โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492

ดัชนี คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492

4 อดีตรัฐมนตรี คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี..

51 ความสัมพันธ์: บางเขนพ.ศ. 2492พ.ศ. 2502พ.ศ. 2504พรรคสหชีพพรรคแนวรัฐธรรมนูญพระบรมมหาราชวังพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรกบฏวังหลวงกฎหมายการฆ่าคนมลายูมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหารวังปารุสกวันวินทร์ เลียววาริณสฤษดิ์ ธนะรัชต์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)หะยีสุหลงหนังสือพิมพ์อารีย์ ลีวีระจังหวัดมหาสารคามจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดปราจีนบุรีจำลอง ดาวเรืองถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถวิล อุดลถนนพหลโยธินทองอินทร์ ภูริพัฒน์ทองเปลว ชลภูมิท่าอากาศยานดอนเมืองคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12ตำรวจประเทศสิงคโปร์ปรีดี พนมยงค์แปลก พิบูลสงครามโรงพยาบาลกลางโผน อินทรทัตโทรเลขเผ่า ศรียานนท์เขตดุสิตเขตปทุมวันเตียง ศิริขันธ์1 มีนาคม27 กุมภาพันธ์29 กุมภาพันธ์3 มีนาคม...4 มีนาคม ขยายดัชนี (1 มากกว่า) »

บางเขน

งเขน อาจหมายถึง; ชื่อสถานที.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหชีพ

รรคสหชีพ พรรคการเมืองในประเทศไทยในอดีต มีแนวทางการก่อตั้งพรรคและอุดมการณ์คล้ายคลึงกับพรรคแนวรัฐธรรมนูญ คือ เป็นสังคมนิยม แต่ทั้งสองพรรคนี้มิได้ดำเนินการเกี่ยวข้องกัน สมาชิกและผู้ก่อตั้งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยสายอีสาน ที่ให้การสนับสนุน นายปรีดี พนมยงค์ เช่น นายเตียง ศิริขันธ์, นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล, นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ และกลุ่มอื่น เช่น นายจรูญ สืบแสง, นายสงวน ตุลารักษ์, นายเดือน บุนนาค, พันเอก กาจ กาจสงคราม เป็นต้น โดยมี พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และนายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรรค พรรคสหชีพ เป็นพรรคร่วมจัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2489 กับพรรคแนวร่วมรัฐธรรมนูญ ภายหลังเหตุการณ์กบฏวังหลวง ในปี พ.ศ. 2492 สมาชิกพรรคสหชีพหลายคนถูกลอบสังหาร เช่น นายจำลอง ดาวเรือง, นายถวิล อุดล และนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ ถูกสังหารอย่างมีปริศนาที่ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 13 ยามดึก ต่อมาไม่นาน นายเตียง ศิริขันธ์ ก็ถูกสังหารอีกคนหนึ่ง พรรคสหชีพถูกยุบพรรคหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2494 ตามคำสั่งของคณะรัฐประหารที่ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ใช้อยู่ขณะนั้น และนำรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพรรคสหชีพ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแนวรัฐธรรมนูญ

รรคแนวรัฐธรรมนูญ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย เกิดขึ้นหลังการสลายตัวของขบวนการเสรีไทยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่ในขบวนการเสรีไทยและบุคคลในคณะราษฎร พ.ศ. 2475 ที่สนับสนุน นายปรีดี พนมยงค์ อาทิ พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์, นายสงวน จูฑะเตมีย์, นายทองเปลว ชลภูมิ, นายดิเรก ชัยนาม, หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์, พันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม เป็นต้น โดยมี พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นหัวหน้าพรรค และ นายทองเปลว ชลภูมิ เป็นเลขาธิการพรรค พรรคแนวรัฐธรรมนูญเคยชนะการเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 ได้เป็นพรรคจัดตั้งรัฐบาล โดยมี พล.ร.ต.ถวัลย์ หัวหน้าพรรคเป็นนายกรัฐมนตรี พรรคแนวรัฐธรรมนูญถูกยุบพรรคหลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2494 ตามคำสั่งของคณะรัฐประหารที่ให้ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2492 ที่ใช้อยู่ขณะนั้น และนำรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้ง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพรรคแนวรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ. 1977 (หรือ ค.ศ. 1434) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลง จึงพบพระพุทธรูปพอกปูนลงรักปิดทอง จึงได้นำไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออก เห็นเป็นเนื้อมรกต จึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์ หลังจากนั้น พระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้ จึงเชิญมาประดิษฐานที่เชียงใหม่ แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่ แต่ไปทางลำปางหากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้าง เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่วัดพระแก้วดอนเต้า ถึงสมัยพระเจ้าติโลกราช ได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ สร้างปราสาทประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้ง ครั้นเมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งล้านช้างซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์ล้านนามาครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับหลวงพระบาง ก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับพระพุทธสิหิงค์ ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมาเวียงจันทน์ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมืองหลวง พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง มาจากอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวราราม ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่ง เสด็จข้ามฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนถึงปัจจุบัน ส่วนพระบางได้คืนให้แก่ลาว.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร · ดูเพิ่มเติม »

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และกบฏวังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมาย

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าคน

การฆ่าคน (murder) เป็นการกระทำให้มนุษย์ถึงแก่ความตาย จัดเป็นอาชญากรรมประเภทหนึ่ง ทางนิติศาสตร์แบ่งเป็นสองประเภท คือ การทำให้คนตายโดยเจตนา (homicide) และการทำให้คนตายโดยไม่เจตนา (manslaughter) การฆ่าคนทั้งสองประเภท ผู้กระทำต้องระวางโทษหนักหรือเบาตามกฎหมายแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และการฆ่าคน · ดูเพิ่มเติม »

มลายู

มลายู (Melayu) หรือ มาเลย์ (Malay) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และมลายู · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร

วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนและคลองผดุงกรุงเกษม ด้านใกล้ถนนราชดำเนินนอก.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และวินทร์ เลียววาริณ · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย)

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police Headquarters)เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือพิมพ์

ร้านจำหน่ายหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ในเมืองแพดดิงตัน กรุงลอนดอน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 หนังสือพิมพ์ คือสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าว การเคลื่อนไหวใหม่ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีกำหนดการออกที่แน่นอนตายตัว โดยส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน นอกจากนี้แล้วยังมีหนังสือพิมพ์รายสามวัน รายสัปดาห์ รายปักษ์ และรายเดือน หนังสือพิมพ์มักจะพิมพ์ลงในกระดาษสำหรับพิมพ์หนังสือพิมพ์โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาถูก เนื้อหาหลักของหนังสือพิมพ์คือข่าวสารบ้านเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านต่างๆ อาทิ ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวกีฬา และข่าวบันเทิง มีการใช้รูปภาพประกอบเนื้อหา ทำให้เนื้อหาชัดเจนมากขึ้น นอกจากนี้แล้วอาจมีส่วนต่างๆ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ เช่น พยากรณ์อากาศ และ การ์ตูน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นการ์ตูนล้อเลียนการเมือง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และหนังสือพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ ลีวีระ

อารีย์ ลีวีระ (พ.ศ. 2456 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้อำนวยการบริษัทไทยพาณิชย์ เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ "สยามนิกร" และ "พิมพ์ไทย" อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 2 สมัย ระหว่าง..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และอารีย์ ลีวีระ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง ดาวเรือง

ำลอง ดาวเรือง (9 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 3 สมัย และเป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย นายจำลอง ดาวเรือง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายถวิล อุดล.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และจำลอง ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล อุดล

นายถวิล อุดล นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วย ตัวนายถวิลเอง นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ และนายจำลอง ดาวเรือง นายถวิลดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด 2 สมัย เป็นหัวหน้าเสรีไทย จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเคยเดินทางไปติดต่อขอความร่วมมือจาก ประเทศจีน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ เงินภาษีที่เก็บจากประชาชน ต้องเป็นประโยชน์กลับคืนสู่ประชาชนทั้งหมด นายถวิล อุดล เสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และถวิล อุดล · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ทองอินทร์ ภูริพัฒน์

รองอำมาตย์ตรี ทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็นนักการเมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นที่รู้จักกันดีในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ในกรณี "พระราชบัญญัติปักป้ายข้าวเหนียว" ต่อมาได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาล นายปรีดี พนมยงค์ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ เป็น 1 ใน 4 อดีตรัฐมนตรีที่ถูกสังหารโหด ที่ ทุ่งบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2492 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ด้วยสาเหตุทางการเมือง ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็น นักการเมืองผู้ต่อสู้เพื่อชาวอิสานอย่างแท้จริงคนหนึ่ง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และทองอินทร์ ภูริพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทองเปลว ชลภูมิ

ร.ทองเปลว ชลภูมิ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี และอดีตรัฐมนตรี เป็นนักการเมือง หนึ่งใน "สี่รัฐมนตรี" ที่ถูกสังหารเมื่อ..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และทองเปลว ชลภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และท่าอากาศยานดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 12 ของไทย (31 สิงหาคม 2488-17 กันยายน 2488) นายทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 12 นายทวี บุณยเกตุ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจ

ตำรวจในประเทศอิตาลี ตำรวจ เป็นชื่อเรียกของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจกองปราบ ตำรวจดับเพลิง ตำรวจน้ำ ตำรวจตระเวนชายแดน ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้ ตำรวจจราจร ตำรวจนครบาล ตำรวจทางหลวง ตำรวจภูธร ตำรวจลับ ตำรวจวัง ตำรวจสภา ตำรวจสันติบาล ตำรวจหลวง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลกลาง

รงพยาบาลกลาง เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 369 เตียง สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนหลวง แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และโรงพยาบาลกลาง · ดูเพิ่มเติม »

โผน อินทรทัต

.ต.โผน อินทรทัต พันตรีโผน อินทรทัต อดีตรองผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา รุ่นที่ 1 เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และโผน อินทรทัต · ดูเพิ่มเติม »

โทรเลข

การส่งโทรเลขสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โทรเลข อดีตเรียก ตะแล็บแก๊บ (Telegraph) คือระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งข้อความจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เดิมส่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกันและอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ แต่ระยะหลังมีการใช้วิธีการส่งไร้สาย ที่เรียกว่า วิทยุโทรเลข (radio telegraph, wireless telegraph หรือ continuous wave ย่อว่า CW).

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และโทรเลข · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เตียง ศิริขันธ์

นายเตียง ศิริขันธ์ (คนกลาง) ในเครื่องแบบเสรีไทย กับนายทหารสัมพันธมิตร นายเตียง ศิริขันธ์ กับนางนิวาศน์ ภริยา นายชาญ บุนนาค บุคคลที่ถูกสังหารพร้อมนายเตียง เตียง ศิริขันธ์ (5 ธันวาคม พ.ศ. 2452 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2495) เป็นนักการเมืองฉายา "ขุนพลภูพาน" หนึ่งใน "สี่เสืออีสาน" ซึ่งประกอบด้วยนายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเตียง ศิริขันธ์ นายถวิล อุดล และนายจำลอง ดาวเรือง นายเตียงดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สกลนคร 5 สมัย ตั้งแต่อายุ 28 ปี รัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นหัวหน้าใหญ่เสรีไทยภาคอีสานและสกลนครโดยมีศูนย์บัญชาการอยู่บนเทือกเขาภูพาน แนวคิดทางการเมืองที่สำคัญ คือ "ข้าพเจ้าต้องการให้ทุก ๆ คนบนพื้นอันเป็นสยามประเทศนี้ เป็นราษฎรเสมอหน้ากันหมด ปราศจากความเหลื่อมล้ำต่ำสูง" เตียง ศิริขันธ์ ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้งเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2495 ในสมัยรัฐบาลคณะรัฐประหาร มีผู้ถูกฆ่าในครั้งนั้น ได้แก่ ชาญ บุนนาค เล็ก บุนนาค ผ่อง เขียววิจิตร และ สง่า ประจักษ์วงศ์ โดยศพถูกนำไปเผาทิ้งที่ ต.แก่งเสี้ยน อ.เมือง.กาญจนบุรี นายเตียง ศิริขันธ์ เกิดที่บ้านในตำบลตลาด อำเภอเมืองสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของขุนนิเทศพาณิชย์ (บุดดี ศิริขันธ์) กับนางอ้อน ศิริขันธ์ จบโรงเรียนเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศวิหาร และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางนิวาศน์ ศิริขันธ์ (นามเดิม นิวาศน์ พิชิตรณการ เป็นบุตรสาวของ ร.อ.นาถ และนางเวศ พิชิตรณการ) มีบุตร 1 คน ชื่อ นายวิฑูรย์ ศิริขันธ์ เกี่ยวกับเชื้อสายของเตียง ศิริขันธ์ นั้นบิดาเป็นบุตรชายลำดับที่ 4 ของรองอำมาตย์โท พระบริบาลศุภกิจ (คำสาย ศิริขันธ์) หรือเพียเมืองขวา อดีตกรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ กับนางบัว ศิริขันธ์ ธิดาของพระโคษาราช (ต้นตระกูล นาถโคษา) กำนันตำบลสะพานหิน ปู่ของเตียง ศิริขันธ์ ชื่อพระเสนาภักดี (ขันธ์ ศิริขันธ์) ย่าชื่อนางพรหมา ศิริขันธ์ ปู่ทวดชื่อพระศรีวรราชหรือเพียสีสุวงษ์ (ท้าวรี) ย่าทวดชื่อนางที บิดาของปู่ทวดชื่อเพียสีหาเทพ (ท้าวศรี) กรมการเมืองสกลนครชั้นผู้ใหญ่ชุดแรกสมัยเริ่มตั้งเมืองสกลนคร ตระกูลของเตียงศิริขันธ์นับว่าเป็นเชื้อสายขุนนางเก่าแก่ และเกี่ยวดองกับตระกูลเจ้าเมืองของสกลนครมายาวนาน คือ ตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และเตียง ศิริขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

29 กุมภาพันธ์

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกวันนี้ว่าเป็นวัน อธิกวาร (leap day) ในเกรกอเรียน ปี..

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และ29 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คดีฆ่า 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »