พ.ศ. 1935พ.ศ. 1967พ.ศ. 2454ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศราชวงศ์ญี่ปุ่นราชสำนักใต้ราชสำนักเหนือรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่นวัดไดกะกุจิสงครามโลกครั้งที่สองจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิคะเมะยะมะจักรพรรดิโชเกจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึจักรพรรดิเมจิคริสต์ศตวรรษที่ 13นะระโกะโจ10 พฤษภาคม26 มีนาคม

พ.ศ. 1893

ทธศักราช 1893 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 1893 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1926

ทธศักราช 1926 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 1926 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1935

ทธศักราช 1935 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 1935 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1967

ทธศักราช 1967 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้

ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ (Northern and Southern Courts period) ยุคแห่งความวุ่นวายในการอ้างสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศโดยดำเนินไปใน ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ หรือตรงกับยุค รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ ในช่วงปี พ.ศ. 1877 - พ.ศ. 1935 แผนที่ที่แสดงถึงที่ตั้งราชสำนักของฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ในยุคนี้ ราชสำนักเหนือ สถาปนาโดย รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ โดยมีราชธานีอยู่ที นครหลวงเฮอัง หรือ เคียวโตะ ในปัจจุบันส่วน ราชสำนักใต้ สถาปนาโดย จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ โดยมีราชธานีอยู่ที่เมือง โยะชิโนะ โดยความขัดแย้งของทั้งสองราชสำนักกินเวลายาวนานประมาณเกือบ 60 ปีจนกระทั่ง จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 และจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชสำนักใต้ทรงประกาศยอมแพ้ต่อ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ แห่งราชสำนักเหนือเมื่อปี พ.ศ. 1935 ทำให้ยุคสองราชสำนักสิ้นสุดลงซึ่งราชสำนักญี่ปุ่นในปัจจุบันนั้นสืบเชื้อสายจากราชสำนักเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ

ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศหรือ '''ทะกะมิกุระ''' ในท้องพระโรง '''ชิชินเด็น''' ที่พระราชวังหลวงเคียวโตะ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ (Chrysanthemum Throne) ราชบัลลังก์ที่ใช้ประกอบ พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ท้องพระโรง ชิชินเด็น ในพระราชวังหลวงเคียวโตะ โดยจักรพรรดิพระองค์ล่าสุดที่ได้ประทับบนราชบัลลังก์นี้คือจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ในคราวพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1203 ตามตำนาน) โดยเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศนานที่สุดในโลกถึง 1,348 ปี และเป็นราชวงศ์ที่มีการสืบสันติวงศ์มากที่สุดในโลก จนถึงปัจจุบันรวมได้ถึง 125 รัชกาลแล้ว แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากอ้างว่าจักรพรรดิ 14 พระองค์แรกเป็นจักรพรรดิในตำนาน อนึ่งเนื่องจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นนั้นเริ่มทีหลังจากการมีจักรพรรดิ 14 พระองค์แรก จึงเป็นเรื่องถกเถียงกันว่า หากยังไม่ได้มีการรวมชาติใด ๆ จะมีจักรพรรดิได้เช่นไร สัญลักษณ์ประจำราชวงศ์คือ คิกุ (เรียกเต็มว่า คิกกะมนโช แปลว่า ลัญจกรดอกเบญจมาศ ราชวงศ์ญี่ปุ่นเป็นราชวงศ์แห่งเดียวในโลกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ถึงแม้จะพ่ายแพ้ในสงคราม แต่พระราชวงศ์ก็มิได้ถูกล้มล้าง แม้สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะจะเป็นผู้ให้การต่อต้านการทำสงครามแต่ก็เป็นผู้คุมอำนาจสำคัญของการทำศึกต่อต้านฝ่ายสัมพันธมิตร ที่ยินยอมให้สหรัฐอเมริกาเข้าควบคุมญี่ปุ่นแทนการถูกนำตัวไปขึ้นศาลโลกในฐานะอาชญากรสงครามและล้มล้างพระราชวงศ์ญี่ปุ่น ญี่ปุ่นเรียก "จักรพรรดิ" ว่า เท็นโน หมายถึง เทพเจ้าที่มาจากสวรรค์ ซึ่งเป็นคำจำกัดความของ "กษัตริย์ญี่ปุ่น" ราชวงศ์ญี่ปุ่นเคยได้รับการเคารพในฐานะอวตารเทพ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1946 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมีพระโองการว่า ทรงเป็นคนธรรมดา และประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชวงศ์ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักใต้

ราชสำนักใต้ (Southern Court) ราชสำนักที่จักรพรรดิ 4 พระองค์ทรงปกครองในช่วง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ โดยปกครองในช่วงปี ค.ศ. 1338 - ค.ศ. 1392 ซึ่งยุคนี้ได้สิ้นสุดลงเมื่อ จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชสำนักใต้ได้ประกาศยอมแพ้ต่อ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ แห่ง ราชสำนักเหนือ ที่มาของชื่อมาจากที่ตั้งเมืองหลวงของราชสำนักใต้คือ โยะชิโนะ (ปัจจุบันคืออำเภอหนึ่งใน จังหวัดนะระ) นั้นตั้งอยู่ทางใต้ของ นครหลวงเคียวโตะ เมืองหลวงของ ราชสำนักเหนือ ซึ่งบางทีก็เรียกว่า ราชสำนักโยะชิโนะ โดยราชสำนักใต้มีชื่อราชสกุลว่า ไดกะกุจิ ซึ่งมีที่มาจากชื่อพระตำหนักที่ใช้ว่าราชการในวัดของ จักรพรรดิโกะ-อุดะ พระราชโอรสของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ ผู้เป็นต้นราชสกุล.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชสำนักใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักเหนือ

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองหลวงในยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ราชสำนักเหนือ (Northern court) หรือ ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝ่ายเหนือ ราชสำนักที่ผู้อ้างสิทธิใน ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ทั้ง 6 พระองค์ปกครองในช่วง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ โดยมี นครหลวงเคียวโตะ เป็นเมืองหลวง ราชสำนักเหนือนั้นสืบเชื้อสายจากราชสกุล จิเมียวอิง ซึ่งแปลว่า สายใหญ่ ที่มี จักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะ ทรงเป็นต้นราชสกุลโดยราชสกุลของ จักรพรรดิอะกิฮิโตะ ที่ปกครองประเทศในปัจจุบันนั้นสืบเชื้อสายมาจาก ราชสำนักเหนือ นั่นเอง โดยที่มาของชื่อราชสกุลนั้นมาจากพระตำหนัก จิเมียวอิง ที่ประทับของจักรพรรดิโกะ-ฟุกะกุซะและ จักรพรรดิฟุชิมิ ภายหลังสละราชบัลลังก์แล้ว ราชสำนักเหนือสิ้นสุดลงเมื่อคราวที่ จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จาก ราชสำนักใต้ ทรงสละราชบัลลังก์ให้กับ จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จากราชสำนักเหนือเพื่อรวมแผ่นดินญี่ปุ่นเป็นหนึ่งเดียวเมื่อปี ค.ศ. 1392 เป็นอันสิ้นสุดยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ หมวดหมู่:ยุคมุโระมะจิ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและราชสำนักเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

วัดไดกะกุจิ

วัดไดกะกุ (Daikaku-ji) วัดใน พระพุทธศาสนา นิกาย ชินงง ที่ตั้งอยู่ใน เขตอุเคียว ทางตะวันตกของ นครเคียวโต.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและวัดไดกะกุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคะเมะยะมะ

อนุสาวรีย์ของจักรพรรดิคะเมะยะมะที่จังหวัดฟุกุโอะกะ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 90 อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี ทรงครองราชย์ในช่วงปี 1803-1817.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิคะเมะยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชเก

ักรพรรดิโชเก (Emperor Chōkei) จักรพรรดิองค์ที่ 98 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโชเกทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 1368 - ค.ศ. 1383 โดยทรงเป็นสมาชิกจาก ราชสำนักใต้ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโชเก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ

มเด็จพระจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ (ค.ศ. 1328 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1368) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นรัชกาลที่ 97 ตามการสืบราชบัลลังก์ตามแบบแผนดั้งเดิม และทรงเป็นสมาชิกในราชสำนักฝ่ายใต้ระหว่างยุคนันโบะกุ-โช ของราชสำนักฝ่ายเหนือ พระองค์ทรงอยู่ในราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1339 ถึงวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 1368 (ปีโชเฮย์ที่ 23, วันที่ 11 เดือน 3).

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-มุระกะมิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ

ักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น องค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชสำนักใต้ ใน ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะทรงครองสิริราชสมบัติระหว่างปี ค.ศ. 1383 - ค.ศ. 1392 พระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิคะเมะยะมะ จักรพรรดิในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 13 ผู้เป็นต้นราชสกุล ไดกะกุจิ ที่ปกครอง ราชสำนักใต้ เมื่อใส่คำว่าโกะเข้าไปพระนามของพระองค์จึงมีความหมายว่า จักรพรรดิคะเมะยะมะยุคหลัง หรือ จักรพรรดิคะเมะยะมะที่ 2.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ

ักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ จักรพรรดิองค์ที่ 100 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น และจักรพรรดิองค์แรกหลัง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1925 - พ.ศ. 1935 สมัยเป็นจักรพรรดิผู้อ้างสิทธิและ พ.ศ. 1935 - พ.ศ. 1955 สมัยเป็นจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น โดยพระนามของพระองค์นั้นนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิโคโก จักรพรรดิองค์ที่ 60 โดยเมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปพระนามของพระองค์จะแปลได้ว่า จักรพรรดิโคะมะสึที่ 2 หรือ จักรพรรดิโคะมะสึยุคหลัง.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิโกะ-โคะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและจักรพรรดิเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 13

ริสต์ศตวรรษที่ 13 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1201 ถึง ค.ศ. 1300.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและคริสต์ศตวรรษที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

นะระ

นะระ หรือ นารา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและนะระ · ดูเพิ่มเติม »

โกะโจ

กะโจ เป็นเมืองในจังหวัดนะระ ประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นเป็นเมืองเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและโกะโจ · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิโกะ-คะเมะยะมะและ26 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »