โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ดัชนี รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

91 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบอสตันบันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์ชู้รักเลดี้แชตเตอร์เลย์ชีวประวัติฟิลิป รอธพ.ศ. 2551พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพอล แฮนด์ลีย์กระทรวงกลาโหมสหรัฐกระท่อมน้อยของลุงทอมการุณยฆาตการถือผิวการต่อต้านยิวการปฏิวัติฝรั่งเศสกงจักรปีศาจก็องดีดมกราคม พ.ศ. 2549มหาตมา คานธีมุฮัมมัดมณฑลหูหนานยูลิสซีสยูโกสลาเวียรหัสลับดาวินชีรัฐควีนส์แลนด์รัฐคุชราตรัฐแมสซาชูเซตส์รัฐแคลิฟอร์เนียราชวงศ์จักรีริชาร์ด นิกสันลูอิส แคร์รอลวรรณกรรมวลาดีมีร์ นาโบคอฟวอลแตร์วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิลเลียม สไตรอนศาสนาอิสลามสหภาพโซเวียตสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหราชอาณาจักรสงครามกลางเมืองอังกฤษหนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ออนอเร เดอ บาลซักอัลดัส ฮักซลีย์อันเนอ ฟรังค์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์อดัม สมิธอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซนจอร์จ ออร์เวลล์...จอห์น มิลตันจอห์น สไตน์เบ็คจักรวรรดิรัสเซียทอมัส คนีลลีย์ดี. เอช. ลอว์เรนซ์ความมั่งคั่งของประชาชาติซอล เบลโลว์ซัลมัน รัชดีประชาไทประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศบังกลาเทศประเทศกัวเตมาลาประเทศรัสเซียประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศนอร์เวย์ประเทศแอฟริกาใต้ประเทศโมร็อกโกประเทศไอร์แลนด์ประเทศไทยประเทศเอลซัลวาดอร์ประเทศเคนยานาดีน กอร์ดิเมอร์นาซีเยอรมนีนครรัฐวาติกันแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์แดน บราวน์แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลงโรมันคาทอลิกโรเบิร์ต แม็กนามาราโลกวิไลซ์โลลิตาโจเซฟ สตาลินโทมัส เพนโนม ชอมสกีไมน์คัมพฟ์ไทม์เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เจมส์ จอยซ์เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์18 มกราคม ขยายดัชนี (41 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บอสตัน

อสตัน (Boston) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตนิวอิงแลนด์ บอสตันเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด มั่งคั่งที่สุด และมีวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ ธุรกิจที่สำคัญในบอสตัน ได้แก่ การศึกษา สถานพยาบาล การเงิน และเทคโนโลยี บอสตันได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางการศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 100 แห่งในเมืองบอสตัน โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยที่สำคัญและมีชื่อเสียงอื่นๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยบอสตัน วิทยาลัยบอสตัน มหาวิทยาลัยทัฟส์ และ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ทีมกีฬาหลายทีมประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงในบอสตัน ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและบอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

บันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์

ันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์ (The Diary of a Young Girl) เป็นหนังสือที่สร้างขึ้นจากสมุดบันทึกประจำวันของอันเนอ ฟรังค์ ขณะที่เธอและครอบครัวต้องหลบซ่อนตัวอยู่เป็นเวลาเกือบสองปี เพื่อหลบหนีการล่าชาวยิวในเนเธอร์แลนด์ขณะตกอยู่ภายใต้การควบคุมของนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของอันเนอ ฟรังค์ ถูกจับตัวได้ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและบันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชู้รักเลดี้แชตเตอร์เลย์

ู้รักเลดี้แชตเตอร์เลย์ (Lady Chatterley's Lover) เป็นนวนิยายโดยดี. เอช. ลอว์เรนซ์ นักเขียนชาวอังกฤษ เนื้อหากล่าวถึงความสัมพันธ์เชิงชู้สาวระหว่างสตรีชั้นสูง กับชายผู้ใช้แรงงาน โดยมีบทบรรยายถึงฉากการร่วมเพศ และใช้คำศัพท์ อย่างโจ่งแจ้ง ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและชู้รักเลดี้แชตเตอร์เลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวประวัติ

ีวประวัติ (biography) คืองานเขียนชนิดหนึ่งที่เป็นการกล่าวถึงเรื่องราวของบุคคลในช่วงชีวิต ชีวประวัติของบุคคลหนึ่งๆ ไม่เพียงแต่กล่าวถึง วันเกิด อาชีพ การศึกษา แต่จะมีการถึงเรื่องราวของแต่ละช่วงชีวิต และเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในชีวิต ทั้งนี้หากเป็นประวัติของผู้เขียนเอง จะนิยมเรียกว่า อัตชีวประวัติ ชีวประวัติ เป็นคำนาม มาจากคำว่า ชีว และ ประวัติ หมายถึง ประวัติชีวิตบุคคล ส่วนคำว่า biography มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือคำว่า bíos (βίος) ที่หมายถึง ชีวิต (life) และ gráphein (γράφειν) ที่มีความหมายว่าการเขียน (to write) ชีวประวัติ เป็นงานเขียนประเภทหนึ่งที่เป็นการนำเสนอข้อมูลและเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล โดยปกติจะนำเสนอในรูปแบบของหนังสือหรือบทความ บางครั้งอาจนำเสนอในรูปแบบของภาพยนตร์ก็ได้ ซึ่งองค์ประกอบของชีวประวัตินั้น อาจนอกเหนือไปจากข้อมูลส่วนบุคคล อาทิ การศึกษา การทำงาน ความสัมพันธ์ หรือ การเสียชีวิต ก็ได้ โดยลักษณะของชีวประวัติจะไม่เหมือนกับประวัติโดยย่อ (Profile) หรือประวัติส่วนตัวโดยสังเขป (Resume) ทั้งนี้อาจเป็นการนำเสนอเรื่องราวประสบการณ์ มุมมองของบุคคล รวมทั้ง เกร็ดต่างๆ ในชีวิต และการวิเคราะห์บุคลิกลักษณะของบุคคล ส่วน อัตชีวประวัติ นั้น เป็นคำนาม มาจากคำว่า อัต ชีว และ ประวัติ หมายถึง ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า Autobiography มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือคำว่า auto ที่หมายถึง ตนเอง ดังนั้น autobiography จึงหมายถึง การบอกเล่าชีวประวัติของตนเอง การทำงานก็เป็นชีวประวัติได้หากครอบคลุมช่วงชีวิตของบุคคลนั้น เช่น ชีวประวัติการทำงาน โดยปกติจะเป็นงานเขียนที่ได้จากเรื่องจริง แต่บางครั้งก็สามารถใช้บันเทิงคดีในการนำเสนอชีวิตของบุคคลได้ หนึ่งในรูปแบบการเขียนจะชีวประวัติจะครอบคลุมไปถึงการเขียนที่สืบทอดมาจากคนรุ่นก่อน รวมทั้งชีวประวัติในวรรณกรรม ภาพยนตร์ และสื่อรูปแบบอื่น.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและชีวประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป รอธ

ฟิลิป รอธ (Philip Roth) (19 มีนาคม ค.ศ. 1933 - 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2018) ฟิลิป รอธเป็นนักเขียนนิยายคนสำคัญชาวอเมริกัน รอธเริ่มมีชื่อเสียงจากงานเขียนนวนิยายเรื่อง Goodbye, Columbus (ลาก่อนโคลัมบัส) ตั้งแต่นั้นมาก็กลายเป็นนักเขียนผู้มีชื่อเสียงตลอดมา รอธได้รับรางวัลหนังสือแห่งชาติสองครั้ง, รางวัลวงการนักวิพากษ์หนังสือแห่งชาติ (National Book Critics Circle) และ รางวัลเพ็น/ฟอล์คเนอร์ (PEN/Faulkner Award) สามครั้ง ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและฟิลิป รอธ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พอล แฮนด์ลีย์

อล เอ็ม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและพอล แฮนด์ลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหมสหรัฐ

กระทรวงกลาโหมสหรัฐ (United States Department of Defense; ย่อ: DoD) เป็นกระทรวงของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ ที่ทำหน้าที่ประสานงานและตรวจตราการทำงานและหน่วยงานราชการของรัฐบาลสหรัฐที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงของชาติและการทหาร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและกระทรวงกลาโหมสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กระท่อมน้อยของลุงทอม

กระท่อมน้อยของลุงทอม (Uncle Tom's Cabin) เป็นบทประพันธ์ประเภทนวนิยายของแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ (Harriet Beecher Stowe) เกี่ยวกับปัญหาด้านทาสในสหรัฐอเมริกา วางจำหน่ายครั้งแรกวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1852 นวนิยายเรื่องนี้มีอิทธิพลกับทัศนคติที่มีต่อชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และพวกทาสในสหรัฐอเมริกาอย่างมาก จนกระทั่งนำไปสู่สงครามกลางเมืองอเมริกาในที่สุด สโตว์เป็นชาวคอนเนตทิกัต เป็นครูที่วิทยาลัยสตรีฮาร์ตฟอร์ด และเป็นแกนนำสนับสนุนการเลิกทาสที่กระตือรือร้นอย่างยิ่ง เธอใช้ตัวละคร "ลุงทอม" เป็นแกนหลักในนวนิยาย เขาเป็นทาสผิวดำผู้ต้องทนทุกข์ทรมานมาเป็นเวลานาน เนื้อเรื่องยังเกี่ยวข้องกับทาสคนอื่น ๆ และเจ้านายผู้เป็นเจ้าของทาสเหล่านั้น นวนิยายพรรณนาอย่างลึกซึ้งถึงความเป็นจริงอันโหดร้ายของการเป็นทาส ในขณะเดียวกันก็สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับความรักและความศรัทธาของชาวคริสต์ซึ่งสามารถเอาชนะได้แม้สิ่งที่พังพินาศลงอย่างสิ้นเชิง คือความเป็นมนุษย์ที่ต้องสูญสิ้นไปเนื่องจากตกเป็นทาสThe Complete Idiot's Guide to American Literature โดย ลอรี อี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและกระท่อมน้อยของลุงทอม · ดูเพิ่มเติม »

การุณยฆาต

การุณยฆาตราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและการุณยฆาต · ดูเพิ่มเติม »

การถือผิว

แผ่นป้ายการแยกผิวบนหาด Durban ในภาษาอังกฤษ ภาษาแอฟริกัน และภาษาซูลู การถือผิวในประเทศแอฟริกาใต้ (Apartheid) เป็นระบบการแบ่งแยกกลุ่มคนต่างเชื้อชาติในประเทศแอฟริกาใต้ออกจากกัน บังคับใช้โดยรัฐบาลของพรรค National Party ในประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและการถือผิว · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านยิว

การ์ตูนเยาะหยันชาวยิวจากฝรั่งเศส ค.ศ. 1898 หน้าปกหนังสือ “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” โดยมารร์ ฉบับ ค.ศ. 1880 การต่อต้านยิว (Antisemitism หรือ Anti-semitism หรือ anti-Semitism หรือ Judeophobia) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายความเป็นอคติ (prejudice) ต่อหรือความรู้สึกต่อต้านชาวยิว ที่มักจะมาจากความมีอคติต่อศาสนา, วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ของชาวยิว แม้ว่าที่มาของคำว่า “ลัทธิความเป็นอคติต่อเซมิติค” ในภาษาอังกฤษ “Antisemitism” ตามอักขระแล้วจะหมายถึงความเป็นอคติต่อชนเซมิติค (Semitic peoples) แต่โดยทั่วไปคำนี้จะหมายถึงเฉพาะความเป็นอคติต่อชาวยิวตั้งแต่เริ่มใช้กันมา"Antisemitism has never anywhere been concerned with anyone but Jews." Bernard Lewis.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและการต่อต้านยิว · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กงจักรปีศาจ

กงจักรปีศาจ (The Devil's Discus) เป็นหนังสือสืบสวนการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) แห่งสยาม (หรือประเทศไทย) เขียนโดยนักเขียนชาวอังกฤษ-แอฟริกาใต้ที่ชื่อ เรย์นี ครูเกอร์ (Rayne Kruger).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและกงจักรปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ก็องดีด

ก็องดีด (Candide) นวนิยายแนวปรัชญาของวอลแตร์ นักประพันธ์และนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เขาเริ่มเขียนปรัชญานิยาย (le conte philosophique) เรื่องนี้ในรูปแบบของร้อยแก้วในเชิงเสียดสีที่ใช้คำพูดที่มีความหมายขัดแย้งกันในปี ค.ศ. 1758 ซึ่งเขาอายุได้ 64 ปีแล้ว จึงอาจกล่าวได้ว่า ก็องดีดเป็นผลงานของบุคคลที่พร้อมด้วยวัยวุฒิและคุณวุฒิอย่างแท้จริง ก่อนหน้านี้วอลแตร์เคยเขียนบทกวี บทละคร บทความเชิงปรัชญา หนังสือประวัติศาสตร์ และเป็นราชบัณฑิต เขามีประสบการณ์ชีวิตที่โชกโชน เคยติดคุก เคยถูกเนรเทศ เคยมีชื่อเสียงเกียรติยศแล้วกลับตกต่ำในราชสำนักปารีส ราชสำนักเบอร์ลิน ประสบการณ์ชีวิตที่ผกผัน การเดินทาง การได้เห็น ได้อ่าน ได้ศึกษามามากทำให้วอลแตร์ไม่อาจมองโลกในแง่ดีได้ เขาจึงเขียนผลงานชิ้นนี้ออกมาเพื่อแสดงความคิดเห็นของเขาลงไป โดยอาศัยนิยายเป็นสื่อกลางในการนำเสนอ นิทานปรัชญาเรื่องนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1759 และตีพิมพ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1961 ซึ่งวอลแตร์ได้เพิ่มชื่อที่สองให้ก็องดีด ว่า l’optimisme หรือลัทธิสุทรรศนิยม เพื่อเสียดสีบุคคลที่เชื่อตาม ไลบ์นิซ (Leibnitz) นักปราชญ์ชาวเยอรมันที่เชื่อว่า “ทุกสิ่งทุกอย่างที่พระเจ้าประทานมาเป็นไปด้วยดี”.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและก็องดีด · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและมกราคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและมหาตมา คานธี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลหูหนาน

มณฑลหูหนาน (จีน: 湖南省) ชื่อย่อ เซียง (湘)ตั้งอยู่บนลองจิจูด 108 องศา 47 ลิปดาถึง 114 องศา 45 ลิปดา ตะวันออก และละติจูด 24 องศา 39 ลิปดาถึง 30 องศา 28 ลิปดาเหนือ ทางตอนใต้ของทะเลสาบต้งถิง (洞庭湖) ทะเลสาบใหญ่ทางตอนกลางของแม่น้ำแยงซี มีเมืองหลวงชื่อ ฉางชา มีเนื้อที่ 211,800 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและมณฑลหูหนาน · ดูเพิ่มเติม »

ยูลิสซีส

ูลิสซีส (Ulysses) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยเจมส์ จอยซ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเป็นตอนๆ ในนิตยสารอเมริกัน “The Little Review” ตั้งแต่เดืยนมีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและยูลิสซีส · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวีย

ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รหัสลับดาวินชี

รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ-สืบสวนของแดน บราวน์ วางจำหน่ายเมื่อ พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีฉบับแปล 44 ภาษา และมียอดขายทั่วโลกรวมกันมากกว่า 80 ล้านเล่ม (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) รหัสลับดาวินชีเป็นผลงานลำดับที่สองในชุดที่มีโรเบิร์ต แลงดอน เป็นตัวเอก สำหรับหนังสือฉบับภาษาไทยนั้น จัดพิมพ์โดยแพรวสำนักพิมพ์ แปลโดยอรดี สุวรรณโกมล เนื้อเรื่องของรหัสลับดาวินชีเกี่ยวกับทฤษฎีสมคบคิดของคริสตจักร ในการปกปิดประวัติที่แท้จริงของพระเยซู รวมไปถึงปริศนาของจอกศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของมารีย์ชาวมักดาลา ในประวัติศาสตร์ของศาสนาคริสต์ การนำเสนอประเด็นเหล่านี้ในนิยายทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมากถึงความเหมาะสม และความถูกต้องของข้อมูล โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์และนิกายโอปุสเดอี นิยายเรื่องนี้ได้มีการอ้างถึงงานศิลปะและวรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี ศิลปินชาวอิตาลีตามชื่อเรื่อง ผลงานของดาวินชีที่นำมาอ้างถึงได้แก่ โมนาลิซา และภาพเขียน อาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็นต้น บริษัทโคลัมเบียพิคเจอร์สได้สร้างภาพยนตร์ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องนี้ ออกฉายเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยทอม แฮงส์ นักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ รับบทเป็นโรเบิร์ต แลงดอน ชื่อที่ใช้ฉายในประเทศไทยคือ รหัสลับระทึกโลก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและรหัสลับดาวินชี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐควีนส์แลนด์

รัฐควีนส์แลนด์ (Queensland) เป็นรัฐในประเทศออสเตรเลียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของแผ่นดินทวีป ติดกับนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี ทางตะวันตก ติดกับรัฐเซาท์ออสเตรเลียทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ และรัฐนิวเซาท์เวลส์ ทางทิศใต้ ทางตะวันตกของรัฐควีนส์แลนด์ เป็นทะเลปะการังและมหาสมุทรแปซิฟิก รัฐควีนส์แลนด์มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียและเป็นรัฐที่มีประชากรมาที่สุดเป็นอันดับ 3 รองจากรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย พื้นที่แต่เดิมมีคนพื้นเมืองออสเตรเลียและชาวเกาะทอร์เรสสเตรทอาศัยอยู่ ที่มาอยู่ราว 40,000 ถึง 65,000 ปีก่อน ต่อมาเป็นอาณานิคมของอังกฤษและแยกจากนิวเซาท์เวลส์เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและรัฐควีนส์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐคุชราต

รัฐคุชราต คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานและทะเลอาหรับ รัฐคุชราต เป็นแหล่งอุตสาหกรรมแหล่งแรกๆในอินเดีย จนได้ชื่อว่าแมนเชสเตอร์ตะวันออก เป็นบ้านเกิดของมหาตมะ คานธี เป็นรัฐที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชากรมากกว่า 80% ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ เมืองสุรัตเป็นศูนย์กลางการเจียระไนเพชรระดับโลก คุช หมวดหมู่:รัฐคุชราต หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและรัฐคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแมสซาชูเซตส์

รัฐแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts) เป็นรัฐหนึ่งในเขตนิวอิงแลนด์ ในสหรัฐอเมริกา มีมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ มหาวิทยาลัยทัฟส์ ประกอบไปด้วย 50 เมืองขนาดใหญ่ และ 301 เมืองขนาดเล็กใน 14 เคาน์ตี เมืองขนาดใหญ่ในรัฐได้แก่ บอสตัน สปริงฟิลด์ วูสเตอร์ โลเวลล์ บล็อกตัน และเคมบร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและรัฐแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ลูอิส แคร์รอล

ลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน (27 มกราคม ค.ศ. 1832 - 14 มกราคม ค.ศ. 1898) หรือที่ผู้คนรู้จักกันในนามปากกา ลูอิส แคร์รอล เขาเป็นทั้งนักเขียนนวนิยาย นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกลิคัน และช่างภาพ ผลงานเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ อลิซผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์ และภาคต่อที่ชื่อ Through the Looking-Glass นอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นอีก เช่น "The Hunting of the Snark" และ "Jabberwocky" ซึ่งทั้งหมดเป็นวรรณกรรมแนว "literary nonsense" จุดเด่นในวรรณกรรมของชาลส์ ลัตวิดจ์ ดอดจ์สัน คือการเล่นคำ, ตรรกะ, และ แฟนตาซี ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของเด็กๆ, และยิ่งกว่านั้นงานเขียนของเขาได้ฝังลึกเข้าไปในวัฒนธรรมสมัยนิยม, และมีอิทธิพลโดยตรงกับนักเขียนจำนวนมากในเวลาถัดม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและลูอิส แคร์รอล · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรม

วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ นาโบคอฟ

วลาดีมีร์ นาโบคอฟ (Владимир Владимирович Набоков, Vladimir Vladimirovich Nabokov) (22 เมษายน ค.ศ. 1899 – 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1977) วลาดีมีร์ นาโบคอฟเป็นนักประพันธ์ชาวรัสเซีย เป็นนักเขียนนวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวรัสเซีย “โลลิตา” (ค.ศ. 1955) ถือกันว่าเป็นงานชิ้นสำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งของนาโบคอฟที่แสดงความสามารถในการเล่นคำและรายละเอียดที่เป็นลักษณะการเขียนที่มีชื่อเสียงของนาโบคอฟ Modern Library ลำดับโลลิตาเป็นอันดับสี่ของนวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี (Modern Library 100 Best Novels) และบันทึกความทรงจำชื่อ “Speak, Memory” อยู่ในอันดับที่แปดของประเภทงานเขียนทั่วไปโดยโมเดิร์นไลบรารี (Modern Library nonfiction list).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและวลาดีมีร์ นาโบคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วอลแตร์

ฟร็องซัว-มารี อารูเอ (François-Marie Arouet) หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ (Voltaire) เป็นปราชญ์, นักเขียน และนักประวัติศาสตร์ในยุคเรืองปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผู้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา, เสรีภาพในการพูด และยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรั.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและวอลแตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ประธานาธิบดีเคนเนดี พบปะกับเอกอัครราชทูตโซเวียต อังเดร โกรมิโก ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ก่อนเกิดการเผชิญหน้า แผนที่แสดงรัศมีของการใช้ขีปนาวุธที่คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1962 เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ ยู-2 ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อยขีปนาวุธ กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของฟีเดล กัสโตร เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของตุรกีและสหภาพโซเวียต ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำทะเลแคริบเบียน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม สไตรอน

วิลเลียม สไตรอน (William Styron) (11 มิถุนายน ค.ศ. 1925 - (1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006) วิลเลียม สไตรอนเป็นนักเขียนนวนิยาย และ นักเขียนบทความคนสำคัญชาวอเมริกัน ผลงานชิ้นสำคัญของวิลเลียม สไตรอนก็ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและวิลเลียม สไตรอน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองอังกฤษ

“หนูเห็นพ่อครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่?” โดย วิลเลียม เฟรดเดอริค ยีมส์ (William Frederick Yeames) เป็นภาพรัฐสภาถามลูกชายของฝ่ายนิยมกษัตริย์ระหว่างสงครามกลางเมือง สงครามกลางเมืองอังกฤษ (English Civil War; ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1651) เป็นสงครามกลางเมืองของอังกฤษ, สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ที่ต่อเนื่องกันหลายครั้งระหว่างฝ่ายรัฐสภา และฝ่ายกษัตริย์นิยม สงครามกลางเมืองอังกฤษครั้งที่ 1 เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1642 ถึงปี ค.ศ. 1646; ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1648 ถึงปี ค.ศ. 1649 เป็นสงครามของความขัดแย้งระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ฝ่ายหนึ่งและผู้สนับสนุนรัฐสภายาวอีกฝ่ายหนึ่ง ขณะที่ครั้งที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1651 เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้สนับสนุนพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และผู้สนับสนุนรัฐสภารัมพ์อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามกลางเมืองจบลงด้วยชัยชนะของฝ่ายรัฐสภาที่ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 ผลของสงครามกลางเมืองครั้งที่สองนำไปสู่การปลงพระชนม์ของพระเจ้าชาลส์ที่ 1, การลี้ภัยของพระราชโอรสพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และการเปลี่ยนระบบการปกครองของอังกฤษจากระบอบพระมหากษัตริย์ไปเป็นระบบเครือจักรภพแห่งอังกฤษ ระหว่างปี ค.ศ. 1649 ถึงปี ค.ศ. 1653 และต่อจากนั้นไปเป็นระบบรัฐผู้พิทักษ์ภายใต้การนำของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์ระหว่างปี ค.ศ. 1653 ถึงปี ค.ศ. 1659 เอกสิทธิ์ในการนับถือคริสต์ศาสนาของนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ในอังกฤษสิ้นสุดลงด้วยการรวม การปกครองโดยโปรเตสแตนต์ (Protestant Ascendancy) ในไอร์แลนด์ ในด้านรัฐธรรมนูญสงครามครั้งนี้เป็นการวางรากฐานว่าการปกครองระบอบพระมหากษัตริย์ไม่สามารถทำได้โดยมิได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา แต่อันที่จริงแล้วปรัชญานี้ก็มิได้ปฏิบัติกันอย่างจริงจังจนกระทั่งถึงสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ในปลายคริสต์ศตวรรษ.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและสงครามกลางเมืองอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่

หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ (Nineteen Eighty-Four) บ้างใช้ว่า 1984 เป็นนวนิยายดิสโทเปียโดย จอร์จ ออร์เวลล์ นักเขียนชาวอังกฤษ ตีพิมพ์ใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและหนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ · ดูเพิ่มเติม »

ออนอเร เดอ บาลซัก

ออนอเร เดอ บาลซัก (Honoré de Balzac; 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1799 - 18 สิงหาคม ค.ศ. 1850) เป็นนักเขียนนิยายและนักเขียนบทละครชาวฝรั่งเศส ผลงานชิ้นเอกของเขาคือนิยายชุดต่อเนื่องประกอบด้วยเรื่องสั้นและนิยายหลายเรื่อง เรียกชื่อว่า นาฏกรรมชีวิต (La Comédie humaine) ซึ่งแสดงให้เห็นฉากชีวิตของชาวฝรั่งเศสในยุคหลังจากที่นโปเลียนที่ 1 สิ้นอำนาจลงในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและออนอเร เดอ บาลซัก · ดูเพิ่มเติม »

อัลดัส ฮักซลีย์

อัลดัส ฮักซลีย์ อัลดัส เลโอนาร์ด ฮักซลีย์ (Aldous Leonard Huxley, 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 (ค.ศ. 1894) - 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963)) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ ที่อพยพไปสหรัฐอเมริกา เขาเป็นสมาชิกของครอบครัวฮักซลีย์อันโด่งดัง ที่มีนักคิดทางวิทยาศาสตร์หลายคน แม้จะเป็นที่รู้จักจากนวนิยายและความเรียงที่มีเนื้อหากว้างขวาง เขายังพิมพ์เรื่องสั้น, บทกวี และงานเขียนเชิงท่องเที่ยว ฮักซลีย์วิเคราะห์และวิพากษ์วิจารณ์ขนบธรรมเนียม ค่านิยม และแนวคิดของสังคม รวมถึงการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ในทางที่ไม่ถูกต้องผ่านงานเขียนของเขา ในขณะที่สิ่งที่เขาสนใจในช่วงต้นอาจมองว่าเป็นแนว "มนุษย์นิยม" แต่ที่สุดแล้ว เขากลับมาสนใจเกี่ยวกับเรื่องราวทาง "จิตวิญญาณ" เช่นเรื่องเกี่ยวกับจิตวิทยาเหนือคำอธิบาย และปรัชญาที่วางอยู่บนรากฐานของความเชื่อทางจิตวิญญาณ ซึ่งเขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้เช่นกัน ในช่วงท้ายของชีวิต เขาถูกจัดให้เป็น "ผู้นำของความคิดสมัยใหม่" โดยกลุ่มคนบางกลุ่ม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและอัลดัส ฮักซลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากพรรคนาซีเริ่มมีอำนาจ ต่อมาเมื่อกองทัพนาซีเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ พร้อมกับออกมาตรการควบคุมชาวยิวจำนวนมาก เธอและครอบครัวกับผู้อื่นอีก 4 คนจึงต้องไปหลบซ่อนตัวอยู่ในอาคารสำนักงานในกรุงอัมสเตอร์ดัมของออทโท ฟรังค์ ผู้เป็นบิดาในห้องลับบนหลังคาตั้งแต่ พ.ศ. 2485 จนถูกหักหลังและถูกนาซีจับเข้าค่ายกักกันในปี พ.ศ. 2487 อันเนอ ฟรังค์เสียชีวิตด้วยโรคไข้รากสาดใหญ่ในเวลาใกล้เคียงกับพี่สาวในค่ายกักกันแบร์เกิน-เบลเซินประมาณเดือนกุมภาพันธ์ หรือมีนาคม พ.ศ. 2488 สมาชิกตระกูลฟรังค์มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียว คือออทโทผู้เป็นพ่อ เขากลับมาอัมสเตอร์ดัมหลังสงครามสิ้นสุดและได้พบสมุดบันทึกของเธอที่เพื่อนเก็บรักษาไว้ให้ จึงพยายามนำออกตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2490 ใช้ชื่อหนังสือว่า "Het Achterhuis" หลังจากนั้นมีการแปลจากต้นฉบับภาษาดัตช์ออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย ฉบับภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า "The Diary of a Young Girl" ส่วนฉบับแปลภาษาไทยใช้ชื่อว่า "บันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์" อันเนอ ฟรังค์ได้รับสมุดบันทึกเป็นของขวัญวันเกิดครบ 13 ขวบ เธอเริ่มเขียนบันทึกตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2485 และสิ้นสุดในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 บันทึกได้รับการแปลจากภาษาดัตช์ออกเป็นภาษาต่าง ๆ มากมายและกลายเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่มีผู้อ่านมากที่สุดในโลก นอกจากภาพยนตร์แล้วยังมีการนำเรื่องราวไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชุดโทรทัศน์ ละครเวที และแม้แต่อุปรากร งานบันทึกของอันเนอ ฟรังค์ถือว่าเป็นการเขียนงานอย่างผู้ใหญ่เต็มตัวและเต็มไปด้วยความช่างคิด แสดงให้เห็นชีวิตประจำวันที่แท้จริงภายใต้อำนาจพวกนาซี เป็นการพรรณนาถึงเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โด่งดังที่สุด อันเนอ ฟรังค์ ได้รับเลือกจากนิตยสารไทมส์ให้เป็น 1 ใน 100 บุคคลสำคัญแห่งศตวรรษที่ 20 และกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้เพื่อเกียรติภูมิของมนุษ.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและอันเนอ ฟรังค์ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อดัม สมิธ

อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาวสกอตแลนด์ อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิดเศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็นที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment) โดยเป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งศาสตรนิพนธ์2 เรื่องคือ ทฤษฎีว่าด้วยศีลธรรมเร้าอารมณ์ (พ.ศ. 2302).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและอดัม สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน (Александр Исаевич Солженицын Aleksandr Isayevich Solzhenitsyn) (11 ธันวาคม ค.ศ. 1918 - 3 สิงหาคม ค.ศ. 2008, Gazeta.ru (Russian)) อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทละคร แ ละ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวรัสเซีย โซลเซนิตซิน งานเขียนของโซลเซนิตซินทำให้โลกทราบถึงความทารุณของระบบค่ายแรงงานกูลาก (Gulag) ในสหภาพโซเวียตโดยเฉพาะในเรื่อง The Gulag Archipelago (เกาะกูลาก) และ One Day in the Life of Ivan Denisovich (วันหนึ่งในชีวิตของอิวาน เดนิโซวิค) ซึ่งเป็นงานสองชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดของโซลเซนิตซิน งานเขียนอันสำคัญเหล่านี้เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน

แฮนส์ คริสตีแยน อานาเซิน ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน (Hans Christian Andersen; ค.ศ. 1805-1875) ตามความเห็นของผู้คนที่มีชีวิตอยู่ร่วมสมัยกับเขา อานาเซินเป็นชาวเดนมาร์ก เขาเกิดในสลัม เป็นตัวตลกน่าสมเพชให้คนหัวเราะมาตลอดชีวิต แต่แล้วเขาก็ใช้คติหัวเราะทีหลังดังกว่า ด้วยบรรดางานเขียนที่เขาเรียกมันว่า "เรื่องเล่น ๆ" ที่เป็นนิทานสำหรับเด็ก ซึ่งทำให้ผู้ใหญ่ทั่วโลกนิ่งฟังด้วยตาโต แม้ว่าเขาจะเป็นนักเขียนบทละครพื้น ๆ กวีฝีมือธรรมดา นักเขียนนวนิยายชั้นดี และนักเขียนเรื่องท่องเที่ยวชั้นเลิศ หากในด้านนิทานแล้ว เขาก้าวไปถึงขั้นเยี่ยมยอดไร้ที่ติ กล่าวกันว่านิทานของเขาเป็นบรรณาการยิ่งใหญ่จากเดนมาร์กแก่โลกวรรณกรรม ฐานะเทียมเท่าโฮเมอร์, ดันเต, เชกสเปียร์, เซร์บันเตส และเกอเทอ จากการนำนิทานพื้นบ้านมาเล่าใหม่ เขาก็เริ่มแต่งนิทานเอง แล้วก็เติมความเศร้าหรือน่ากลัวเข้าไป เสริมด้วยจินตนาการเพ้อฝันและลีลาภาษาพูดเรียบง่ายเพื่อย้อมความหวานซึ้งให้กับคติของเรื่อง ต้นสน (1845) เป็นเรื่องหนึ่งอันเป็นที่ชื่นชอบกันมากที่สุด เช่นเดียวกับ เด็กหญิงไม้ขีดไฟ, เงือกน้อย, ราชินีหิมะ, ไนติงเกล, กล่องชุดจุดไฟ, ลูกเป็ดขี้เหร่ และ ชุดใหม่ของพระร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ออร์เวลล์

อร์จ ออร์เวลล์ จอร์จ ออร์เวลล์ (George Orwell) เป็นนามปากกาของ เอริก อาร์เทอร์ แบลร์ (Eric Arthur Blair) นักเขียนชาวอังกฤษ (25 มิถุนายน พ.ศ. 2446 - 21 มกราคม พ.ศ. 2493) นอกจากจะเป็นนักวิจารณ์ด้านการเมืองและวัฒนธรรมแล้ว ออร์เวลล์ยังเป็นนักเขียนความเรียงที่มีผู้ชื่นชมมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 อย่างไรก็ตามเขาเป็นที่รู้จักจากนวนิยายสองเรื่องที่เขาเขียนช่วงท้ายทศวรรษ 1940 ชื่อ แอนิมัลฟาร์ม (Animal Farm) ซึ่งเป็นนิยายล้อเลียนการเมือง (มีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนในภายหลังด้วย) และ หนึ่งเก้าแปดสี่ (1984) ซึ่งกล่าวถึงดิสโทเปียที่มีการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จได้อย่างเห็นภาพ จนกระทั่งมีการใช้คำว่า แบบออร์เวลล์ เพื่อใช้เรียกระบบระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในการครอบงำความ.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและจอร์จ ออร์เวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น มิลตัน

กวีนิพนธ์เรื่อง "สวรรค์หาย" ของจอห์น มิลตัน จอห์น มิลตัน (John Milton, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2151 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2217) เป็น กวี เกิดในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และใช้เวลา 6 ปีเต็มในการพักผ่อนไปและศึกษาไปที่ฮอร์ตันซึ่งมิลตันกล่าวว่าเป็นการเตรียมตัวเข้าสู่ชีวิตแห่งการเป็นกวี ที่ฮอร์ตัน มิลตันได้เขียนงานชื่อ L’Allegro และ Il Penseroto (พ.ศ. 2175) Comus (พ.ศ. 2176) และ Lycidas (พ.ศ. 2180) มิลตันจบการศึกษาอย่างเป็นทางการด้วยการไปทัศนศึกษาที่ประเทศอิตาลี (พ.ศ. 2181-82) กวีนิพนธ์ในภาษาละติน อันเป็นความสามารถที่โดดเด่น ทำให้มิลตันได้รับปริญญาเกียรตินิยม การมีหัวปฏิวัติที่รุนแรงในระหว่างสงครามกลางเมืองทำให้มิลตันมีชิ้นงานออกมาน้อยมากซึ่งเป็นเวลาต่อเนื่องกันถึง 20 ปี มีจะก็เพียงงานโคลง “ซอนเน็ท” (Sonnets-โครงชนิดหนึ่งมี 14 บรรทัด) ออกมาเป็นครั้งคราว เมื่อมิลตันกลับลอนดอนในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและจอห์น มิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น สไตน์เบ็ค

อห์น เอิร์นส์ต สไตน์เบ็ค จูเนียร์ (John Ernst Steinbeck, Jr.; พ.ศ. 2445-2511) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกัน เกิดที่ ซาลีนาส รัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รับรางวัลรางวัลพูลิตเซอร์ ค.ศ. 1940 (พ.ศ. 2484) และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและจอห์น สไตน์เบ็ค · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส คนีลลีย์

ทอมัส คนีลลีย์ (Thomas Keneally) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ทอมัส คนีลลีย์เป็นนักเขียนนวนิยาย, บทละคร และสารคดีชาวออสเตรเลีย ผลงานสำคัญของทอมัส คนีลลีย์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ “Schindler's Ark” (เรือโนอาห์ของชินด์เลอร์) ที่ได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและทอมัส คนีลลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดี. เอช. ลอว์เรนซ์

ี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและดี. เอช. ลอว์เรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความมั่งคั่งของประชาชาติ

การสอบสวนธรรมชาติและสาเหตุแห่งความมั่งคั่งของประชาชาติ (An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations) หรือมักเรียกชื่อเรื่องสั้นว่า ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) เป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของนักเศรษฐศาสตร์และนักจริยปรัชญาชาวสกอต อดัม สมิธ พิมพ์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและความมั่งคั่งของประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ซอล เบลโลว์

ซอล เบลโลว์ หรือ โซโลมอน เบลโลว์ (Saul Bellow หรือ Solomon Bellows) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1915 - 5 เมษายน ค.ศ. 2005) ซอล เบลโลว์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอเมริกันที่เกิดในแคนาดา เบลโลว์ได้รับทางวรรณกรรมหลายรางวัลที่รวมทั้งรางวัลพูลิตเซอร์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและซอล เบลโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัลมัน รัชดี

ซัลแมน รัชดี เซอร์ อาเหม็ด ซัลแมน รัชดี (Ahmed Salman Rushdie) (19 มิถุนายน พ.ศ. 2490 -) นักเขียนลูกครึ่งอินเดีย-อังกฤษ เกิดที่เมืองบอมเบย์ ผู้เคยได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ จากผลงานเขียนชิ้นที่สอง เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและซัลมัน รัชดี · ดูเพิ่มเติม »

ประชาไท

ประชาไท เป็นหนังสือพิมพ์ออนไลน์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2547 โดย จอน อึ๊งภากรณ์ นำเสนอข่าวสารทั่วไป โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสังคม การเมือง สิทธิมนุษยชน บทสัมภาษณ์และข้อเขียนของนักวิชาการ นักเคลื่อนไหว องค์กรสิทธิ และองค์กรพัฒนาเอกชน ผู้อำนวยการปัจจุบันคือ จีรนุช เปรมชัยพร บรรณาธิการคือ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข, เว็บไซต์ประชาไท, เรียกดูเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประชาไท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัวเตมาลา

กัวเตมาลา (Guatemala) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอฟริกาใต้

รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอลซัลวาดอร์

อลซัลวาดอร์ (El Salvador) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ (สเปน: República de El Salvador) เป็นประเทศในแถบอเมริกากลาง มีจำนวนประชากรเกือบ 6.7 ล้านคน เป็นประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของ (ทวีป) อเมริกา (โดยเฉพาะในเขตเมืองหลวงซานซัลวาดอร์) และเป็นประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาค ประเทศเอลซัลวาดอร์ได้ยกเลิกสกุลเงินโกลอนและเปลี่ยนมาใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแทนในปี ค.ศ. 2001.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศเอลซัลวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเคนยา

นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและประเทศเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

นาดีน กอร์ดิเมอร์

นาดีน กอร์ดิเมอร์ (Nadine Gordimer) (20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2014) นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นนักเขียน, นักเขียนบทละคร และ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองคนสำคัญชาวแอฟริกาใต้ กอร์ดิเมอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1991 งานเขียนของกอร์ดิเมอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับจริยธรรมและปัญหาเรื่องผิวโดยเฉพาะการกีดกันเรื่องผิวในแอฟริกาใต้ นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการต่อต้านการถือผิว และเข้าเป็นสมาชิกของพรรคสมัชชาแห่งชาติแอฟริกาในยุคที่เป็นพรรคนอกกฎหมาย เมื่อไม่นานมานี้ก็ได้เข้ามามีบทบาทในกำจัดเอชไอวี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและนาดีน กอร์ดิเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์

แฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ (Harriet Beecher Stowe; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2354 – 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2439) เป็นนักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองลิชฟิลด์ รัฐคอนเนตทิคัต ประเทศสหรัฐอเมริกา ในครอบครัวที่เคร่งศาสนานิกายพิวริแทน สโตว์ได้รับการศึกษาเบื้องต้นในโรงเรียนของพี่สาวและต่อมาได้เป็นครูในโรงเรียนนี้ ต่อมาได้แต่งงานกับศาสตราจารย์ด้านการศาสนาในปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและแฮเรียต บีเชอร์ สโตว์ · ดูเพิ่มเติม »

แดน บราวน์

แดน บราวน์ (Dan Brown) นักเขียนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงกว้างขวางจากผลงานนิยายสืบสวนสอบสวนอิงประวัติศาสตร์อย่าง รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและแดน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง

แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง (Im Westen nichts Neues; All Quiet on the Western Front) เป็นนวนิยายของเอริค มาเรีย เรอมาร์ก ทหารผ่านศึกชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 1 สะท้อนถึงความสยดสยองของสงคราม และความรู้สึกของเหล่าทหารเมื่อต้องกลับมาใช้ชีวิตแบบพลเรือนอีกครั้ง หนังสือตีพิมพ์ครั้งแรกในเยอรมัน ใช้ชื่อเรื่องว่า Im Westen nichts Neues ในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและแนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แม็กนามารา

รเบิร์ต สแทรนจ์ แม็กนามารา (Robert Strange McNamara) ผู้บริหารธุรกิจชาวอเมริกัน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมคนที่แปดแห่งสหรัฐอเมริกา ในรัฐบาลประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดีและลินดอน บี. จอห์นสัน ระหว่าง 21 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโรเบิร์ต แม็กนามารา · ดูเพิ่มเติม »

โลกวิไลซ์

ลกวิไลซ์ (Brave New World) เป็นนวนิยายแนวดิสโทเปีย ที่เขียนโดย อัลดัส ฮักซเลย์ ในปี พ.ศ. 2475 เนื้อเรื่องกล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีการสืบพันธุ์, สุพันธุศาสตร์, และการควบคุมจิตใจเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม นิยายเรื่องนี้เป็นนิยายที่โด่งดังและเป็นที่จดจำได้มากที่สุดของฮักซเลย์ ฉบับพิมพ์ใหม่เป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า โลกที่เราเชื่อ ชื่อเรื่อง Brave New World มาจากคำพูดของมิแรนดา หนึ่งในตัวละครเอกในบทละครเรื่อง "พายุพิโรธ" (The Tempest) โดยวิลเลียม เชกสเปียร์ "O brave new world, That has such people in it!".

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโลกวิไลซ์ · ดูเพิ่มเติม »

โลลิตา

ลลิตา (Lolita) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยวลาดีมีร์ นาโบคอฟที่เขียนครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษ และได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1955 ในกรุงปารีส และต่อมาในปี ค.ศ. 1958 ในนครนิวยอร์ก “โลลิตา” ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายทันทีที่พิมพ์เพราะความแปลกใหม่ของลักษณะการเขียน และมีชื่อเสียงเพราะมีเนื้อหาที่เป็นที่ขัดแย้งอย่างรุนแรงในสังคม เพราะ ฮัมเบิร์ต ฮัมเบิร์ต ชายวัยกลางคน ซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องและเป็นผู้บรรยายเรื่องผู้ไม่น่าเชื่อถือ (Unreliable narrator) ตกหลุมรักอย่างหัวปักหัวปำซึ่ง และมีความสัมพันธ์ทางเพศกับ เดอลอร์ส เฮซ เด็กสาวอายุ 12 ปี บุตรบุญธรรมของตน หลังจากที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว “โลลิตา” ก็ถือว่าเป็นงานคลาสสิกและกลายมาเป็นงานชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดและมีปัญหาที่สุดของวรรณกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า “โลลิตา” กลายมาเป็นคำที่ปรากฏใน วัฒนธรรมสมัยนิยมที่หมายถึงเด็กสาวผู้มีความเจริญทางด้านเพศสัมพันธ์เกินวัยที่มีอายุระหว่างเก้าถึงสิบสี่ปี “โลลิตา” เป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่โมเดิร์นไลบรารีจัดให้เป็นลำดับที่สี่ของนวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี (Modern Library 100 Best Novels) ในบรรดานวนิยายที่ถือว่าดีเด่นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 “โลลิตา” ได้รับการดัดแปลงสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1962 กำกับโดย สแตนลีย์ คูบริก และนาโบคอฟก็ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยมด้วย หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1997 เรื่อง “โลลิตา” ได้ถูกนำกลับมาทำซ้ำในชื่อเดียวกัน.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโลลิตา · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส เพน

โทมัส เพน โทมัส เพน 29 มกราคม พ.ศ. 2280 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2352, นิวยอร์กซิตี, สหรัฐอเมริกา) เป็น ผู้เขียนหนังสือเล่มเล็ก, นักปฏิวัติ, นักคิดสุดโต่ง ปัญญาชน, และ ผู้เชื่อถือในพระเจ้า. เกิดในบริตเตนใหญ่, แต่อาศัยอยู่ในอเมริกา, อพยพมาอยู่ในอาณานิคมอเมริกัน ในขณะที่มีสงครามการเมือง, เป็นผูเขียนหลักในหนังสือที่ทรงอิทธิพล และมีผู้อ่านมากมาย ในหนังสือสามัญสำนึก,common sense, เป็นหนังสือที่กล่าวแนะนำให้อาณานิคมอเมริกัน เป็นเอกราชต่อบริตรินใหญ่ เพนมีอิทธิพลมากต่อการ ปฏิวัติฝรั่งเศส. เขาเขียนหนังสือ สิทธิมนุษยชน (Right of Man) เป็นคำแนะนำแนวความคิดอันนำไปสู่ ยุค แสงสว่างทางปัญญา (Enlightenment).แต่เขาก็เริ่มมีชื่อเสียงไม่ดีเมื่อเขียนหนังสือ ยุคสมัยของเหตุผล (The Age of Reason), ซึ่งเกี่ยวกับการเชื่อถือในพระเจ้า และโจมตีคำสอนของชาวคริสต์ ในหนังสือ และในหนังสือ In ความยุติธรรมของเกษตรกร (Agrarian Justice), เขาก็เริ่มแนะนำแนวคิดที่คล้ายกับสังคมนิยม. หมวดหมู่:นักเขียนชาวอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2280 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2352 หมวดหมู่:บุคคลจากนครนิวยอร์ก หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลนอร์ฟอล์ก.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโทมัส เพน · ดูเพิ่มเติม »

โนม ชอมสกี

นม ชอมสกี ดร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

ไมน์คัมพฟ์

หน้าปกของ ''ไมน์คัมพฟ์'' ไมน์คัมพฟ์ (Mein Kampf) หรือ การต่อสู้ของข้าพเจ้า เป็นหนังสือที่เขียนโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองชาวออสเตรียผู้นิยมลัทธินาซี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมืองของฮิตเลอร์ โดยถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและไมน์คัมพฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทม์

ปกฉบับแรกของนิตยสาร Time ไทม์ (Time หรือตามเครื่องหมายการค้าคือ TIME) เป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ของสหรัฐอเมริกา เริ่มพิมพ์ฉบับแรก โดยเป็นนิตยสารข่าวรายสัปดาห์เล่มแรกของประเทศ โดยในปัจจุบันไทม์มีจัดพิมพ์หลายแห่งทั่วโลก โดยในยุโรปใช้ชื่อว่า "ไทม์ยุโรป" (หรือที่ในอดีตเรียกว่า ไทม์แอตแลนติก) มีสำนักงานอยู่ที่ลอนดอน และออกจำหน่ายในยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงละตินอเมริกา ส่วนในเอเชีย ใช้ชื่อว่า "ไทม์เอเชีย" มีสำนักงานที่ฮ่องกง ขณะที่ "ไทม์แคนาดา" เป็นฉบับสัญชาติแคนาดาซึ่งจัดจำหน่ายในประเทศแคนาดา และ "ไทม์เซาท์แปซิฟิก" ซึ่งจัดจำหน่ายครอบคลุมออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแปซิฟิก มีสำนักงานอยู่ที่ซิดนีย์ ในปัจจุบัน นิตยสารไทม์จัดการโดยบริษัทไทม์วอร์เนอร์ สำนักงานใหญ่อยู่ที่นิวยอร์ก และมีนายริชาร์ด สเตนเจล เป็นบรรณาธิการบริหาร.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์

อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ จอยซ์

มส์ จอยซ์ เจมส์ จอยซ์ (James Joyce) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1882 – 13 มกราคม ค.ศ. 1941) เป็นนักเขียนชาวไอริช เกิดในเมืองดับลิน แต่ไปจากบ้านเกิดตั้งแต่ยังหนุ่ม ซึ่งต้องการหลีกหนีจากปัญหาสังคมและเรื่องศาสนา โดยไปอาศัยอยู่ที่ปารีส งานเขียนที่สำคัญได้แก่ “ยูลิสซีส” (ค.ศ. 1922) และ Finnegans Wake (ค.ศ. 1939) เจมส์ จอยซ์ มีงานเขียนสามชิ้นที่ได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่ม “นวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี” (Modern Library 100 Best Novels) ของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่ทำโดย Modern Library.

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและเจมส์ จอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคิงเนเวอร์สไมลส์

อะคิงเนเวอร์สไมลส์ (The King Never Smiles; "กษัตริย์ไม่เคยยิ้ม") เป็นหนังสือว่าด้วยพระราชประวัติอย่างไม่เป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและราชวงศ์จักรี เขียนโดย พอล แฮนด์ลีย์ (Paul Handley) นักเขียนชาวอเมริกัน จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเยล (Yale University Press) และออกจำหน่ายครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายน 2549 หนังสือนี้ทางการไทยจัดให้เป็น "หนังสือต้องห้าม" อย่างไม่เป็นทางการ ตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์ โดยมิได้มีการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการในกฎหมายว่าด้วยการจดแจ้งการพิมพ์ ต่อมามีหนังสือกองบัญชาการตำรวจนครบาล ที่ ตช 0016.146/289 ลงวันที่ 18 มกราคม 2551 ว่าหนังสือเล่มนี้เป็น "หนังสือต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร", ประชาไท, 29 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและเดอะคิงเนเวอร์สไมลส์ · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Banned bookBanned booksBook banningList of banned booksList of books banned by governmentsรายชื่อหนังสือต้องห้ามหนังสือต้องห้ามงานเขียนต้องห้าม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »