โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2497

ดัชนี พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

380 ความสัมพันธ์: บวรศักดิ์ อุวรรณโณบัวสอน บุบผาวันชาติ กอบจิตติชาติชาย ณ เชียงใหม่บิล จอยชินโซ อาเบะบุญเลิศ เลิศปรีชาบุณยรักษ์ พูนชัยชุง ซูนฮยุนบูราฮานูดิน อุเซ็งบีนาลี ยึลดือรึมบ็อบบี แซนด์สฟร็องซัว ฟียงฟร็องซัว ออล็องด์ฟุมิ ดังพ.ศ. 2424พ.ศ. 2519พ.ศ. 2524พ.ศ. 2533พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)พระเทพวรเวที (วิน โฆสิโต)พรทิพย์ โรจนสุนันท์พอล แบเรอร์พัก ย็อง-ช็อลพัฒนเดช อาสาสรรพกิจพิศวาท น้อยมณีพิศณุ นิลกลัดพินิจ บุญจวงพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์กรีฑาสถานแห่งชาติกิมเอ็ง แซ่เตียกูดี เอสปาดาสภักดิพร สุจริตกุลภูษณ ปรีย์มาโนชมาร์วิน แฮ็กเลอร์มิลอวัน ราเยวัตส์มีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์กมนัส เศียรสิงห์มนต์สยาม ฮ. มหาชัย...ยานนียิ่งยง โอภากุลยืนยง โอภากุลยูโกะ อะระกิดะรอน ฮาวเวิร์ดรอแบร์ กอแอนรักเกียรติ สุขธนะรัฐกะเหรี่ยงราม ราชพงษ์รางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีรำลึก ธีระพงษ์รี พย็อง-อุกร็อดดี ไพเพอร์ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวนวรชัย เหมะวัชรพล ประสารราชกิจวัลลภ สุระกำพลธรวันชัย สอนศิริวิบูลย์ สงวนพงศ์วิล แพ็ทตันวิวัฒน์ ศัลยกำธรวิทยา เลาหกุลวิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์วินัย ละอองสุวรรณวิเชียร ชวลิตวุฒิชัย กิตติธเนศวรวีระกร คำประกอบศักดา แซ่เอียวศิริ จิระพงษ์พันธ์ศุภักษรสมชาย ชวยบุญชุมสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วงสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิกสุพัฒน์ ธรรมเพชรสุภโชค สัมปัตตะวนิชสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุริยัน ส่องแสงสุวโรช พะลังสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์สตีวี เรย์ วอห์นสนานจิตต์ บางสพานหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)หลิน ชิงเสียหลี่ อันหะยีสุหลงหนองคาย ส.ประภัสสรอภิชาต การิกาญจน์อภิชาติ หาลำเจียกอภิชาติ ตีรสวัสดิชัยอรนภา กฤษฎีอัลฟองโซ่ ซาโมร่าอัจฉรา ภาณุรัตน์อังเกลา แมร์เคิลอันเดรย์ คาร์ลอฟอันเดรจ บาบิสอาร์ชดยุกคาร์ล คริสเตียนแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรียอาณัฐชัย รัตตกุลอิทธิ ศิริลัทธยากรอุมาพร บัวพึ่งอุดม คชินทรอูโก ชาเบซอดุลย์ แสงสิงแก้วองอาจ คล้ามไพบูลย์อนุชา สะสมทรัพย์อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโคฮันส์ เครเมอร์ฮาลีมะฮ์ ยากบฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอสฌอร์ฌือ ฌือซุชจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนครจอห์น ทราโวลตาจอห์น ไมเคิล ทัลบอตจักรพันธุ์ ยมจินดาจำเริญ ทรงกิตรัตน์จิม ดักแกนจิมมี่ คาร์รัทเธอร์จุมพฏ บุญใหญ่จ๊อกกี้ ศิษย์กันภัยธีระวัฒน์ เหมะจุฑาทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ทัศนียา รัตนเศรษฐทูลลี แบลนชาร์ดทูน หิรัญทรัพย์ขุนทอง อสุนี ณ อยุธยาข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติณัฐ ยนตรรักษ์ดวงตา ตุงคะมณีดาวิด โอเยเดโปดาวใจ ไพจิตรคริส การ์ดเนอร์คอนโดลีซซา ไรซ์คิม จ็อง-ซุก (เกิดปี พ.ศ. 2497)คุมิโกะ อะกิโยะชิตะวัน วนิดาประพันธ์ คูณมีประยุทธ์ จันทร์โอชาประวัฒน์ อุตโมทประจิน จั่นตองประนอม ทาแปงประเทศพม่าประเทศฝรั่งเศสประเทศลาวประเทศอังกฤษปรัศนีปรีชา เลาหพงศ์ชนะปาโอโล เจนตีโลนีปิยะ ตระกูลราษฎร์นราพร จันทร์โอชานัยนา ชีวานันท์นิพนธ์ ศรีธเรศแพท เมธินีแพ็ก มย็อง-ซุกแก้ว พุทธรัศมีแมลคัม เทิร์นบุลล์แมงโก้ (นักร้อง)แลร์รี วอลล์แสง ธรรมดาแหวนเพชร วงทองแอชตัน คาร์เตอร์แอนนี เลนนิกซ์แอนโทนี มิงเกลลาแฮร์มันน์ ทิลเคอแฮ็คเตอร์ เกอร์เรโรแคทลีน เทอร์เนอร์แคเรน โรบาดส์แซม อัลลาร์ไดซ์แซมมี แมคอิลรอยแซร์ช ซาร์กเซียนโกวิท วัฒนกุลโมนีคา ฟอน ฮับส์บูร์กโมเช วาย. วาดิโอปราห์ วินฟรีย์โฮกุ้น ลอเรนต์ซันโทะชิอะกิ โยะชิดะโน้ต เชิญยิ้มไพบูลย์ นิติตะวันไมเคิล อีเมอร์สันไลนัส พอลิงไต้ ซื่อเจี๋ยเชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์เรย์ พาร์กเกอร์ จูเนียร์เรเจป ไตยิป แอร์โดอันเลฟ ลาร์เซินเวียดมินห์เหงียน ซวน ฟุกเอกยุทธ อัญชันบุตรเอลวิส คอสเทลโลเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เอนก เหล่าธรรมทัศน์เจมส์ แคเมรอนเจะอามิง โตะตาหยงเจน แคมเปียนเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะเจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์เจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์เท็ด ดีบีอาซี ซีเนียร์เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เดียนเบียนฟูเดนนิส เควดเดนเซล วอชิงตันเฉินหลงเปาลู แซร์ฌีอู จี โอลีเวย์รา ลีมาเป็ด เชิญยิ้ม1 พฤษภาคม1 กุมภาพันธ์1 มกราคม1 มิถุนายน1 มีนาคม1 สิงหาคม1 ตุลาคม1 เมษายน10 มิถุนายน10 ตุลาคม10 เมษายน11 พฤษภาคม12 พฤษภาคม12 มกราคม12 มิถุนายน12 สิงหาคม12 ธันวาคม13 พฤศจิกายน13 กันยายน13 กุมภาพันธ์13 สิงหาคม13 ธันวาคม14 พฤศจิกายน14 กุมภาพันธ์14 มกราคม14 มิถุนายน14 ตุลาคม14 เมษายน15 พฤศจิกายน15 กรกฎาคม15 กันยายน15 มกราคม15 ธันวาคม15 ตุลาคม16 พฤษภาคม16 มกราคม16 สิงหาคม17 กรกฎาคม17 กุมภาพันธ์17 มีนาคม17 สิงหาคม17 ตุลาคม17 เมษายน18 กันยายน18 กุมภาพันธ์18 มกราคม18 มิถุนายน18 มีนาคม18 เมษายน19 กันยายน19 มิถุนายน19 มีนาคม19 ธันวาคม19 ตุลาคม2 พฤษภาคม2 กันยายน2 มกราคม2 มีนาคม2 ธันวาคม2 ตุลาคม20 พฤษภาคม20 กรกฎาคม20 มกราคม20 มิถุนายน20 สิงหาคม20 ธันวาคม21 พฤศจิกายน21 กรกฎาคม21 กันยายน21 กุมภาพันธ์21 มิถุนายน21 มีนาคม21 ธันวาคม22 พฤศจิกายน22 มกราคม22 มิถุนายน22 มีนาคม22 สิงหาคม22 ธันวาคม22 ตุลาคม23 พฤษภาคม23 สิงหาคม23 ตุลาคม24 กรกฎาคม24 กันยายน24 กุมภาพันธ์24 มิถุนายน24 สิงหาคม24 ตุลาคม25 พฤศจิกายน25 มิถุนายน25 สิงหาคม25 ธันวาคม26 พฤษภาคม26 กุมภาพันธ์26 มกราคม26 สิงหาคม27 กันยายน27 มกราคม27 มิถุนายน27 สิงหาคม27 ธันวาคม27 ตุลาคม28 พฤศจิกายน28 กรกฎาคม28 มกราคม28 ธันวาคม29 กรกฎาคม29 มกราคม29 ธันวาคม29 เมษายน3 พฤศจิกายน3 กันยายน3 มิถุนายน3 ตุลาคม30 กันยายน30 มิถุนายน30 สิงหาคม30 ธันวาคม30 เมษายน31 กรกฎาคม31 สิงหาคม31 ธันวาคม31 ตุลาคม4 กรกฎาคม4 กันยายน4 กุมภาพันธ์4 มีนาคม4 เมษายน5 พฤศจิกายน5 พฤษภาคม5 มิถุนายน5 มีนาคม6 พฤศจิกายน6 กันยายน6 มกราคม6 สิงหาคม6 ตุลาคม7 พฤศจิกายน7 กันยายน7 มิถุนายน7 มีนาคม7 ตุลาคม7 เมษายน8 พฤษภาคม8 กุมภาพันธ์8 มิถุนายน8 มีนาคม8 ธันวาคม8 เมษายน9 พฤศจิกายน9 กันยายน9 กุมภาพันธ์9 มีนาคม9 เมษายน ขยายดัชนี (330 มากกว่า) »

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบวรศักดิ์ อุวรรณโณ · ดูเพิ่มเติม »

บัวสอน บุบผาวัน

ัวสอน บุบผาวัน (3 มิถุนายน พ.ศ. 2497 —) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีลาวระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบัวสอน บุบผาวัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาติ กอบจิตติ

ติ กอบจิตติ (เกิด 25 มิถุนายน 2497) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี พ.ศ. 2547 และนักเขียน 2 รางวัลซีไรต์ และรางวัลช่อการะเก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และชาติ กอบจิตติ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ณ เชียงใหม่

ตราจารย์ ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่ กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ. 2558) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ คณะทำงานรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตรองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และเป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หน่วยบริการรูปแบบพิเศษในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และชาติชาย ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

บิล จอย

thumb บิล จอย (Bill Joy ชื่อเต็ม William N. Joy) เกิด ค.ศ. 1954 เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ เมื่อ ค.ศ. 1982 และทำงานอยู่กับซันจนถึง ค.ศ. 2003 บิลเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของเบิร์กเลย์ชื่อ BSD ซึ่งเป็นรากฐานของระบบปฏิบัติการในยุคปัจจุบันหลายตัว อย่างเช่น FreeBSD NetBSD และ OpenBSD ผลงานอื่นๆ ของบิล คือ TCP/IP โปรแกรมแก้ไขข้อความ vi NFS และเชลล์แบบ csh บิลจอยยังมีส่วนสำคัญในการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์ SPARC ภาษาจาวา และ JINI.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบิล จอย · ดูเพิ่มเติม »

ชินโซ อาเบะ

นโซ อาเบะ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 57 ของประเทศญี่ปุ่นและเป็นคนญี่ปุ่นที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที 2 คนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อาเบะเกิดที่เมืองนะงะโตะ จังหวัดยะมะงุชิ และได้ศึกษาด้านรัฐศาสตร์ที่ มหาวิทยาลัยเซเก และศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา ภายหลังจบการศึกษา ได้ทำงานกับบริษัท โกเบสตีล และได้ลาออกในปี 2525 เพื่อเข้ามาเล่นการเมือง เมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และชินโซ อาเบะ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ เลิศปรีชา

ันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 5 สมัย และอดีตเลขาธิการพรรคธรรมสังคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบุญเลิศ เลิศปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

บุณยรักษ์ พูนชัย

ลเอก บุณยรักษ์ พูนชัย (ชื่อเล่น: แมว) เจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 39 (1 ตุลาคม 2557 - 31 มีนาคม 2558) ยศปัจจุบัน คือ พลเอก บุณยรักษ์ พูนชัย ตำแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก, ผู้อำนวยการโรงพยาบาลค่ายกาญจนบุรี (มิ.ย.2532), ผู้อำนวยการกองยุทธการและการข่าว กรมแพทย์ทหารบก (ต.ค.2544), ผู้อำนวยการสถาบันพยาธิวิทยา ศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า (ต.ค.2551), ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (ต.ค.2552).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบุณยรักษ์ พูนชัย · ดูเพิ่มเติม »

ชุง ซูนฮยุน

ง ซูนฮยุน (Soon Hyun Chung) นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อ 30 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และชุง ซูนฮยุน · ดูเพิ่มเติม »

บูราฮานูดิน อุเซ็ง

ูราฮานูดิน อุเซ็ง (13 กันยายน พ.ศ. 2497 - 17 ตุลาคม พ.ศ. 2558) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบูราฮานูดิน อุเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

บีนาลี ยึลดือรึม

บีนาลี ยึลดือรึม (Binali Yıldırım; เกิด 20 ธันวาคม 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของตุรกี ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีสืบต่อจากอาห์เม็ด ดาวูโตกลู ที่ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งไปก่อนหน้านั้น วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ประกาศว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ในกรุงอังการาและนครอิสตันบูลได้เรียบร้อยแล้วภายหลังจากเกิดการรัฐประหารที่นำโดยกลุ่มทหารจากกองทัพภาคที่ 1 และกองทัพอากาศ หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีตุรกี หมวดหมู่:นักการเมืองชาวตุรกี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบีนาลี ยึลดือรึม · ดูเพิ่มเติม »

บ็อบบี แซนด์ส

รเบิร์ต เจอราร์ด "บ็อบบี" แซนด์ส (Robert Gerard Sands Roibeárd Gearóid Ó Seachnasaigh, 9 มีนาคม ค.ศ. 1954 — 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1981) เป็นอาสาสมัครชาวไอริชในกองทัพสาธารณรัฐนิยมไอริชชั่วคราว (Provisional Irish Republican Army) ผู้เสียชีวิตจากการอดอาหารประท้วงขณะถูกจำคุกในเรือนจำเมซ เขาเป็นผู้นำการอดอาหารประท้วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และบ็อบบี แซนด์ส · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ฟียง

ฟร็องซัว ชาร์ล อาม็อง ฟียง (François Charles Amand Fillon,, 4 มีนาคม พ.ศ. 2497 —) นายกรัฐมนตรีคนที่ 168 ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ภายใต้การนำของประธานาธิบดีนีกอลา ซาร์กอซี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2497.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฟร็องซัว ฟียง · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว ออล็องด์

ฟร็องซัว เฌราร์ ฌอร์ฌ นีกอลา ออล็องด์ (François Gérard Georges Nicolas Hollande,; เกิด 12 สิงหาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตประธานาธิบดีของฝรั่งเศส ได้รับเลือกตั้งในวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฟร็องซัว ออล็องด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุมิ ดัง

ฟุมิ ดัง (เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1954) เป็นนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฟุมิ ดัง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2424

ทธศักราช 2424 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1881.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2424 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ

แพทย์หญิงพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน)

ระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) เจ้าคณะภาค 5 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ แม่กองบาลีสนามหลวง เลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต รองประธานคณะพระธรรมจาริก หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 3 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เลขาธิการสมัชชามหาคณิสสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวรเวที (วิน โฆสิโต)

ร. พระเทพวรเวที (วิน โฆสิโต) (พระเทพวรเวที ชินสีห์ ธรรมโสภณ โกศลศาสนกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี) อดีตเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อดีตเจ้าอาวาส วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร ตำบลสวนพริก อำเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพระเทพวรเวที (วิน โฆสิโต) · ดูเพิ่มเติม »

พรทิพย์ โรจนสุนันท์

แพทย์หญิงคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ หรือชื่อเดิมว่า พรทิพย์ ศรศรีวิชัย (เกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2497) เป็น กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่าย (คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) ในส่วนของสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศที่ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศมอบหมายตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 45/2559 สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปแห่งชาติ นิติแพทย์ชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม ระหว่างช่วง 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพรทิพย์ โรจนสุนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พอล แบเรอร์

วิลเลียม อัลวิน มูดดี (William Alvin Moody) (10 เมษายน ค.ศ. 1954 – 5 มีนาคม ค.ศ. 2013) เป็นผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ทำงานกับสมาคม ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ในชื่อว่า พอล แบเรอร์ (Paul Bearer) และ เพอร์ซีวัล พริงเกิล ที่ 3 (Percival Pringle III) เป็นเจ้าของกระปุกสถิตวิญญาณที่เขาถืออยู่ตลอดเวลา และเป็นผู้จัดการของ ดิอันเดอร์เทเกอร์ และ เคน ปัจจุบันได้เข้าสู่ หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2014.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพอล แบเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พัก ย็อง-ช็อล

ัก ย็อง-ช็อล (박영철; Park Young-chul) เกิดวันที่ 14 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพัก ย็อง-ช็อล · ดูเพิ่มเติม »

พัฒนเดช อาสาสรรพกิจ

ัฒนเดช อาสาสรรพกิจ สื่อสารมวลชนด้านยานยนต์ ผู้เชี่ยวชาญด้านรถยนต์ จนได้รับการขนานนามว่าเป็นอาจารย์หรือครู (กูรู)และสื่อมวลชนนิยมเรียกว่า น้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพัฒนเดช อาสาสรรพกิจ · ดูเพิ่มเติม »

พิศวาท น้อยมณี

วาท น้อยมณี ครูแห่งชาติสาขาวิชาภาษาไทย เป็นชาวชลบุรี ผู้ทำประโยชน์ต่อการศึกษาท้องถิ่นหลายด้าน นอกจากเป็นครูสอนวิชาภาษาไทยแล้ว ยังเป็นผู้เขียนบทความทางการศึกษา พัฒนาครูเครือข่าย วิทยากร การจัดทำหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดทำสื่อการเรียนรู้ิ ทั้งระดับประถม และมัธยมศึกษา ของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพิศวาท น้อยมณี · ดูเพิ่มเติม »

พิศณุ นิลกลัด

ณุ นิลกลัด (ชื่อเดิม: พิษณุ ชื่อเล่น: ณุ นามปากกา: เตยหอม) พิธีกรประจำรายการ ข่าวนอกลู่ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์ สะเก็ดข่าว และ คอข่าว, อดีพิธีกรรายการฟ้ามีตา, อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬา ทางช่อง 7 สี และทรูวิชันส์, คอลัมนิสต์ที่มีชื่อเสียงในเครือสยามสปอร์ตซินดิเคท ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 พิศณุย้ายออกจากช่อง 7 สี ไปยังไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเข้าเป็นพิธีกร ประจำรายการข่าวนอกลู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพิศณุ นิลกลัด · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ บุญจวง

นิจ บุญจวง (Pinit Boonjoung) เกิดเมื่อ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพินิจ บุญจวง · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ (3 กันยายน 2497 -) หรือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน(พ.ศ. 2554-) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(พ.ศ. 2552-2554) อดีตหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม (พ.ศ. 2540-2545) อดีตนายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย(พ.ศ. 2542 – 2544) อดีตกรรมการสภาสถาปนิกตัวแทนสาขาภูมิสถาปัตยกรรม 2 วาระ (พ.ศ. 2547-2550)และ(พ.ศ. 2550-2553) การศึกษาจบปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบีย เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา ในสาขาเกี่ยวกับการวางแผนชุมชนและภูมิภาค อาจารย์มีผลงานการวิจัยและวางแผนหลายชิ้น ทั้งในนามของภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ปัจจุบัน ผ.พงศ์ศักดิ์ ยังเป็นประธานสภาสถาปนิกอาเซียน (ASEAN Architect Council -AAC).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาสถานแห่งชาติ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และกรีฑาสถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กิมเอ็ง แซ่เตีย

กิมเอ็ง แซ่เตียเป็นอาชญากรและผู้ต้องหาสามคดี คือ คดีแก๊งตุ๋นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (พ.ศ. 2529-พ.ศ. 2530) คดีฉ้อโกง ความผิดฐานใช้เอกสารราชการปลอมอีกและความผิดมาตรา 112(ประมาณ พ.ศ. 2553-พ.ศ. 2559) ปัจจุบันต้องโทษ 50 ปี(จากเดิม 150 ปี).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และกิมเอ็ง แซ่เตีย · ดูเพิ่มเติม »

กูดี เอสปาดาส

กูดี เอสปาดาส (Guty Espadas) หรือนายกุสตาโว เฮอร์นาน เอสปาดาส ครูซ นักมวยสากลชาวเม็กซิโก เกิดเมื่อ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และกูดี เอสปาดาส · ดูเพิ่มเติม »

ภักดิพร สุจริตกุล

ักดิพร สุจริตกุล (ชื่อเล่น: ปุ๊ย; เกิด: 20 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นภริยาที่มิได้จดทะเบียนสมรสของชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของไทย เป็นบุตรสาวคนโตของกัลย์ทัศน์ สุจริตกุล อดีตมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับดรรชี สุจริตกุล เธอเป็นหลานย่าของสุมิตรา สุจริตกุล (สกุลเดิม: สิงหลกะ) นางข้าหลวงในรัชกาลที่ 6 โดยสุมิตราเป็นธิดาของ มหาเสวกตรี พระยาราชมนตรี (สง่า สิงหลกะ) กับคุณหญิงบุญปั๋น ราชมนตรี (สกุลเดิม: พิทักษ์เทวี; บางแห่งว่าเธอมีสถานะเป็น "เจ้า") โดยพ่อและย่านำเข้าเฝ้าถวายตัวตั้งแต่เด็ก ๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระราชทานตำแหน่งให้เป็นคุณข้าหลวงในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีพร้อมกับศึกษาในโรงเรียนจิตรลดาชั้นเดียวกับสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีจนสำเร็จการศึกษา จึงทูลลามาศึกษาวิชาเปียโน เมื่อศึกษาจบจึงเป็นครูสอนเปียโนที่โรงเรียนสยามกลการ ภักดิพรพบกับชวน หลีกภัย ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และภักดิพร สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

ภูษณ ปรีย์มาโนช

ูษณ ปรีย์มาโนช นักธุรกิจโทรคมนาคมชาวไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และภูษณ ปรีย์มาโนช · ดูเพิ่มเติม »

มาร์วิน แฮ็กเลอร์

มาร์วิน แฮ็กเลอร์ (Marvin Hagler) เจ้าของแชมป์โลกมิดเดิลเวท 3 สถาบันหลักในปี ค.ศ. 1980 - ค.ศ. 1987 1 ใน 4 ยอดนักชกรุ่นกลางแห่งทศวรรษที่ 80 ร่วมกับ ชูการ์ เรย์ เลนเนิร์ด, โธมัส เฮิร์นส์ และ โรแบร์โต้ ดูรัน แฮ็กเลอร์มีชื่อจริงแต่กำเนิดว่า มาร์วิน นาธาเนียล แฮ็กเลอร์ (Marvin Nathaniel Hagler) เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 ที่เมืองนิวอาร์ก รัฐนิวเจอร์ซีย์ แฮ็กเลอร์เริ่มการชกมวยจากมวยสากลสมัครเล่นมาก่อน ก่อนจะหันมาชกมวยสากลอาชีพในปี ค.ศ. 1973 ทำสถิติชนะทั้งหมด 46 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการชนะน็อกและชนะที.เค.โอ. มีเสมอเพียงครั้งเดียวและสะดุดแพ้เพียง 2 ครั้ง ขึ้นชิงแชมป์โลกรุ่นมิดเดิลเวทพร้อมกันถึง 2 สถาบัน คือ WBA และ WBC กับ วิโต อันตูโอเฟอร์โม นักมวยชาวอิตาเลียน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1979 ที่ลาสเวกัส ผลปรากฏว่าทั้งคู่เสมอกันในการยกครบ 15 ยก จากนั้นแฮ็กเลอร์จึงชกทำฟอร์มชนะรวดอีก 3 ครั้ง ก็ได้ขึ้นชิงแชมป์โลกอีกครั้งใน 2 สถาบันเดิม กับ อลัน มินเธอร์ นักมวยชาวอังกฤษเจ้าของตำแหน่งเดิม ที่สนามเวมบลีย์ มหานครลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในถิ่นของมินเธอร์เอง ซึ่งผลการชก แฮ็กเลอร์สามารถเอาชนะที..โอ.มินเธอร์ได้เพียงแค่ยกที่ 3 กลายเป็นแชมป์โลกมิดเดิลเวทของ WBA และ WBC ไปเลยทันที จากนั้นแฮ็กเลอร์ก็เดินหน้าป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกได้ถึง 12 ครั้ง โดยได้แชมป์โลกสถาบันใหม่คือ IBF ที่เพิ่งก่อตั้งมาด้วย โดยที่ IBF ได้มอบตำแหน่งให้แก่แฮ็กเลอร์ไปเลยโดยดุษฎี และการป้องกันตำแหน่งของแฮ็กเลอร์นั้น ได้ผ่านนักมวยดี ๆ หลายคนซึ่งแฮ็กเลอร์ก็สามารถเอาชนะได้อย่างงดงามทุกครั้ง เช่น วิโต อันตูโอเฟอร์โม คู่ปรับเก่าที่เคยเสมอกันมาก่อน, มุสตาฟา แฮมโช่ นักมวยชาวซีเรียน, จอห์น มูกาบี้ นักมวยชาวอูกันดา, ฮวน โดมิงโก โรดัล นักมวยชาวอาร์เจนไตน์, โรแบร์โต้ ดูรัน รวมทั้ง โธมัส เฮิร์นส์ ด้วย จนกระทั่งถึงการป้องกันตำแหน่งครั้งที่ 13 แฮ็กเลอร์ ต้องพบกับ ชูการ์ เรย์ เลนเนิร์ด ที่แขวนนวมไปนานถึง 3 ปี และหวนกลับคืนมาอีกครั้งโดยที่ไม่ได้อุ่นเครื่องชกกับใครอีกเลย ก่อนชกแฮ็กเลอร์ได้ประกาศว่าถ้าเขาแพ้เลนเนิร์ด เขาจะแขวนนวมทันที ซึ่งผลการชกออกมาก็ปรากฏว่า แฮ็กเลอร์สามารถทำได้ดีกว่า แต่เมื่อรวมคะแนน 12 ยกกันแล้ว กรรมการตัดสินให้เลนเนิร์ดเป็นฝ่ายชนะ หลังจากนั้นแฮ็กเลอร์ก็ได้แขวนนวมเลิกชกไปทันทีดังที่ได้ลั่นวาจาไว้ และไม่กลับมายุ่งเกี่ยวกับวงการมวยในฐานะใด ๆ อีกเลย มาร์วิน แฮ็กเลอร์ เป็นนักมวยที่ถนัดซ้าย มีพลังกำปั้นที่หนักหน่วง มีเอกลักษณ์คือ ศีรษะที่โล้นเลี่ยน ซึ่งแฟนมวยชาวไทยให้ฉายาว่า "ไอ้โล้นซ่า" ส่วนในฉายาภาษาอังกฤษคือ " Marvelous" หลังแขวนนวมแฮ็กเลอร์ได้ไปใช้ชีวิตอยู่ในประเทศอิตาลี เปิดร้านขายอาหารอิตาเลียน และหันไปเป็นนักแสดงประกอบตามภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ ของอิตาลี พร้อมกับได้เปลี่ยนชื่อจริงของตัวเองเป็น มาร์เวลัส มาร์วิน แฮ็กเลอร์ (Marvelous Marvin Hagler) ตามชื่อที่ใช้เรียกในสมัยที่ยังชกมวย ปัจจุบัน แฮ็กเลอร์ได้อาศัยอยู่ที่เมืองบล็อกตัน รัฐแมสซาชูเซต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และมาร์วิน แฮ็กเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิลอวัน ราเยวัตส์

มิลอวัน ราเยวัตส์ (Milovan Rajevac; เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2497) เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยคนปัจจุบัน และอดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติกานาชุดที่ลงแข่งขันในรายการฟุตบอลโลก 2010 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ หลังจากที่เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยในขณะนั้นได้ประกาศลาออกจากตำแหน่ง สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทยได้เปิดรับสมัครหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยคนใหม่ โดยมีผู้ฝึกสอนชาวต่างชาติที่มีชื่อเสียงเข้ามายื่นประวัติสังเขปและแสดงวิสัยทัศน์กับทางสมาคม ราเยวัตส์ (ซึ่งขณะนั้นกำลังว่างงานหลังจากถูกปลดออกจากตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมชาติแอลจีเรีย หลังจากคุมทีมได้เพียง 2 นัด) และตัวแทนได้เดินทางเข้ามายื่นประวัติสังเขปและแสดงวิสัยทัศน์ พร้อมกับเดินทางไปชมฟุตบอลไทยลีกหลายนัด จนกระทั่งวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และมิลอวัน ราเยวัตส์ · ดูเพิ่มเติม »

มีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์คดัชเชสไมเคิลล่าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ไมเคิลล่า มาเรีย เมเดอลีน คีเลียน่า; Michaela Maria Madeleine Kiliana von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2497 พระองค์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดกับอาร์คดัชเชสโมนิก้าอีกด้วย เมื่อวัยเด็กของพระองค์ พระองค์ได้ย้ายไปอยู่ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ท่ามกลางการต่อต้านจากญาติพี่น้อง พระองค์ทำงานอยู่ในโลกของแฟชั่น ซึ่งต่อมา พระองค์ทรงตั้งร้านจิลเวอรรี่เครื่องเพชรของพระองค์เอง ต่อมา พระองค์ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์ชื่อดัง ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์ที่เป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกในประวัติศาสตร์ออสเตรีย-ฮังการี พระองค์ทรงเคยประทานสัมภาษณ์ว่า พระองค์ไม่เคยรู้สึกสะดวกสบายเลยเมื่ออยู่กับพระอัยกีของพระองค์ สมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้า ทั้งที่พระองค์ทรงทำทุกอย่างเพื่อที่จะได้ใกล้ชิดพระอง...

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และมีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มนัส เศียรสิงห์

มนัส เศียรสิงห์ หรือ แดง (15 ตุลาคม พ.ศ. 2497 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) ศิลปิน นักวาดภาพ เป็นนักกิจกรรมในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลา และถูกกระสุนปืนเสียชีวิต บริเวณหน้าหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในช่วงเหตุการณ์ 6 ตุลา มนัส เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของนายมณี เศียรสิงห์ และนางสงกรานต์ เกาะทอง สิงห์สนามหลวงสนทนา, เนชั่นสุดสัปดาห์, 2 มิถุนายน 2549 เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพที่ โรงเรียนกรุงเทพวิจิตรศิลป์ และเข้าร่วมชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยและเดินขบวน ช่วงก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และมนัส เศียรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์สยาม ฮ. มหาชัย

มนต์สยาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และมนต์สยาม ฮ. มหาชัย · ดูเพิ่มเติม »

ยานนี

นนี (Yanni) หรือ ยานนิส คริโซมัลลิส (กรีก:Γιάννης Χρυσομάλλης) ปัจจุบันมีชื่อตามกฎหมายในสหรัฐอเมริกาว่า จอห์น ยานนี คริสโตเฟอร์ (John Yanni Christopher) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 เป็นคีตกวี นักเปียโน และนักคีย์บอร์ด ชาวกรีก เกิดที่เมืองกาลามาตา ประเทศกรีซLinda Kohanov, allmusic.com ยานนีมักถูกจัดเป็นนักดนตรีในแนวดนตรีนิวเอจ เคยเปิดการแสดงคอนเสิร์ตที่โบราณสถาน ในกรุงเอเธนส์ เมื่อปีพ.ศ. 2536 ซึ่งเป็นที่มาของอัลบั้มและวีดิทัศน์ Yanni Live At The Acropolis ต่อมาภายหลังเป็นมิวสิกวิดีโอที่ขายที่ดีสุดอันดับสองตลอดกาล นอกจากนี้ ยานนียังเป็นหนึ่งในนักดนตรีชาวตะวันตกเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับอนุญาตให้แสดงที่ทัชมาฮาลในประเทศอินเดีย และพระราชวังต้องห้ามในประเทศจีนอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และยานนี · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งยง โอภากุล

ปยาลใหญ่ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ยิ่งยง โอภากุล เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน มีชื่อเล่นว่า "อี๊ด" เป็นพี่ชายฝาแฝดกับ ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และยิ่งยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกะ อะระกิดะ

ูโกะ อะระกิดะ (荒木田 裕子Arakida Yūko; เกิด 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954) เป็นนักวอลเลย์บอลหญิงชาวญี่ปุ่นซึ่งชนะเลิศในการแข่งขันโอลิมปิก ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการกรีฑาในสภาโอลิมปิกเอเชีย (Athlete's Committee of the Olympic Council of Asia) เธอเป็นสมาชิกทีมญี่ปุ่นที่ชนะการแข่งขันโอลิมปิกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และยูโกะ อะระกิดะ · ดูเพิ่มเติม »

รอน ฮาวเวิร์ด

โรนัลด์ วิลเลียม "รอน" ฮาวเวิร์ด (Ronald William "Ron" Howard) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน โปรดิวเซอร์ และยังเป็นนักแสดง ฮาวเวิร์ดเป็นที่โดดเด่นในยุคทศวรรษ 1960 โดยแสดง The Andy Griffith Show (เครดิตว่า รอนนี ฮาวเวิร์ด) และต่อมาในทศวรรษ 1970 รับบทเป็นริชชี คันนิงแฮม ใน Happy Days (เขารับบทระหว่างปี 1971-1980) หลังจากที่เขาหยุดการแสดงไป ก็มีผลงานกำกับภาพยนตร์หลายเรื่องอย่าง Apollo 13, A Beautiful Mind, Frost/Nixon, The Da Vinci Code, และภาคต่อ Angels & Demons หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐโอคลาโฮมา หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลเอมมี หมวดหมู่:ผู้อำนวยการสร้างรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลออสการ์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรอน ฮาวเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

รอแบร์ กอแอน

รอแบร์ กอแอน (Robert Cohen) นักมวยสากลชาวฝรั่งเศสเชื้อสายแอลจีเรีย เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 สถิติการชก 43 ครั้ง ชนะ 36 (น็อก 14) เสมอ 3 แพ้ 4.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรอแบร์ กอแอน · ดูเพิ่มเติม »

รักเกียรติ สุขธนะ

นายรักเกียรติ สุขธนะ (4 เมษายน พ.ศ. 2497-) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 7 สมัย และอดีตรัฐมนตรี 5 สมัย เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรักเกียรติ สุขธนะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ราม ราชพงษ์

ื่อ ราม ราชพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และราม ราชพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รำลึก ธีระพงษ์

รำลึก ธีระพงษ์ หรือ ต๋อ ปากน้ำ เป็นนักหมากรุกไทยชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากจังหวัดสมุทรปราการ จากการที่รำลึก ธีระพงษ์ ได้ครองตำแหน่งแชมป์หมากรุกไทยของประเทศ ส่งผลให้วลาดีมีร์ ครัมนิค ผู้เป็นแชมป์โลกหมากรุกสากลจากประเทศรัสเซีย หมายที่จะทำศึกหมากรุกไทยและหมากรุกสากลกับเขาในเวลาต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรำลึก ธีระพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รี พย็อง-อุก

รี พย็อง-อุก (Ri Byong-uk หรือ Li Byong-Uk) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีเหนือ เกิดเมื่อ 7 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และรี พย็อง-อุก · ดูเพิ่มเติม »

ร็อดดี ไพเพอร์

รอเดริก จอร์จ ทูมส์ (Roderick George Toombs) หรือเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า "ราวดี" ร็อดดี ไพเพอร์ ("Rowdy" Roddy Piper) (17 เมษายน ค.ศ. 1954 – 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแสดงและนักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา อดีตนักมวยปล้ำสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเฟดดิเรชั่น (WWF) หรือ WWE และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2005 ในปี 2005 ไพเพอร์ถูกตรวจพบว่าเป็นโรคมะเร็งในต่อมน้ำเหลืองและต่อมาในปี 2014 ไพเพอร์ได้ประกาศว่าเขาสามารถเอาชนะโรคร้ายดังกล่าวได้แล้ว เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2015 ไพเพอร์ได้เสียชีวิตลงอย่างสงบจากภาวะหัวใจหยุดเต้นในขณะนอนหลับที่บ้านพักของเขาใน ลอส แอนเจลิส ปิดตำนานนักสู้ในวัย 61 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และร็อดดี ไพเพอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวน

ลอร์ด ออฟ เดอะ ริงส์ ตอนมหันตภัยแห่งแหวน หรือ อภินิหารแหวนครองพิภพ (The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring) เป็นนิยายภาคแรกของนิยายไตรภาคชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน โดยภาคที่สองคือตอน หอคอยคู่พิฆาต และภาคที่สามคือตอน กษัตริย์คืนบัลลังก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และลอร์ดออฟเดอะริงส์ ตอน มหันตภัยแห่งแหวน · ดูเพิ่มเติม »

วรชัย เหมะ

นายวรชัย เหมะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย และแนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือกลุ่มคนเสื้อแดง ประจำจังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวรชัย เหมะ · ดูเพิ่มเติม »

วัชรพล ประสารราชกิจ

ลตำรวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557 อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ นับเป็นผู้ใช้อำนาจผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรกที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวัชรพล ประสารราชกิจ · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ สุระกำพลธร

ตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำพลธร ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิจัยชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะกับงานวิจัยและการออกแบบระบบวงจรที่เหมาะสมกับการทำเป็นวงจรรวม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการประกาศยกย่องให้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวัลลภ สุระกำพลธร · ดูเพิ่มเติม »

วันชัย สอนศิริ

วันชัย สอนศิริ (เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ทนายความ, นักพูด ผู้บรรยายเรื่องกฎหมายทั่วไปของสภาทนายความ มีชื่อเสียงมาจากการให้ความรู้ทางกฎหมาย ในวิทยุคลื่นร่วมด้วยช่วยกัน ต่อมาเป็นผู้จัดรายการเล่าข่าว จากข่าวหนังสือพิมพ์ โดยสอดแทรกความรู้ด้านกฎหมาย และเรื่องขำขัน ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี และยูบีซี โดยจัดรายการคู่กับ ประมาณ เลืองวัฒนะวณิช ทั้งคู่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ "สองทนาย" หรือ "ทนายคู่หู" ในรายการร่วมมือร่วมใจทางทีไอทีวีแต่ได้ออกมาในปี พ.ศ. 2550 หลังการเปลี่ยนโครงสร้างสถานีของไอทีวีเป็นทีไอทีวี ปัจจุบันเป็นอาจารย์สอนกฎหมายอยู่ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, นักจัดรายการคุยสบายๆกับทนายวันชัยทางสถานีวิทยุคลื่นFM.98 MHz ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ 15.00 - 17.00 น.คู่กับมัลลิกา บุญมีตระกูล เคยเป็นพิธีกรรายการ “9 ร่วมใจ คนไทยไม่ทิ้งกัน” ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ซึ่งปฐมทัศน์เมื่อวันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวันชัย สอนศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์ สงวนพงศ์

นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีต ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิบูลย์ สงวนพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิล แพ็ทตัน

วิล แพ็ทตัน เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1954 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ทำงานในแวดวงภาพยนตร์และโทรทัศน์อเมริกันมานาน และยังเคยได้รับรางวัล Obie Award สาขา Best Actor ถึงสองครั้งจากผลงานการแสดงละครเวทีของเขา บทบาทที่แพ็ทตันยังสร้างความประทับใจมี The Mothman Prophecies หรือ ลางสังหลอน...ทูตมรณะ, Remember the Titans หรือ ไททัน สู้หมดใจ เกียรติศักดิ์ ก้องโลก, The Punisher หรือ เดอะ พันนิชเชอร์ เพชฌฆาตมหากาฬ ที่นำแสดงโดยจอห์น ทราโวลต้า และโธมัส เจน, The Cleaner ที่นำแสดงโดยเซเดอริค เดอะ เอ็นเตอร์เทนเนอร์, Armageddon หรือ วันโลกาวินาศ, Gone in Sixty Seconds หรือ 60 ว. รหัสโจรกรรม...อันตราย, Entrapment หรือ กับดักพยัคฆ์เหนือเมฆ, The Postman หรือ เดอะ โพสต์แมน คนแผ่นดินวินาศ 2013, Trixie, Breakfast of Champions, Jesus' Son, และ Road House II, After Hours ที่กำกับโดยมาร์ติน สกอร์เซซี่, In Cold Heaven ของนิโคลาส โร้ก, และยังร่วมแสดงในภาพยนตร์ค่ายอิสระที่ประสบความสำเร็จบนเวทีประกวดใหญ่ ๆ อีกหลายเรื่อง อาทิ The Rapture, In The Soup, The Paint Job, Toll Booth, และ The Spitfire Grill ที่ได้รับรางวัล Audience Award ที่ Sundance Film Festival เมื่อปี 1996 ในปี 1998 แพ็ทตันได้รับรางวัล Best Actor award ที่ Newport International Film Festival จาก Ok Garage (หรือ All Revved Up) เขายังร่วมแสดงภาพยนตร์เรื่องเล็ก ๆ ของค่ายเมเจอร์อย่าง Inventing The Abbotts, The Client หรือ พยานตัวแสบ อำมหิตสองชั้น, Fled หรือ นรกหนีนรก, Copycat หรือ ลอกสูตรฆ่า, Desperately Seeking Susan, A Shock To The System, Everybody Wins, และ No Way Out หรือ ผ่าทางตัน เขายังนำแสดงใน The Agency ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงถึง 2 ชุดปี, และ Seven Spielberg's Into The West ทาง TNT ด้วย ผลงานการแสดงละครเวทีของ แพ็ทตัน ก็มีบทนำแสดงใน “A Lie Of The Mind” ของแซม เชพเพิร์ด, ได้รางวัล Obie Awards จาก “What Did He See” ของริชาร์ด โฟร์แมน (Richard Foreman), และ “Fool For Love” ของเชพพาร์ด เขานำแสดงรอบปฐมทัศน์โลก “Valparaiso” ของดอน เดลิโล ที่ ART ในบอสตัน, และยังนำคณะนักแสดงสร้างความฮือฮาใน “Shoppers Carried By Escalators Into The Flames” ของเดนิส จอห์นสัน ที่เปิดการแสดง ณ Vineyard Theatre ในนิวยอร์ก แพ็ทตันยังอ่านหนังสือลงเสียง (audio books) มากกว่า 40 ชิ้นรวมทั้ง Thirteen Moons ของชาร์ล เฟรเซอร์, และThe Assault on Reason ของอัล กอร์ เขาเกิดในชาร์ลสตัน รัฐแคโรไลน่าใต้ และจบการศึกษาจาก North Carolina School of the Arts หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเซาท์แคโรไลนา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิล แพ็ทตัน · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒน์ ศัลยกำธร

นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร เกิดวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ วิวัฒน์เป็นหนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลงสู่การปฏิบัติโดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนามนุษย์ ในขณะเดียวกันภารกิจสำคัญอีกประการได้แก่การขับเคลื่อน “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผ่านการบ่มเพาะหลักคิดและหลักปฏิบัติผ่าน “ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง” จังหวัดชลบุรี ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการนำศาสตร์พระราชาด้านการจัดการดิน น้ำ ป่า มาฟื้นฟูระบบนิเวศจนสามารถพลิกฟื้นดินดานสร้างระบบนิเวศที่สมดุลต่อระบบการผลิตภาคการเกษตร พัฒนาสู่ชุมชนที่ดำเนินวิถีชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลสู่การสร้างแบบอย่างใหม่ของการศึกษาวิถีไทยในอนาคตด้วยการนำ “บวร-บ้าน วัด โรงเรียน” กลับสู่การบ่มเพาะเด็กและเยาวชนให้มีคุณธรรมนำความรู้ ในนาม “ปูทะเลย์มหาวิชชาลัย” ต้นแบบศูนย์การเรียนรู้ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิของบุคคลในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายวิวัฒน์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนวัดสนามจันทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา, มัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดนวลนรดิศ กรุงเทพมหานคร, ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และได้รับปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นายวิวัฒน์ ดำรงตำแหน่งสุดท้ายก่อนลาออกจากราชการ คือ ผู้อำนวยการกองประเมินผลงาน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักนายกรัฐมนตรี ลาออกมาเพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชให้เป็นจริง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็น ประธานสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ในขณะเดียวกับได้รับตำแหน่งที่ปรึกษาให้กับหลายหน่วยงาน/องค์กร เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมนอกเหนือจากด้านการเกษตร อาทิ ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรม ด้านธุรกิจการบริการ ฯลฯ ในปี พ.ศ. 2543 นายวิวัฒน์เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในนาม "กลุ่มกรุงเทพสามัคคี" แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิวัฒน์ ศัลยกำธร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา เลาหกุล

วิทยา เลาหกุล (1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โค้ชเฮง เป็นอดีตผู้ฝึกสอนสโมสรฟุตบอลชลบุรีและทีมชาติไทย เคยเป็นกัปตันทีมชาติไทย และเป็นนักฟุตบอลคนแรกของไทย ที่เล่นในลีกยุโรป โดยเล่นให้กับแฮร์ธา เบอร์ลิน ในบุนเดสลีกา เคยทำหน้าที่คุมทีมไกนาเร ทตโตะริ ในดิวิชัน 3 ของญี่ปุ่น ปัจจุบันกลับมาดำรงตำแหน่งประธานพัฒนาเทคนิคสโมสรฟุตบอลชลบุรี เอฟซี และอุปนายก ฝ่ายเทคนิค สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิทยา เลาหกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์

วิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์ วิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์ พิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากรายการโทรทัศน์ประเภทสนทนาวาไรตี้ (Variety Talk Show) เช่น ตีสิบ, สี่ทุ่มสแควร์, ที่นี่กรุงเทพฯ เป็นต้น มีฉายาที่ทีมงานสี่ทุ่มสแควร์ตั้งให้ว่า "วีที" สมรสแล้ว มีบุตรสาว 3 คน ปี 2561 วิทวัจน์ ได้รับรางวัล โทรทัศน์ทองคำ สาขารางวัล เกียรติยศคนทีวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิทวัจน์ สุนทรวิเนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ละอองสุวรรณ

นายวินัย ละอองสุวรรณ ในปี พ.ศ. 2552 นายวินัย ละอองสุวรรณ หรือที่รู้จักดีในชื่อ พระยันตระ อมโรภิกขุ (พระวินัย อมโร) อดีตภิกษุชื่อดังที่มีผู้เคารพศรัทธามากทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศในช่วงหนึ่ง ก่อนจะถูกฟ้องคดีกล่าวหาว่าต้องปาราชิกาธิกรณ์และถูกมติมหาเถรสมาคมลงให้พ้นจากภาวะพระภิกษุ และหลบหนีออกนอกประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2537 ไปอาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาในสถานะผู้ลี้ภัยทางการเมืองจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวินัย ละอองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร ชวลิต

นายกองเอก วิเชียร ชวลิต เป็น ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ สมาชิก สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เลขาธิการคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวิเชียร ชวลิต · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิชัย กิตติธเนศวร

ร.วุฒิชัย กิตติธเนศวร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก อดีตประธานสภาจังหวัดนครนายก 4 สมัย และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย แต่ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวุฒิชัย กิตติธเนศวร · ดูเพิ่มเติม »

วีระกร คำประกอบ

นายวีระกร คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 7 สมัย และเป็นบุตรชายของนายสวัสดิ์ คำประกอบอดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และวีระกร คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา แซ่เอียว

ักดา แซ่เอียว (ชื่อเล่น: เซีย) เป็น นักเขียนการ์ตูนล้อการเมือง ประจำหน้า 3 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (ขอลาพักการทำงานดังกล่าว ระหว่างวันพุธที่ 29 พฤษภาคม - วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เพื่อรักษาตัวจากโรคหลอดเลือดสมอง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และศักดา แซ่เอียว · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ จิระพงษ์พันธ์

ริ จิระพงษ์พันธ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ถือเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน คนที่ 12 อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และศิริ จิระพงษ์พันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภักษร

วัฒน์ จงศิริ หรือ ศุภักษร เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทชาวไทย ที่มีผลงานสร้างภาพยนตร์ไทยเกี่ยวกับวัยรุ่น ในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และศุภักษร · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย ชวยบุญชุม

มชาย ชวยบุญชุม เกิดวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นผู้ฝึกสอนชาวไทย เคยเป็นนักฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลการท่าเรือไทย และเคยเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติไทย โดยเล่นในตำแหน่งกองกลาง ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนของสโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมชาย ชวยบุญชุม · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง

ลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง (27 ธันวาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 17 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 10 ของประเทศไทย อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ

มเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮแห่งตองกา (Nanasipau'u Tuku'aho) หรือ สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอูแห่งตองกา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งตองงา พระราชสมภพเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2497 ที่ นูกูอะโลฟา ประเทศตองงา เป็นพระธิดาในบารอนวาเออากับบารอนเนสตูปูตูปูวาเออา สมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ ทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีตูปูที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2534 มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมเด็จพระราชินีนานาซีเปาอู ตูกูอาโฮ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

มเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (សម្តេចព្រះនរោត្តម នរិន្រ្ទពង្ស, พ.ศ. 2497 - 2546) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุโดยมีพระเชษฐาคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก

หพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (Oriental & Pacific Boxing Federation; ชื่อย่อ: OPBF) ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สุพัฒน์ ธรรมเพชร

นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 6 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุพัฒน์ ธรรมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สุภโชค สัมปัตตะวนิช

ลโทสุภโชค สัมปัตตะวนิช (20 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นผู้อำนวยการส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุภโชค สัมปัตตะวนิช · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์

ลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และรองประธานกรรมการคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และนายทหารพิเศษ ประจำกรมนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตเจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารบก มีชื่อเล่นว่า "เต่า" หรือที่บรรดาสื่อมวลชนเรียกว่า "บิ๊กเต่า".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยัน ส่องแสง

ริยัน ส่องแสงเป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชายเสียงดี ที่มีผลงานเพลงที่เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีของแฟนเพลงหลายเพลง แต่ก็เป็นนักร้องที่เข้าขั้นอาภัพ เนื่องจากถูกลอบยิงจนเสียชีวิตตั้งแต่ช่วงที่กำลังเริ่มจะโด่งดัง สุริยัน ส่องแสง เป็นลูกศิษย์หัวแก้วหัวแหวนอีกคน ของครู ชลธี ธารทองเขาโด่งดังอย่างมากจากเพลง " วันนี้สวยกว่าเมื่อวาน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุริยัน ส่องแสง · ดูเพิ่มเติม »

สุวโรช พะลัง

นายสุวโรช พะลัง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุวโรช พะลัง · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์

นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และนักธุรกิจชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สตีวี เรย์ วอห์น

ตีเฟน "สตีวี" เรย์ วอห์น (Stevie Ray Vaughan) (เกิด 3 ตุลาคม 1954 - 27 สิงหาคม 1990) เป็นนักดนตรี นักร้อง นักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์เพลง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะนักร้องและนักกีตาร์ ดนตรีเขานำแนวบลูส์มาผสมกับจังหวะโซโลกีตาร์แบบฮาร์ดร็อกและเอกลักษณ์การแต่งตัวที่ชอบสวมหมวกคาวบอย ถึงแม้ว่าเขาจะโลดแล่นในวงการอาชีพดนตรีเพียง 7 ปี วอห์นก็มักได้รับการสรรเสริญในฐานะหนึ่งในผู้มีที่มีอิทธิพลต่อวงการกีตาร์ไฟฟ้าในประวัติศาสตร์เพลงบลูส์ และหนึ่งในผู้ฟื้นฟูแนวบลูส์ให้กับมาโดดเด่นอีกครั้งในช่วงยุค 80 ออลมิวสิก (AllMusic) ได้บรรยายเขาว่า "นักกีตาร์ผู้กระตุ้นบลูส์แห่งยุค 80 กับทักษะที่ยังคงสัมผัสได้แม้เขาจะเสียชีวิตไปแล้วก็ตาม" วอห์นเกิดและเติบโตในดัลลัส รัฐเท็กซัส เขาได้หัดเล่นกีตาร์ตั้งแต่อายุเพียง 7 ปี ได้รับแรงบันดาลใจมาจากพี่ชายของเขา จิมมี ในปี 1971 เขาได้ออกจากโรงเรียนมัธยมและย้ายไปอยู่ที่อัสตินในปีต่อมา ที่ซึ่งเขาได้เล่นดนตรีกับอีกหลายๆวง ทั้งร่วมกับวงของมาร์ก เบนโน (Marc Benno), เดอะไนท์คราวเลอรส์ (The Nightcrawlers) และในเวลาต่อมาร่วมกับเดนนี ฟรีแมน (Denny Freeman)ในคอบลัส ซึ่งเขาได้ร่วมงานกันในช่วงปลาย 1977 วอห์นได้ก่อตั้งวงของเขาขึ้นเองในชื่อ ทริปเปิลทรีดรีวิว(Triple Threat Revue) ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น ดับเบิลทรัพเบิล (Double Trouble) ภายหลังการจ้างมือกลองคริสต์ เลย์ตัน (Chris Layton) และมือเบสทอมมี แซนนอน (Tommy Shannon) เขาเริ่มได้รับชื่อเสียงภายหลังจากการแสดงที่เทศกาลดนตรีแจ๊สมองโทรซ์ (Montreux Jazz Festival) ในปี 1982 และในปี 1983 เขาก็ได้เปิดตัวสตูดิโออัลบั้ม เท็กซัสฟลัด (Texas Flood) ซึ่งสามารถขึ้นชาร์ทในอันดับที่ 38 10 ซิงเกิลจากอัลบั้มประสบความสำเร็จในทางตลาดนับตั้งแต่เปิดตัวซึ่งสามารถจำหน่ายได้มากกว่าครึ่งล้านก็อปปี้ ในช่วงปลาย 1986 วอห์นได้คิดที่จะจัดทัวร์คอนเสิร์ตร่วมกับเจฟฟ์ เบคในปี 1989 และโจ ค็อกเกอร์ในปี 1990 ก่อนที่เขาจะเสียชีวิตลงจากอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกในวันที่ 27 สิงหาคม 1990 ด้วยอายุเพียงแค่ 35 ปี วอห์น ได้รับแรงบันดาลทางดนตรีมาจากวงบลูส์ร็อกทั้งจากอังกฤษและอเมริกัน ดนตรีของเขามักจะใช้แอมป์ขยายเสียงสูงและนำกระแสสไตล์วินเทจเข้าใช้ในงาน วอห์นมักจะนำแอมป์ที่องค์ประกอบแตกต่างเข้าด้วยกันและใช้คันเหยียบเพื่อเล่นเอฟเฟกต์เล็กๆ คริส กิล (Chris Gill) จากกีตาร์เวิร์ดได้พรรณนาไว้ว่า "โทนกีตาร์ของสตีวี เรย์ วอห์น ใช้เสียงแห้งราวกับช่วงหน้าร้อนในเมืองซานอันโตนิโอและระยิบระยับอย่างสดใสดั่งงานเปิดตัวแฟชันของนางแบบแห่งดัลลัส ผลิตภัณฑ์ของเสียงธรรมชาติแห่งแอมป์ราวกับอยู่บนเฮดรูมที่แสนสะอาด ถึงอย่างไรก็ดีวอห์นใช้คันเหยียบแค่ครั้งคราวเพื่อเสริมแต่งเสียงของเขา โดยหลักเพื่อเร่งให้เด่นชัด บางครั้งเขายังได้ปรับโทนลำโพงและคันเหยียบเพื่อเพิ่มเนื้องาม" วอห์นได้รับรางวัลทางดนตรีมากมายในช่วงชีวิตของเขาและภายหลังจากนั้น ในปี 1983 ได้มีการทำผลโพลจากกีตาร์เพลเยอร์ (Guitar Player) ได้โหวตให้เขาในฐานะ "ผู้มีพรสวรรค์ใหม่" (Best New Talent) และ "มือกีตาร์ไฟฟ้าเพลงบลูส์ที่ดีที่สุด" (Best Electric Blues Guitar Player) ในปี 1984 มูลนิธิเพลงบลูส์ได้ใส่ชื่อเขาในฐานะ "เอนเตอร์เทนเนอร์แห่งปี" (Entertainer of the Year) และ "นักดนตรีเพลงบลูส์แห่งปี" (Blues Instrumentalist of the Year) และในปี 1987 นิตยสารเพอร์ฟอร์แมนซ์ได้ยกย่องเขาในฐานะผู้เล่น "ริทึมและบลูส์แห่งปี" (Rhythm and Blues Act of the Year) เขายังได้รับ 6 รางวัลแกรมมี และรางวัลดนตรีอัสติน 10 รางวัล เขาได้รับการยกย่องเข้าสู่หอเกียรติยศบลูส์ในปี 2000 และหอเกียรติยศนักดนตรีในปี 2014 นิตยสารโรลลิงสโตนได้จัดอันดับให้เขาอยู่อันดับที่ 12 ในหัวข้อ "นักกีตาร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล" ในปี 2015 เขาก็ได้ถูกบรรจุเข้าสู่หอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสตีวี เรย์ วอห์น · ดูเพิ่มเติม »

สนานจิตต์ บางสพาน

นานจิตต์ บางสพาน เป็นนามปากกาของ สมศักดิ์ วงศ์รัฐปัญญา นักวิจารณ์ภาพยนตร์ และนักเขียน มีงานเขียนบทความวิจารณ์ภาพยนตร์ และสังคม ตีพิมพ์ในนิตยสาร สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และสนานจิตต์ บางสพาน · ดูเพิ่มเติม »

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) · ดูเพิ่มเติม »

หลิน ชิงเสีย

หลิน ชิงเสีย (Brigitte Lin, Brigitte Lin Ching Hsia) อดีตนักแสดงหญิงชาวไต้หวันที่มีชื่อเสียงโด่งดังในระดับเอเชีย เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 ที่เมืองไทเป ประเทศไต้หวัน เป็นลูกคนที่ 2 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 3 คน เข้าสู่แวดวงการแสดงได้ขณะเรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษาและรอการเอนทรานซ์เข้ามหาวิทยาลัย ผู้กำกับฯและผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชื่อดัง ซ่ง ฉุนเทา เห็นแววเข้าขณะเดินเลือกซื้อของ จึงได้ติดต่อมาเล่นในภาพยนตร์เรื่อง Outside The Window ในปี ค.ศ. 1972 ที่ดัดแปลงเนื้อเรื่องมาจากนิยายของ ฉงเหยา (ผู้ประพันธ์เรื่อง องค์หญิงกำมะลอ) จากนั้นเธอก็เริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมาในแวดวงภาพยนตร์ของไต้หวัน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1983 ได้เข้าสู่แวดวงภาพยนตร์ของฮ่องกงด้วยการแสดงในภาพยนตร์กำลังภายในแฟนตาซีเรื่อง Zu Warriors from the Magic Mountain คู่กับ เจิ้ง เส้าชิว จากการกำกับของ ฉีเคอะ ทำให้มีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นมา และได้รับรางวัลนักแสดงสมบทหญิงยอดเยี่ยมด้วย หลังจากนั้น หลิน ชิงเสีย ก็ได้มีผลงานอีกหลาย ๆ เรื่องตามมา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์แนวกำลังภายในหรือแอ๊คชั่นแทบทั้งนั้น เช่น Swordsman II, New Dragon Gate Inn, Police Story 3: Super Cop, Royal Tramp, Royal Tramp II และ Handsome Siblings ในปี ค.ศ. 1992 และ Swordsman III, The Bride with White Hair, The Bride with White Hair 2, The Eagle Shooting Heroes ในปี ค.ศ. 1993 Ashes of Time และChungking Express ในปี ค.ศ. 1994, Bishonen ในปี ค.ศ. 1998 จากนั้นเธอก็ได้สมรสกับนักธุรกิจชาวฮ่องกง หลี่หยวน ที่ซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1994 โดยมี เติ้ง ลี่จวิน และ ฉีเคอะ ร่วมเป็นสักขีพยานในงานด้วย ปัจจุบัน หลิน ชิงเสีย ออกวงการบันเทิงไปเพื่อทำหน้าที่แม่บ้านอย่างเดียว จนประมาณต้น ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และหลิน ชิงเสีย · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ อัน

หลี่ อัน (จีน: 李安, พินอิน: Lǐ Ān) (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2497) คนไทยรู้จักในชื่อ อั้งลี่ (Ang Lee) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไต้หวัน เขาได้รับรางวัลออสการ์ 2 ครั้งจาก ภาพยนตร์เรื่อง หุบเขาเร้นรัก (Brokeback Mountain, 2005) และ พยัคฆ์ระห่ำมังกรผยองโลก (Crouching Tiger, Hidden Dragon, 2000) ในสาขาภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม The Wedding Banquet (1993) และ ชีวิตอัศจรรย์ของพาย (Life of Pi, 2012) ในสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม ในปี 2007 เขาได้คว้ารางวัลสิงโตทองคำของเทศกาลภาพยนตร์เวนิซ จากภาพยนตร์เรื่อง Lust, Caution หนังสายลับย้อนยุค ในสมัยทศวรรษที่ 1940 ของเมืองเซี่ยงไฮ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ประเทศจีนถูกกองทัพของประเทศญี่ปุ่นรุกราน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และหลี่ อัน · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

หนองคาย ส.ประภัสสร

หนอง.ประภัสสร หรือ หนอง.ประภัสสร (31 สิงหาคม พ.ศ. 2497 —) เจ้าของฉายา แข้งซ้ายลุ่มน้ำโขง เป็นนักมวยไทยชาวไทยระดับแชมป์รุ่นจูเนียร์ไลท์เวท และเฟเธอร์เวทแห่งสนามมวยราชดำเนิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และหนองคาย ส.ประภัสสร · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต การิกาญจน์

อภิชาต การิกาญจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอภิชาต การิกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ หาลำเจียก

อภิชาติ หาลำเจียก (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 - 15 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ 2 สมัย สังกัดพรรคกิจสังคม และพรรคสามัคคีธรรม อดีตสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอภิชาติ หาลำเจียก · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย

นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อรนภา กฤษฎี

อรนภา กฤษฎี หรือชื่อเดิม พรชัย เกิดวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2497 นักแสดง นายแบบ พิธีกร ช่างแต่งหน้า ผู้เชี่ยวชาญด้านความงาม เป็นหนึ่งในสามกรรมการของรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว เข้าสู่วงการจากการเป็นแบบแฟชั่นในนิตยสารลลนา ประมาณ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอรนภา กฤษฎี · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟองโซ่ ซาโมร่า

อัลฟองโซ ซาโมรา (Alfonso Zamora) นักมวยสากลชาวเม็กซิโก เกิดเมื่อ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอัลฟองโซ่ ซาโมร่า · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉรา ภาณุรัตน์

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอัจฉรา ภาณุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อังเกลา แมร์เคิล

อังเกลา โดโรเทอา แมร์เคิล (Angela Dorothea Merkel; นามสกุลเดิม คัสเนอร์; เกิด 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ณ เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของเยอรมนี ซึ่งได้รับการเลือกตั้งสู่รัฐสภาเยอรมันจากรัฐเมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น เป็นประธานพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน(CDU) ตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2543 และเป็นประธานกลุ่มพรรคสหภาพประชาธิปไตยคริสเตียน-สหภาพสังคมคริสเตียนในรัฐสภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ. 2548 นอกจากนั้นนางแมร์เคิลยังเป็นผู้นำรัฐบาลผสมกับพรรคสหภาพสังคมคริสเตียน (CSU) และพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนี (SPD) ซึ่งก่อตั้งขึ้นหลังภายจากการเลือกตั้งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 นางแมร์เคิลชนะการเลือกตั้งสมัยที่ 2 เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอังเกลา แมร์เคิล · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรย์ คาร์ลอฟ

อันเดรย์ เกนนาเดียวิช คาร์ลอฟ (Андре́й Генна́дьевич Ка́рлов, Andrei Gennadyevich Karlov) เป็นนักการทูตชาวรัสเซีย ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตรัสเซียประจำประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอันเดรย์ คาร์ลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรจ บาบิส

อันเดรจ บาบิส  (เกิด 2 กันยายน ค.ศ. 1954) เป็นผู้ประกอบการ, นักธุรกิจ และนักการเมืองชาวเช็ก เป็นผู้ก่อตั้งพรรคอาโน 2011 และเป็นว่าที่นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเช็กเกีย จากการเลือกตั้งเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอันเดรจ บาบิส · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล คริสเตียนแห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกคาร์ล คริสเตียนแห่งออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอาร์ชดยุกคาร์ล คริสเตียนแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมาเรีย-อัสตริสแห่งออสเตรีย (เดิม:เจ้าหญิงมาเรีย-อัสตริสแห่งลักเซมเบิร์ก) ทรงเป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน พระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งชาวเบลเบียม และ สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระมารดา พระองค์ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐา 3 พระองค์คือ แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เสกสมรสกับ อาร์ชดยุกคาร์ล-คริสเตียนแห่งออสเตรีย มีพระบุตร 4 พระอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอาร์ชดัชเชสมารี-อัสทรีดแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาณัฐชัย รัตตกุล

อาณัฐชัย รัตตกุล ผู้อำนวยการศูนย์นโยบายสาธารณะและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และอดีตนักการเมืองชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอาณัฐชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

อิทธิ ศิริลัทธยากร

อิทธิ ศิริลัทธยากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอิทธิ ศิริลัทธยากร · ดูเพิ่มเติม »

อุมาพร บัวพึ่ง

อุมาพร บัวพึ่ง (23 สิงหาคม พ.ศ. 2497 -) นักร้องแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอุมาพร บัวพึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อุดม คชินทร

ตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร (17 สิงหาคม พ.ศ. 2497 -) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอุดม คชินทร · ดูเพิ่มเติม »

อูโก ชาเบซ

อูโก ราฟาเอล ชาเบซ ฟรีอัส (Hugo Rafael Chávez Frías; 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 – 5 มีนาคม ค.ศ. 2013) เป็นประธานาธิบดีเวเนซุเอลาตั้งแต่ปี 1999 กระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในปี 2013 เขาเป็นอดีตผู้นำพรรคการเมืองขบวนการสาธารณรัฐที่ห้า (Fifth Republic Movement) นับแต่ก่อตั้งในปี 1997 ถึงปี 2007 เมื่อเขากลายเป็นผู้นำพรรคสหสังคมนิยมแห่งเวเนซุเอลา (PSUV) ตามข้อมูลของรัฐบาล เขามุ่งนำการปฏิรูปสังคมนิยมไปปฏิบัติในประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสังคมชื่อ การปฏิวัติโบลีวาร์ ที่เห็นการใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สภาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม การโอนอุตสาหกรรมหลักหลายประเภทเป็นของรัฐ การเพิ่มเงินทุนด้านสาธารณสุขและการศึกษาของรัฐ และการลดความยากจนลงอย่างสำคัญ ตามอุดมการณ์ทางการเมืองโบลีวาร์นิยม (Bolivarianism) และ "สังคมนิยมแห่งศตวรรษที่ 21" ของเขาเอง เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นกรรมกรในซาบาเนตา รัฐบารีนัส ต่อมาเป็นนายทหารอาชีพ และ หลังไม่พอใจกับระบบการเมืองเวเนซุเอลา เขาได้ก่อตั้งขบวนการปฏิวัติโบลีวาร์-200 (MBR-200) ขึ้นในต้นทศวรรษ 1980 เพื่อดำเนินการโค่นล้มรัฐบาล ชาเบซนำ MBR-200 ในรัฐประหารที่ล้มเหลวต่อรัฐบาลพรรคกิจประชาธิปไตยของรัฐบาลการ์โลส อันเดรส เปเรซในปี 1992 ซึ่งเขาถูกจำคุก เมื่อได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำในอีกสองปีให้หลัง เขาก่อตั้งพรรคการเมืองขบวนการสาธารณรัฐที่ห้าซึ่งมีอุดมการณ์สังคมประชาธิปไตย และได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีเวเนซุเอลาในปี 1998 ภายหลัง เขาริเริ่มรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ซึ่งเพิ่มสิทธิแก่กลุ่มที่ถูกเบียดขับ และเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของรัฐบาลเวเนซุเอลา และได้รับเลือกตั้งอีกสมัยในปี 2000 ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสมัยที่สอง เขาริเริ่มระบบภารกิจโบลีวาร์ (Bolivarian Mission) สภาชุมชน (Communal Council) และสหกรณ์ที่มีกรรมกรเป็นผู้จัดการ เช่นเดียวกับโครงการปฏิรูปที่เดิน ขณะที่ยังโอนอุตสาหกรรมสำคัญหลายประเภทเป็นของรัฐ วันที่ 7 ตุลาคม 2012 ชาเบซชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สี่ และได้ดำรงตำแหน่งอีกสมัยเป็นเวลาหกปี ชาเบซอธิบายนโยบายของตนว่า ต่อต้านจักรวรรดินิยม และเขาเป็นนักวิจารณ์เสรีนิยมใหม่และทุนนิยมปล่อยให้ทำไป โดยทั่วไป ชาเบซเป็นปรปักษ์สำคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา เขาวางตนเป็นพันธมิตรอย่างเข้มแข็งกับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ของฟีเดล และราอูลต่อมา ในคิวบา และรัฐบาลสังคมนิยมของเอโบ โมราเลสในโบลิเวีย ราฟาเอล กอร์เรอาในเอกวาดอร์ และ ดาเนียล ออร์เตกาในนิการากัว การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของเขาถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของ "คลื่นสีชมพู" สังคมนิยมที่กวาดไปทั่วละตินอเมริกา เขาสันบสนุนความร่วมมือละตินอเมริกาและแคริบเบียน และเป็นตัวตั้งตัวตีในการจัดตั้งสหภาพประชาชาติอเมริกาใต้ พันธมิตรโบลีวาร์เพื่อทวีปอเมริกา ธนาคารใต้ (Bank of the South) ที่ครอบคลุมทั่วทั้งภูมิภาค และเครือข่ายโทรทัศน์ภูมิภาคเทเลซู (TeleSur) ชาเบซเป็นบุคคลซึ่งเป็นที่ถกเถียงและมีความเห็นแตกแยกมากทั้งในและต่างประเทศ วันที่ 30 มิถุนายน 2011 ชาเบซแถลงว่าเขากำลังฟื้นตัวจากการผ่าตัดเพื่อนำเนื้องอกฝีที่มีเซลล์มะเร็งออก เขาต้องเข้ารับการผ่าตัดครั้งที่สองในเดือนธันวาคม 2012 เขามีกำหนดสาบานตนเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2013 แต่รัฐสภาเวเนซุเอลาตกลงเลื่อนพิธีเข้ารับตำแหน่งเพื่อให้เขามีเวลาฟื้นตัวและกลับจากการเดินทางเพื่อไปรักษาพยาบาลเป็นครั้งที่สามที่คิวบา ชาเบซถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2013 ด้วยวัย 58 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอูโก ชาเบซ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ แสงสิงแก้ว

ลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งประธานคณะกรรมการควบคุมการขอทาน กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ คนที่ 9,รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติฝ่ายกิจการพิเศษ, อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 และเป็นผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอดุลย์ แสงสิงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ คล้ามไพบูลย์

องอาจ คล้ามไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ อดีต..กรุงเทพฯ หลายสมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และองอาจ คล้ามไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุชา สะสมทรัพย์

นายอนุชา สะสมทรัพย์ (เกิด 2 มีนาคม พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครปฐม เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอนุชา สะสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค

อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค (Алякса́ндр Рыго́равіч Лукашэ́нка Алекса́ндр Григо́рьевич Лукаше́нко, เกิด 30 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนปัจจุบันของเบลารุส ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เครเมอร์

ันส์ เครเมอร์ (เกิด 19 มีนาคม ค.ศ. 1954) เป็นนักแสดงชายชาวเยอรมัน โดยฮันส์แสดงภาพยนตร์มากถึง 40 เรื่อง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฮันส์ เครเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลีมะฮ์ ยากบ

ลีมะฮ์ ยากบ (Halimah Yacob; ยาวี: حاليمه بنت ياچوب, เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนที่แปดและคนปัจจุบันของสิงคโปร์มีเชื้อสายมาเลย์ และ อินเดีย  แต่งงานกับ โมฮัมเหม็ดอับดุลลาห์ (Alhabshee) ซึ่งมีเชื้อสายอาหรับ มีบุตร 5 คน “มาดามฮาลิมะฮ์” จบการศึกษาจาก โรงเรียน Tanjong Katong Girls ‘School และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ระดับ LLB (Hons) จบปริญญา LLM ที่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก NUS ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กฎหมายที่ สภาสหภาพแห่งชาติสหภาพการค้า และเป็นผู้อำนวยการแผนกบริการทางกฎหมายในได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการสถาบันแรงงานแห่งประเทศสิงคโปร์ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของสถาบันแรงงานศึกษา ทงจง) “มาดามฮาลิมะฮ์” เข้าสู่เส้นทางการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ พรรค PAP และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา โดยเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฮาลีมะฮ์ ยากบ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส

การเสียชีวิตของดอนฮิยาลา จากเรื่อง “ดอนฮิยาลา และอาลีฟูลฮู” ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส บอกว่า เรื่องราวของชาวมัลดีฟส์มาจากรามายณะ ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ แบบแปลนของวัดพุทธที่วาดโดย ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส ปลาของมัลดีฟส์ ระบายสีโดย ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟิแอส ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส (Xavier Romero-Frías, ชาบิเอ โรเมโร-ฟริอัส, เกิดปี พ.ศ. 2497) เป็นนักเขียนและนักวิชาการสัญชาติสเปน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมานุษยวิทยาและด้านภาษา เคยพำนักอยู่ที่มัลดีฟส์มาเป็นเวลามากกว่า 13 ปี ปัจจุบันพำนักอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส เริ่มต้นศึกษาเจาะลึกเรื่องคติชาวบ้านและประเพณีการพูดของชาวมัลดีฟส์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌือ ฌือซุช

อร์ฌือ ฟืร์นังดู ปิญไญรู ดือ ฌือซุช (Jorge Fernando Pinheiro de Jesus) หรือ ฌอร์ฌือ ฌือซุช เกิดเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 ในเมืองอามาโดรา ประเทศโปรตุเกส ในอดีตเขาเคยเป็นนักฟุตบอลชื่อดังคนหนึ่งของโปรตุเกส โดยเขาโด่งดังมากตอนอยู่กับเอสเทียร่า อามาโดรา สโมสรฟุตบอลแห่งหนึ่งจากเมืองอามาโดรา โดยเล่นในตำแหน่งกองกลาง และได้หันมาเป็นผู้จัดการทีมแทนตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และฌอร์ฌือ ฌือซุช · ดูเพิ่มเติม »

จรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร

นายจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา เขต 8 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจรูญพงศ์ พันธุ์ศรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ทราโวลตา

อห์น โจเซฟ ทราโวลตา เกิดเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน รุ่งโรจน์ที่สุดในฮอลลีวูด ด้วยหนังดังอย่าง Saturday Night Fever และ Grease ตลอดจนซีรีส์ทางโทรทัศน์ และผลงานเพลงประกอบภาพยนตร์ เขาเหมือนกับคนดังคนอื่น ๆ ที่ยืนอยู่ตรงจุดสูงสุดได้เพียงไม่นาน ช่วงทศวรรษที่ 80 ชื่อเสียงของเขาก็โรยเสียแล้ว และกลายเป็นเพียงความทรงจำจากยุคของเขา ช่วงทศวรรษต่อ ๆ มา เขายังสามารถคืนสู่ความเป็นซูเปอร์สตาร์ได้อีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจอห์น ทราโวลตา · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ไมเคิล ทัลบอต

อห์น ไมเคิล ทัลบอต (John Michael Talbot) เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1954 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน พระภิกษุสงฆ์คริสต์ศาสนาในนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจอห์น ไมเคิล ทัลบอต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จำเริญ ทรงกิตรัตน์

ำเริญ ทรงกิตรัตน์ (ซ้าย) ชกชิงแชมป์ท่ามกลางสายฝนกับจิมมี่ คาร์รัทเธอร์ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ มีชื่อจริงว่า ร้อยตำรวจเอก สำเริง ศรีมาดี เป็นชาวจังหวัดนครพนม เป็นนักมวยสากลชาวไทยคนแรกที่ได้ชิงแชมป์โลก และเป็นแชมป์สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) คนแรกของประเทศไทย มีฉายาว่า "จิ้งเหลนไฟ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจำเริญ ทรงกิตรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิม ดักแกน

มส์ เอ็ดเวิร์ด "จิม" ดักแกน จูเนียร์ (James Edward "Jim" Duggan, Jr.) เกิดวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจิม ดักแกน · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี่ คาร์รัทเธอร์

มมี่ คาร์รัทเธอร์ (Jimmy Carruthers) นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย เป็นแชมป์โลกคนแรกของออสเตรเลีย เกิดเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 มีชื่อจริงว่า เจมส์ วิลเลี่ยม คาร์รัทเธอร์ (James William Carruthers) มีสถิติการชก 25 ครั้ง ชนะ 21 (น็อค 13) แพ้ 4.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจิมมี่ คาร์รัทเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุมพฏ บุญใหญ่

นายจุมพฏ บุญใหญ่ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดสกลนคร จบการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต สาขากฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคำแหง และเนติบัณฑิต สาขากฎหมาย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เมื่อจบแล้วได้ประกอบอาชีพเป็นทนายความและครู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจุมพฏ บุญใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จ๊อกกี้ ศิษย์กันภัย

การทำศึกระหว่างสกัด เพชรยินดี กับจ๊อกกี้ ศิษย์กันภัย จ๊อกกี้ ศิษย์กันภัย เจ้าของฉายา ขุนเข่าพลังม้า มีชื่อจริงคือ พุทธา นารี เป็นนักมวยไทยชาวไทย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และจ๊อกกี้ ศิษย์กันภัย · ดูเพิ่มเติม »

ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และธีระวัฒน์ เหมะจุฑา · ดูเพิ่มเติม »

ทรงชัย วงศ์สวัสดิ์

นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน เคยได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เพียงคนเดียวของภาคเหนือที่ไม่ได้สังกัดพรรคไทยรักไทย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์

ลอากาศเอก ทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ (ACM Songtam Chokkanapitag) (13 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และทรงธรรม โชคคณาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนียา รัตนเศรษฐ

นางทัศนียา รัตนเศรษฐ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครราชสีมา เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคมหาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และทัศนียา รัตนเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ทูลลี แบลนชาร์ด

ทูลลี อาร์เทอร์ แบลนชาร์ด (Tully Arthur Blanchard) เกิด 22 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และทูลลี แบลนชาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ทูน หิรัญทรัพย์

ทูน หิรัญทรัพย์ (24 ตุลาคม พ.ศ. 2497 -) พระเอกยอดนิยมชาวไทย นักแสดงคู่ขวัญร่วมกับ จารุณี สุขสวัสดิ์ ทูน หิรัญทรัพย์ มีชื่อจริงว่า โรเบิร์ต โจเซฟ เชสเปเดส เป็นลูกครึ่งไทย-ฟิลิปปินส์ บิดาเป็นชาวฟิลิปปินส์เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก จบการศึกษาจากโรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี แล้วเดินทางไปท่องเที่ยวผจญภัยกับบิดาเลี้ยง ที่ประเทศแทนซาเนียนาน 1 ปี ก่อนจะกลับเมืองไทย จบปริญญาตรี ด้านกราฟิกดีไซน์จากมหาวิทยาลัย รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลียและเริ่มเข้าสู่วงการเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และทูน หิรัญทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทอง อสุนี ณ อยุธยา

นทอง อสุนี ณ อยุธยา เป็นนักร้อง นักเขียน นักแต่งเพลง นักวิจารณ์ดนตรี และดีเจเปิดแผ่นเสียง ปัจจุบันหันมาสนใจอาชีพโหราศาสตร์ เชี่ยวชาญการทำนายด้วยไพ่ทาโรต์ โดยเป็นหนึ่งในผู้เขียนตำราการดูไพ่ทาโรต์เป็นภาษาไทย ขุนทองจบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) จบปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ สาขาชีวเคมี จาก University of Alabama สหรัฐอเมริกา เริ่มงานดนตรีจากการเป็นบรรณาธิการหนังสือดนตรีของสยามกลการ และเริ่มเขียนบทความวิจารณ์ดนตรีในมติชนสุดสัปดาห์ จากนั้นได้เริ่มสนใจการทำนายดวงชะตาด้วยไพ่ทาโรต์ และเขียนบทความในนิตยสาร ขุนทองเคยต้องโทษจำคุกอยู่ระยะหนึ่งเป็นเวลา 20 เดือน จากข้อหาทำร้ายร่างกายอดีตภรรยา หลังจากพ้นโทษได้หันมาประกอบอาชีพรับทำนายดวงชะตาเพียงอย่างเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และขุนทอง อสุนี ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ

้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, คำย่อ UNHCR) เป็นองค์การที่รับภารกิจหน้าที่จาก UNRRA: United Nations Relief and Rehabilitation Administration ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2486 โดยแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่ช่วยเหลือการกลับถิ่นฐานเดิมของผู้ลี้ภัยจำนวนกว่า 8 ล้านคน ซึ่งเกิดจากการสู้รบในสงครามโลกครั้งที่ 2 สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2493 โดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ภารกิจหลัก คือ การปกป้องและสนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยทั่วโลก ตามข้อเรียกร้องของรัฐบาลในแต่ละประเทศหรือข้อเรียกร้องของสหประชาชาติ นอกจากนี้ สำนักงานฯ ยังมีหน้าที่สำคัญในการส่งผู้ลี้ภัยกลับประเทศต้นทาง หรือ ประเทศที่สามเพื่อตั้งถิ่นฐานใหม่ สำนักงานฯ มีภารกิจหลักคือ เป็นผู้นำและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อปกป้องและแก้ปัญหาของผู้ลี้ภัยทั่วโลก และการปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ลี้ภัย โดยเฉพาะสิทธิที่จะอาศัยอยู่อย่างปลอดภัยในรัฐอื่น เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับทางออกที่ยั่งยืน ซึ่งได้แก่การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิมโดยสมัครใจ (voluntary repatriation) การตั้งถิ่นฐานในรัฐผู้รับ (local integration) หรือการไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สาม (third country resettlement) และภารกิจที่ตามมาคือ การปกป้องและให้ความช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรมแก่บุคคลในความห่วงใย (person of concern, POC) กลุ่มอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ผู้แสวงหาที่พักพิง (asylum seeker) ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ (internally displaced person) บุคคลไร้รัฐ (stateless person) และผู้ที่เดินทางกลับประเทศต้นทาง (returnee) ภารกิจของสำนักงานฯ ในขณะนี้ มักจะอยู่ในประเทศที่ยังคงมีสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปกติและประเทศใกล้เคียง เช่น เลบานอน ซูดาน ชาด อิรัก อัฟกานิสถาน เคนยา อย่างไรก็ตาม สำนักงานฯ ยังมีภารกิจครอบคลุมไปถึงผู้ที่หนีภัยจากการประหัตประหาร และผู้ที่พลัดถิ่นอันเนื่องมาจากภัยพิบัติอีกด้วย ทั้งนี้ สำนักงานฯ มีสำนักงานระดับภูมิภาคในประเทศไทยที่อาคารสำนักงานสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก สำนักงานฯ ได้รับรางวัลโนเบลสันติภาพในปี พ.ศ. 2497 และ พ.ศ. 2524 ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ นายฟีลิปโป กรันดี (Filippo Grandi) นักการทูตชาวอิตาลี และประธานคณะกรรมการบริหารสำนักงานฯ คนปัจจุบันได้แก่ นาย Carsten Staur เอกอัครราชทูตราชอาณาจักรเดนมาร์กประจำสำนักงานสหประชาชาติ ณ นครเจนีว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ ยนตรรักษ์

ณัฐ ยนตรรักษ์ เป็นนักเปียโน นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงของไทย มีผลงานการเล่นเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และณัฐ ยนตรรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงตา ตุงคะมณี

วงตา ตุงคะมณี (ชื่อเล่น ตุ๊ก) เกิดเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2497 ที่โรงพยาบาลมิชชั่น เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อเสียงคือเป็นพิธีกร สี่ทุ่มสแควร์ ทางช่อง 7 ร่วมกับวิทวัส สุนทรวิเนตร์ และเด๋อ ดอกสะเดา เคยได้รับรางวัลเทพทอง สาขานักวิทยุและโทรทัศน์ดีเด่น และยังเป็นพิธีกรรายการ "สีสันวันสบาย" และ "ดวงตาพาชิม".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และดวงตา ตุงคะมณี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวิด โอเยเดโป

th'' '''-'''Bishop David Oyedepo ดาวิด โอเยเดโป เกิดเมื่อ 27 กันยายน ค.ศ. 1954 เป็นชาวไนจีเรีย เขาเป็นนักสอนศาสนานิกายเพ็นเทคอส ซึ่งถือคำสอนในศาสนาคริสต์ ดาวิดสอนสั่งด้วยถ้อยคำของพระเจ้าเป็นจำนวนมาก คำเทศน์ที่จัดทำเป็นหนังสือแล้วมีมากมาย และเขายังเป็นนักเทศน์ที่รวยที่สุดในโลกอีกด้วยดาวิดร่ำรวย และดำรงตำแหน่งดั่งบิชอป (Bishop David Oyedepo) เขาเป็นแนวทางและแบบอย่างที่โดดเด่นสำหรับนักสอนศาสนาในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และดาวิด โอเยเดโป · ดูเพิ่มเติม »

ดาวใจ ไพจิตร

วใจ ไพจิตร หรือ ดร.เตือนใจ สุจริตกุล (12 ธันวาคม 2497 -) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงที่มีชื่อเสียง เคยเป็นนักร้องประจำวงสุนทราภรณ์ (ความจริงมีหลักฐานว่าไม่เคย) ก่อนจะออกมาร้องเพลงเดี่ยว มีผลงานร้องเพลงกว่า 1000 เพลง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และดาวใจ ไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

คริส การ์ดเนอร์

ริส การ์ดเนอร์ คริสโตเฟอร์ พอล การ์ดเนอร์ เป็นมหาเศรษฐีที่สร้างฐานะขึ้นมาด้วยน้ำพักน้ำแรงของตัวเขาเอง เป็นนายทุนที่ร่ำรวย มีความสามารถในการพูดจูงใจผู้อื่นและยังใจบุญอีกด้วย เขาเกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954 ที่มิลวอคกี วิสคอนซิน ในช่วงทศวรรษ 1980 นั้น คริสต้องเผชิญกับช่วงที่ยากลำบากของชีวิต เขาต้องต่อสู้ดิ้นรนเนื่องจากไม่มีบ้านอยู่ทั้งๆที่มีภาระต้องเลี้ยงดูลูกชายคนเดียว คริสโตเฟอร์ จูเนียร์ อีกคน หนังสือชีวประวัติของคริสนั้นตีพิมพ์เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 2006 โดย Amistad และ HarperCollins ในปี 2006 นั้น เขาเป็นซีอีโอของบริษัทนายหน้าค้าหุ้นของเขาเองคือ Gardner Rich & Co มีสำนักงานอยู่ที่ชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ อันเป็นที่อยู่ของเขาในคราวที่ไม่ได้พักอาศัยอยู่ที่นครนิวยอร์ก คริสบอกว่าความสำเร็จและอดทนของเขานั้นได้รับมาจากแม่ Bettye Jean Triplett, née Gardner และกำลังใจที่สำคัญที่สุดในการสู้ชีวิตของเขาคือลูกชายคริส จูเนียร์ (เกิดปี ค.ศ. 1981) และลูกชายจาซิสตา (เกิดปี ค.ศ. 1985) ของเขานั่นเอง คริสต้องเผชิญกับช่วงลำบากของชีวิต เขาสร้างตัวมาจากการเป็นนายหน้าค้าหุ้นในช่วงที่เป็นพ่อหม้ายและคนพเนจรไร้บ้าน จนได้มีการนำชีวประวัติส่วนหนึ่งของเขาไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง The Pursuit of Happyness นำแสดงโดย วิลล์ สม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และคริส การ์ดเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนโดลีซซา ไรซ์

อนโดลีซซา ไรซ์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66 และเป็นรัฐมนตรีลำดับที่สองในคณะรัฐบาลของประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช นางเข้ามาดำรงตำแหน่งแทนคอลิน พอเวลล์ เมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2005 คอนโดลีซซา ไรซ์ เคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแห่งชาติของประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ตลอดสมัยแรกของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี (ค.ศ. 2001-ค.ศ. 2005) ก่อนที่จะเข้าร่วมคณะบริหารประเทศของบุช เธอเคยเป็นอาจารย์สาขารัฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และเป็นผู้บริหารมหาวิทยาลัยระหว่างปี ค.ศ. 1993 จนถึงปี ค.ศ. 1999.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และคอนโดลีซซา ไรซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คิม จ็อง-ซุก (เกิดปี พ.ศ. 2497)

ม จ็อง-ซุก (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) เป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศเกาหลีใต้ ด้วยเป็นภริยาของมุน แจ-อิน ประธานาธบดีคนที่ 19 ของประเทศ คิม จ็อง-ซุกสำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการขับร้องคลาสสิก (classical voice) มหาวิทยาลัยคย็องฮี ซึ่งเธอและมุน แจ-อิน สามีศึกษาที่มหาวิทยาลัยเดียวกัน และพบรักกันขณะเป็นนักศึกษาทำกิจกรรม (student activist) ส่วนตัวนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก มีชื่อทางศาสนาว่าโคลัมบา (Columba).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และคิม จ็อง-ซุก (เกิดปี พ.ศ. 2497) · ดูเพิ่มเติม »

คุมิโกะ อะกิโยะชิ

มิโกะ อะกิโยะชิ เกิดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และคุมิโกะ อะกิโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

ตะวัน วนิดา

ตะวัน วนิดา มีชื่อจริงว่า บุญประคอง เนียมคำ (สกุลเดิม วรรณยิ่ง) หรือเพื่อนๆ เรียกว่า เก๋ เป็นนักแต่งเพลงชาวไทย มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จักตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และตะวัน วนิดา · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัฒน์ อุตโมท

ร.ประวัฒน์ อุตโมท หรือ ดร.ประวัฒน์ อุตตะโมต บุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประวัฒน์ อุตโมท · ดูเพิ่มเติม »

ประจิน จั่นตอง

ลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง (7 มีนาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา อดีตรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อดีต ผู้บัญชาการทหารอากาศ ลำดับที่ 22 โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายทหาร ณ วันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประจิน จั่นตอง · ดูเพิ่มเติม »

ประนอม ทาแปง

ประนอม ทาแปง ศิลปินแห่งชาติ สาขาประณีตศิลป์-ศิลปะการทอผ้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประนอม ทาแปง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัศนี

ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และปรัศนี · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ

นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทย แลนด์ ดีวีลอปเมนท์ จำกัด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม แกนนำกลุ่มวังพญานาค ร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ เคยเป็นกรรมการบริหารพรรคสามัคคีธรรม และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริหาร พรรคไทยรักไทย และภายหลังได้ย้ายเข้าสังกัด พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และปรีชา เลาหพงศ์ชนะ · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล เจนตีโลนี

ปาโอโล เจนตีโลนี ซิลเวรี (Paolo Gentiloni Silveri) เป็นนายกรัฐมนตรีอิตาลีคนที่ 57 ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และปาโอโล เจนตีโลนี · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะ ตระกูลราษฎร์

ปิยะ ตระกูลราษฎร์ (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนักแสดง นักแต่งเพลง และนักพากย์มวยชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทนำในภาพยนตร์เรื่อง ครูบ้านนอก (2521) และงานแต่งเพลงลูกทุ่ง โดยเฉพาะเพลง "ไก่จ๋า" ปิยะ ตระกูลราษฎร์ เกิดที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่บ้านมีฐานะยากจน จึงจบการศึกษาชั้น ม..5 แล้วมาทำงานอยู่ในกรุงเทพ เคยเป็นลูกศิษย์วัด เป็นช่างตัดผม รับจ้างแบกของในตลาด ขับรถสามล้อถีบ เริ่มเข้าสู่วงการจากการเป็นตัวประกอบภาพยนตร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และปิยะ ตระกูลราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

นราพร จันทร์โอชา

รองศาสตราจารย์ นราพร จันทร์โอชา (สกุลเดิม: โรจนจันทร์; เกิด: 20 มิถุนายน พ.ศ. 2497) รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 3 ในคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ตามพระราชโองการ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อดีตนายกสมาคมแม่บ้านทหารบก อดีตอาจารย์ประจำสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นภรรยาของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และนราพร จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

นัยนา ชีวานันท์

นัยนา ชีวานันท์ เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และนัยนา ชีวานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ ศรีธเรศ

นายนิพนธ์ ศรีธเรศ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และนิพนธ์ ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

แพท เมธินี

แพท เมธินี (Pat Metheny) เกิดที่แคนซัสซิตี้ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 1954 ในครอบครัวดนตรี เริ่มเล่นทรัมเป็ตเมื่ออายุ 8ปี พออายุ 12 เขาหันมาเล่นกีตาร์ เมื่ออายุ 15 ปี เขาได้มีโอกาสร่วมงานกับนักดนตรีแจ๊ซที่ดีที่สุดในเมืองแคนซัส และได้ทำงานตรงนี้สม่ำเสมอ ทำให้ได้รับประสบการณ์อันมีค่าในการเล่นในวงดนตรีระดับอาชีพ แม้ว่าจะมีอายุที่น้อยมาก ชื่อของแพท เมธินีได้ปรากฏในโลกดนตรีแจ๊ซระดับสากลในปี1974.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแพท เมธินี · ดูเพิ่มเติม »

แพ็ก มย็อง-ซุก

แพ็ก มย็อง-ซุก (Paek Myong-suk) เกิดเมื่อ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแพ็ก มย็อง-ซุก · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว พุทธรัศมี

แก้ว พุทธรัศมี หรือแกว ปุตรัสเมย (Keo Puth Rasmey; ภาษาเขมร: កែវ ពុទ្ឋរស្មី) เกิดที่จังหวัดกำปงจามเมื่อ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแก้ว พุทธรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เทิร์นบุลล์

แมลคัม เทิร์นบุลล์ (Malcolm Turnbull; เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคนที่ 29 ของออสเตรเลีย เขาได้ดำรงตำแหน่งหลังจากชนะการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแมลคัม เทิร์นบุลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แมงโก้ (นักร้อง)

แมงโก้ เป็นชื่อบนเวทีของ จูเซปเป แมงโก้ (Giuseppe Mango; 6 พฤศจิกายน 1954 – 7 ธันวาคม 2014) เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง และนักดนตรีชาวอิตาลี เขาเป็นที่รู้จักกันดีในสไตล์เพลงแนว ป๊อบ, ร็อก, เพลงพื้นเมือง, เวิลด์มิวสิก และมีช่วงเสียงกว้าง เขาเป็นที่รู้จักกันดีในเพลง "Oro" จากอัลบั้ม Odissea ในปี ค.ศ. 1986 เพลงฮิตอื่นๆ ได้แก่ "Lei verrà", "Mediterraneo", "Bella d'estate", "Amore per te", "Come Monnalisa", "Nella mia città" และ "La rondine" แมงโก้ได้รับการยกย่องโดยผู้แต่งเพลงชาวอิตาลี มาริโอ้ ลูซแซททู ว่าเป็น "ผู้ริเริ่มที่แท้จริงของวงการเพลงป๊อบอิตาลี" และออลมิวสิก คิดว่าเขาเป็น "ผู้ริเริ่มอิตาเลียนร็อคฟิวชั่น เขาแต่งเพลงให้กับศิลปินชาวอิตาลีหลายคน เช่น แพตตี้ พราโว, โมดาน่า เบิร์ต, อันเดรอา โบเชลลี, เมตต้า และเพลงบางส่วนของเขาได้ถูกนำมารีมิกซ์ใหม่ โดยนักดนตรีอิตาลีและนักร้องต่างประเทศ รวมถึง มีน่า, เมีย มาตินี่, ลีโอ เซเยอร์, เอแลน ซีการ่า และ เอเลเฮอร์เอีย อาร์แวนอิอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแมงโก้ (นักร้อง) · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี วอลล์

แลรี่ วอลล์ (Larry Wall) เป็นนักเขียนโปรแกรมและนักประพันธ์ เขาสร้างภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม เพิร์ล ในปี 1987 หมวดหมู่:ภาษาเพิร์ล หมวดหมู่:นักเขียนโปรแกรมชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักเขียนชาวอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากลอสแอนเจลิส หมวดหมู่:บุคคลจากซีแอตเทิล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแลร์รี วอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แสง ธรรมดา

แสง ธรรมดา มีชื่อจริงว่า แสงธรรมดา กิติเสถียรพร เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงเพื่อชีวิต ชาวจังหวัดสงขลา มีชื่อเสียงจากการนำเพลงเพื่อชีวิตไปประยุกต์กับคำร้องและสำเนียงภาษาปักษ์ใต้ มีชื่อเสียงจากเพลง "นายหัวครก" (หัวครก เป็นภาษาใต้ แปลว่า มะม่วงหิมพานต์) จบการศึกษาแผนกวิชาสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคภาคใต้ (ปัจจุบันคือ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย) แสง ธรรมดา เคยร่วมต่อสู้ทางการเมืองในเหตุการณ์ 6 ตุลา เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ และการขับไล่ทักษิณ ชินวัตร จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของร้านอาหารและร้องดนตรีเพื่อชีวิต ชื่อร้าน "บ้านนายหัว" ที่จังหวัดสงขลา เป็นผู้ร่วมจัดตั้งเครือข่ายศิลปินพันธมิตรภาคใต้ ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 แสง ธรรมดา ได้นำบุตรสาว ชื่อ เด็กหญิงแสงรายา กิติเสถียรพร ขึ้นร่วมร้องเพลงที่ทำเนียบรัฐบาลด้วย ชื่อเพลง "ดอกไม้" คำร้องโดยจิระนันท์ พิตรปรีชา ทำนองโดยวีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล และเพลง "คุณหนูกู้ชาติ" ดัดแปลงจากทำนองเพลงสากล ที่ดิอิมพอสซิเบิ้ล เคยนำมาร้อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแสง ธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

แหวนเพชร วงทอง

แหวนเพชร วงทอง เป็นนักร้องลูกทุ่งชายที่โด่งดังในระดับที่น่าพอใจคนหนึ่งในยุคที่สายัณห์ สัญญา กำลังรุ่งเรือง เขาเคยอยู่กับวงดนตรีดังๆหลายวง และผลิตผลงานออกมาหลายชุด แต่หลังจากที่ อำลาวงการไปนานถึง 12 ปี ชื่อของเขากลับถูกหยิบยกมาพูดถึง และถามหากันมากขึ้น เมื่อเพลงดังของ เขาอย่าง "รักข้ามโขง" และ"ไร่อ้อยคอยรัก" ถูก หนู มิเตอร์ นำมาปัดฝุ่นขับร้องใหม่เมื่อปี 2549 และได้รับความนิยมไปทั่วประเทศเป็นระยะเวลายาวนานโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลง "ไร่อ้อยคอยรัก".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแหวนเพชร วงทอง · ดูเพิ่มเติม »

แอชตัน คาร์เตอร์

แอชตัน บัลด์วิน คาร์เตอร์ (Ashton Baldwin Carter) หรือ แอช คาร์เตอร์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา คนที่ 25 และยังเป็นนักฟิสิกส์ อดีตอาจารย์วิชาวิทยาศาสตร์และกิจการต่างประเทศประจำมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เขาได้รับการเสนอชื่อเป็นรัฐมนตรีกลาโหมโดยประธานาธีบดี บารัค โอบามา และได้รับการรับรองโดยวุฒิสภาสหรัฐด้วยคะแนนเสียง 93–5 โดยดำรงตำแหน่งต่อจาก ชัค เฮเกล คาร์เตอร์จบการศึกษาระดับศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาโทฟิสิกส์และประวัติศาสตร์ยุคกลางจากมหาวิทยาลัยเยล ภายหลังได้รับการเชิดชูประกาศนียบัตรการศึกษาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแอชตัน คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนนี เลนนิกซ์

แอนนี เลนนิกซ์ (Annie Lennox OBE) เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1954 เป็นนักร้อง นักดนตรี ชาวสก็อต เธอเป็นที่รู้จัก มีชื่อเสียงในฐานะนักร้องนำของวง Eurythmics วงในยุคทศวรรษที่ 80 ในระยะเวลา 25 ปีในอาชีพนักร้อง และ 14 ปีนับตั้งแต่วันที่เธอมีอัลบั้มเดี่ยวของตนเองชุด ‘Diva’ ในปี 1992 เธอมียอดขายอัลบั้มรวมทั้งหมด 78 ล้านชุดทั่วโลก กับ33 ซิงเกิ้ลฮิต พร้อมด้วย 4 รางวัลแกรมมี่,11 รางวัล Brit Awards,5 รางวัล Ivor Novellos,1 รางวัลออสการ์ และ 2 รางวัลลูกโลกทองคำ ช่องโทรทัศน์ดนตรี VH1 ของอังกฤษในนิยามเธอว่าเป็น ‘the greatest living white soul singer’ – นักร้องโซลผิวขาวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่ นอกจากจะเป็นศิลปินที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงแล้ว เธอยังเป็นนักกิจกรรม (activist) และนักมนุษยชน (humanitarian) ที่ร่วมโครงการรณรงค์เพื่อช่วยเหลือมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากมาย อย่างเช่นองค์กร Amnesty International และกลุ่ม Greenpeace.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแอนนี เลนนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนี มิงเกลลา

แอนโทนี มิงเกลลา (Anthony Minghella) (6 มกราคม ค.ศ. 1954 – 18 มีนาคม ค.ศ. 2008) เป็นผู้กำกับผู้ได้รับรางวัลออสการ์คนสำคัญของอังกฤษ มิงเกลลาเป็นประธานกรรมการสถาบันภาพยนตร์อังกฤษ (British Film Institute) ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแอนโทนี มิงเกลลา · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ ทิลเคอ

แฮร์มันน์ ทิลเคอ (Hermann Tilke) เป็นวิศวกรชาวเยอรมันและนักแข่งรถ เขาได้ออกแบบสนามแข่งรถสูตรหนึ่งจำนวนมาก ก่อนที่จะมาเริ่มเป็นนักออกแบบสนามแข่ง ทิลเคอเป็นนักแข่งรถมืออาชีพมาก่อน จนกระทั่งเขาสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมพลเรือนสาขาการขนส่งและการจัดการจราจรจาก FH Aachen เขาก็ออกมาตั้งบริษัทวิศวกรรมของตนเองในปี 1984 ทำทั้งงานสถาปัตย์, วิศวกรรมพลเรือน, วิศวกรรมไฟฟ้าในสนามแข่งต่างๆ จนกระทั่งในปี 1995 เขาได้เป็นผู้ออกแบบสนามแข่งรถแห่งแรกในชีวิต คือสนามเอวันริงในออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแฮร์มันน์ ทิลเคอ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็คเตอร์ เกอร์เรโร

แฮ็คเตอร์ แมนูเอล เกร์เรโร เลนส์ (Héctor Manuel Guerrero Llanes) หรือที่รู้จักกันดีในนามของ แฮ็คเตอร์ เกอร์เรโร (Héctor Guerrero) เกิดวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแฮ็คเตอร์ เกอร์เรโร · ดูเพิ่มเติม »

แคทลีน เทอร์เนอร์

แมรี แคทลีน เทอร์เนอร์ (Mary Kathleen Turner) เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแคทลีน เทอร์เนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคเรน โรบาดส์

แคเรน โรบาดส์ (Karen Robards) เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1954 เป็นนักเขียนนวนิยายโรแมนติกที่ขายดีที่สุด มานานกว่า 30 ปี เธอได้รับการยอมรับจากนวนิยายเรื่อง Historical romance โรบาดส์กลายเป็นหนึ่งในนักเขียนนวนิยายโรแมนติกที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกในประวัติศาสตร์ในยุคนั้น ผลงานของเธอได้รับการแปลเป็น 11 ภาษา และได้รับรางวัล "โรแมนติกไทม์" และ "อะแฟร เดอ เซอค์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแคเรน โรบาดส์ · ดูเพิ่มเติม »

แซม อัลลาร์ไดซ์

แซม อัลลาร์ไดซ์ (Sam Allardyce; เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1954) " เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแซม อัลลาร์ไดซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แซมมี แมคอิลรอย

แซมูเอล แบกซ์เตอร์ แมคอิลรอย (เกิด 2 สิงหาคม 1954) เป็นอดีตกองหน้าทีมชาติไอร์แลนด์เหนือและ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ช่วงปี 1971-1982.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแซมมี แมคอิลรอย · ดูเพิ่มเติม »

แซร์ช ซาร์กเซียน

แซร์ช ซาร์กเซียน (Սերժ Սարգսյան, เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2497).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และแซร์ช ซาร์กเซียน · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนกุล

กวิท วัฒนกุล มีชื่อเล่นว่า แอ๊ด ที่โกวิทแสดงในเรื่อง ขุนศึก แต่มักอ่านออกเสียงเป็น "สะ-เมา" โดยคนแรกที่เรียกคือ สมจินต์ ธรรมทัต ผู้พากย์เสียงเป็นหมู่ขัน: ผู้จัดการรายสัปดาห์(ปริทรรศน์), 27 ม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโกวิท วัฒนกุล · ดูเพิ่มเติม »

โมนีคา ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์คดัชเชสโมนิก้าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: โมนิก้า มาเรีย โรเบิร์ตต้า แอนโตเนีย ราฟาเอลล่า; Monika Maria Roberta Antonia Raphaela von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 2 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2497 ณ เมืองเวิร์ซบูร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนีพระองค์เป็นพระภัคินีฝาแฝดกับอาร์คดัชเชสไมเคิลล่าอีกด้วย พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับท่านหลุยส์ คาซาโนว่า-คาร์เดนาส ยี บารัน, ดยุคแห่งซานต้าแองเจโล ซึ่งเป็นบุตรของท่านบาลธาซ่าร์ เดอ คาซาโนว่า-คาร์เดนาส ยี เดอ เฟอร์เร่อ และ ท่านเชมาเรีย เดอ ลอส โดโลเรส บารัน ยี โอโซรีโอ้ เดอ มอสโกโซ่ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายนพ.ศ. 2523 ทั้งสองพระองค์มีพระโอรสทั้งหมด 4 พระองค์ ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโมนีคา ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

โมเช วาย. วาดิ

มเช ยาโคบ วาดิ (משה יעקב ורדי, Moshe Ya'akov Vardi; เกิด 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1954) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์เชื้อสายยิว ปัจจุบันเขาเป็นศาสตราจารย์สอนอยู่ที่ Rice University ประเทศสหรัฐอเมริกา from Rice University.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโมเช วาย. วาดิ · ดูเพิ่มเติม »

โอปราห์ วินฟรีย์

อปราห์ วินฟรีย์ โอปราห์ วินฟรีย์ (Oprah Winfrey) มีชื่อจริงว่า โอปราห์ เกล วินฟรีย์ (Oprah Gail Winfrey) (เกิดเมื่อ 29 มกราคม ค.ศ. 1954) เป็นพิธีกรชื่อดังประเภททอล์คโชว์ รายการ The Oprah Winfrey Show ทอล์คโชว์ที่มีเรทติ้งการชมสูงที่สุดในประวัติศาสตร์รายการโทรทัศน์ และยังเป็นผู้หญิงชาวแอฟริกัน อเมริกันที่รวยที่สุดในศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโอปราห์ วินฟรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

โฮกุ้น ลอเรนต์ซัน

กุ้น ลอเรนต์ซัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโฮกุ้น ลอเรนต์ซัน · ดูเพิ่มเติม »

โทะชิอะกิ โยะชิดะ

ทะชิอะกิ โยะชิดะ (吉田敏明; Toshiaki Yoshida; 2 ตุลาคม ค.ศ. 1954 —) เป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอลชาวญี่ปุ่น จากเมืองยะมะงะตะ จังหวัดยะมะงะตะ ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโทะชิอะกิ โยะชิดะ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ต เชิญยิ้ม

น้ต เชิญยิ้ม ชื่อจริง บำเรอ ผ่องอินทรกุล ชื่อสกุลเดิมคือ ผ่องอินทรีย์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 เป็นนักแสดงตลกผู้ก่อตั้งคณะเชิญยิ้ม ร่วมกับเป็ด เชิญยิ้ม (ธัญญา โพธิ์วิจิตร) สรายุทธ สาวยิ้ม สีหนุ่ม เชิญยิ้ม (บุญธรรม ฮวดกระโทก) เมื่อปี พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และโน้ต เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ นิติตะวัน

ูลย์ นิติตะวัน เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2558 และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการปฏิรูปแนวทางและมาตรการปกป้องพิทักษ์กิจการพระพุทธศาสนาสภาปฏิรูปแห่งชาติ ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิอีพีเอธรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหัวหน้า พรรคประชาชนปฏิรูป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และไพบูลย์ นิติตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล อีเมอร์สัน

มเคิล อีเมอร์สัน (Michael Emerson) เกิดเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1954 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในบท เบนจามิน ไลนัส ในซีรีส์เรื่อง อสุรกายดงดิบ และผลงานการแสดงใน The Practice.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และไมเคิล อีเมอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

ไลนัส พอลิง

ลนัส คาร์ล พอลิง (Linus Carl Pauling; 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 – 19 สิงหาคม พ.ศ. 2537) เป็นนักเคมี นักชีวเคมี นักเคลื่อนไหวสันติภาพ นักเขียน และนักวิชาการชาวอเมริกัน เขาเป็นนักเคมีคนหนึ่งที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นนักเคมีที่สำคัญมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 พอลิงเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสาขาเคมีควอนตัม และอณูชีววิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และไลนัส พอลิง · ดูเพิ่มเติม »

ไต้ ซื่อเจี๋ย

ต้ซื่อเจี๋ย (戴思杰; พินอิน: dài sì jié) เป็นนักเขียนและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศสเชื้อสายจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และไต้ ซื่อเจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

เชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์

นายเชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ (เกิด 27 ธันวาคม พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบึงกาฬ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเชิดพงศ์ ราชป้องขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรย์ พาร์กเกอร์ จูเนียร์

รย์ เออร์สไกน์ พาร์เกอร์ จูเนียร์ (Ray Erskine Parker, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเรย์ พาร์กเกอร์ จูเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เรเจป ไตยิป แอร์โดอัน

รเจป ไตยิป แอร์โดอัน (Recep Tayyip Erdoğan, เกิด 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954) เป็นประธานาธิบดีแห่งตุรกี คนปัจจุบันของตุรกีและอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งตุรกี เป็นนักการเมืองนิยมศาสนาอิสลาม เข้าสู่วงการการเมืองจากการเป็นนายกเทศมนตรีอิสตันบูลและเป็นผู้ก่อตั้งพรรคยุติธรรมและการพัฒนา (ตุรกี) ซึ่งเคยเป็นพรรคนอกสายตาประชาชนตุรกี แอร์โดอันยังเป็นผู้ที่ฟื้นฟูตุรกีจากสภาวะเศรษฐกิจในปี 2001 เขาพัฒนาเศรษฐกิจ สวัสดิการ สาธารณูปโภคแก่ประเทศ ทั้งยังให้สิทธิการศึกษาแก่เด็กยากจน ซึ่งในด้านการศึกษา เขาได้อนุมัติงบประมาณให้กับกระทรวงศึกษาธิการเป็นจำนวน 3,400 ล้านลีรา บนเวทีโลก ภาพของแอร์โดอันดูไม่ค่อยสวย เขาถูกวิจารณ์ในการสลายการชุมนุมผู้ชุมนุมต่อต้านเขา เขายังมีนโยบายไม่เปิดเสรีทางด้านสื่อสังคมออนไลน์ ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับแอร์โดอันเข้าต่อต้านและหนึ่งในนั้นคือ ผู้บัญชาการกองทัพที่จะทำการรัฐประหารแต่ถูกจับกุมก่อน อีกด้านเขายังสนับสนุนฮะมาสในการต่อต้านอิสราเอล นานาชาติจึงไม่พอใจที่ตุรกีสนับสนุนองค์กรที่ถูกขึ้นบัญชีดำ ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีคณะ Economics and Administrative Sciences มหาวิทยาลัย Marmara.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเรเจป ไตยิป แอร์โดอัน · ดูเพิ่มเติม »

เลฟ ลาร์เซิน

ลฟ ฮอลเกอร์ ลาร์เซิน (Leif Holger Larsen; 27 มกราคม พ.ศ. 2497 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการทูตของนอร์เวย์ประจำประเทศปากีสถาน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเลฟ ลาร์เซิน · ดูเพิ่มเติม »

เวียดมินห์

งเวียดมินห์ กองทัพประชาชนเวียดนาม หรือ เหวียดมิงห์ หรือ เวียดมินห์ (Việt Nam Độc Lập Đồng Minh Hội หรือ Việt Minh) หรือบางแหล่งก็เรียก สันนิบาตเพื่อเอกราชเวียดนาม คือ ขบวนการทางการเมือง โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดปล่อยเวียดนามออกจากการปกครองของฝรั่งเศส จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2484 โดยมีโฮจิมินห์เป็นผู้นำ และมีนายพลหวอ เงวียน ซ้าป เป็นผู้บัญชาการกองทัพคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเวียดมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

เหงียน ซวน ฟุก

หงียน ซวน ฟุก (Nguyễn Xuân Phúc; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 —) เป็นนายกรัฐมนตรีเวียดนามคนที่ 8 และคนปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเหงียน ซวน ฟุก · ดูเพิ่มเติม »

เอกยุทธ อัญชันบุตร

อกยุทธ อัญชันบุตร (24 มิถุนายน พ.ศ. 2497—7 มิถุนายน พ.ศ. 2556) หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า จอร์จ ตัน (George Tan) เป็นนักธุรกิจการเงินและอสังหาริมทรัพย์ มีชื่อจากการเป็นเจ้าของเว็บไซต์ ไทยอินไซเดอร์ซึ่งต่อต้านรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เคยต้องคดีแชร์ชาร์เตอร์และกบฏ 9 กันยาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเอกยุทธ อัญชันบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เอลวิส คอสเทลโล

อลวิส คอสเทลโล (Elvis Costello) เป็นชื่อในการแสดงของ ดีแคลน แพทริก แมกมานัส (Declan Patrick MacManus) นักร้อง นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกดนตรีแนวพังก์และนิวเวฟของอังกฤษ ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1970 เป็นผู้ก่อตั้งวง ดิแอทแทร็กชันส์ ซึ่งได้รับการยอมรับ ได้รับการบรรจุชื่อในหอเกียรติคุณร็อกแอนด์โรลล์ ในปี 2003 และได้รับการจัดอันดับโดยนิตยสารโรลลิงสโตนส์ ติดอันดับ 80 จาก 100 ศิลปินผู้ยิ่งใหญ่ ในปี 2004 ชื่อ เอลวิส คอสเทลโล มาจากชื่อหน้าของเอลวิส เพรสลีย์ และชื่อ "เดย์ คอสเทลโล" (Day Costello) เป็นชื่อที่ใช้ในการแสดงดนตรีของ รอสส์ แมกมานัส บิดาของเขา ที่เป็นนักดนตรีเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเอลวิส คอสเทลโล · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แคเมรอน

แคเมรอน กับภรรยาคนที่ 2 แคเมรอนในปี ค.ศ. 2007 เจมส์ แฟรนซิส แคเมรอน (James Francis Cameron) เกิดวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1954 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวแคนาดา โปรดิวเซอร์ นักเขียนบทและผู้คิดค้นด้านภาพยนตร์ ผลงานเขียนและกำกับของเขาเช่น ฅนเหล็ก 2029 และ ไททานิก ที่ขึ้นแท่นภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดอันดับหนึ่งตลอดกาลในปี.ศ 1997 จนถึงปัจจุบันนี้ผลงานการกำกับของเขามียอดรวมราว 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับรายได้ตามอัตราเงินเฟ้อ หลังจากมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง แคเมรอนเน้นการทำงานด้านการผลิตสารคดีและระบบกล้องฟิวชันดิจิตอล 3 มิติ เขากลับมาทำผลงานภาพยนตร์อีกครั้งในรอบ 12 ปี ในผลงานเรื่อง อวตาร ที่ใช้เทคโนโลยีระบบกล้องฟิวชัน ภาพยนตร์ฉายวันที่ 16 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจมส์ แคเมรอน · ดูเพิ่มเติม »

เจะอามิง โตะตาหยง

อามิง โตะตาหยง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของ นายหะยีเจ๊ะดาราแม และนางหะยีวาเย๊าะ โตะตาหยง นายเจะอามิง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อดีตนักข่าวและเป็นเจ้าของ ธุรกิจการค้ายางพารา โรงเลื่อยไม้ยางพารา และ รับเหมาก่อสร้าง ก่อนเข้าสู่วงการเมืองระดับประเทศ เคยทำงานการเมืองระดับท้องถิ่นมาก่อน จนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็น ประธานสภาจังหวัดนราธิวาส นายเจะอามิง เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสาธารณะ เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งการให้สัมภาษณ์ และเขียนบทความลงใน หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแล นโยบายการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจะอามิง โตะตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

เจน แคมเปียน

อลิซาเบธ เจน แคมเปียน (อังกฤษ: Elizabeth Jane Campion,; เกิดวันที่ 30 เมษายน ปี ค.ศ. 1954) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจน แคมเปียน เป็นนักเขียนบท ผู้อำนวยการสร้าง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวนิวซีแลนด์  แคมเปียนผู้กำกับหญิงคนที่ 2 ในจำนวน 5 คนที่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม และเป็นผู้สร้างภาพยนตร์หญิงคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัล Palme d'Or จากการกำกับภาพยนตร์ The Piano (1993) ซึ่งเธอก็ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (Best Original Screenplay) อีกด้วย หมวดหมู่:หน้าที่มีสคริปต์ผิดพล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจน แคมเปียน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ

้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2497 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามใน เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ เจ้าหญิงยูริโกะ มิกะซะ โดยขณะมีพระชนม์ชีพทรงอยู่ในลำดับที่ 7 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์

้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์

้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เท็ด ดีบีอาซี ซีเนียร์

ทีโอเดอร์ มาร์วิน "เท็ด ดีบีอาซี" ซีเนียร์ (Theodore Marvin "Ted" DiBiase, Sr.) เกิดวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเท็ด ดีบีอาซี ซีเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดียนเบียนฟู

ียนเบียนฟู (Dien Bien Phu) หรือ เดี่ยนเบียนฝู (Điện Biên Phủ) (ชื่อเดิม: แถง) เป็นเมืองหนึ่งในจังหวัดเดี่ยนเบียนซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 200 กิโลเมตร มีชื่อเสียงเนื่องจากเป็นที่รบยุทธการที่เดียนเบียนฟูระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดมินห์ เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1954.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเดียนเบียนฟู · ดูเพิ่มเติม »

เดนนิส เควด

นนิส วิลเลียม เควด (เกิด 9 เมษายน ค.ศ. 1954) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเดนนิส เควด · ดูเพิ่มเติม »

เดนเซล วอชิงตัน

นเซล เฮย์ส วอชิงตัน จูเนียร์ เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1954 เจ้าของรางวัลออสการ์สองครั้ง และผู้ชนะจากรางวัลลูกโลกทองคำ เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเดนเซล วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

เฉินหลง

ฉินหลง อ่านว่า เฉิงหลง หรือ แจ๊กกี้ ชาน (Jackie Chan) เป็นนักแสดงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก เกิดวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1954 ชื่อจริงของเฉินหลงคือ เฉิน กั่งเซิง ซึ่ง เฉิน กั่งเซิง มีความหมายว่าเกิดที่ ฮ่องกง เขายังเป็นนักการกุศลที่รู้จักกันดีทั่วโลกโดยเป็นผู้ที่นิตยสารฟอบส์ได้เรียกว่า เป็นผู้มีชื่อเสียงที่ใจบุญที่สุดคนหนึ่งในสิบของโลก ในปี 2015 นิตยสารฟอบส์ได้ประเมินทรัพย์สินสุทธิของเขาที่ 350 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 10,896 ล้านบาท) และโดยปี 2016 เขาก็เป็นนักแสดงชายที่มีรายได้เป็นอันดับสองของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเฉินหลง · ดูเพิ่มเติม »

เปาลู แซร์ฌีอู จี โอลีเวย์รา ลีมา

ปาลู แซร์ฌีอู จี โอลีเวย์รา ลีมา (Paulo Sérgio de Oliveira Lima) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เปาลู แซร์ฌีอู เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 ที่รีโอเดจาเนโร เป็นนักฟุตบอลชาวบราซิล ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งผู้รักษาประตู ในช่วงอาชีพของเขา (ค.ศ. 1972–1988) เขาได้เล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลฟลูมีเนซี, ซีเอสอา, โฟตาเฮโดนดา, อเมริกาโน, โบตาโฟกู, โกยา, วาชกูดากามา และอเมริกา-เอห์ชาเตอ สำหรับทีมชาติบราซิล เขาได้เล่นในสามการแข่งขัน ระหว่างเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเปาลู แซร์ฌีอู จี โอลีเวย์รา ลีมา · ดูเพิ่มเติม »

เป็ด เชิญยิ้ม

ัญญา โพธิ์วิจิตร หรือ เป็ด เชิญยิ้ม (เกิด 8 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง) เป็นนักแสดงตลก และเป็นผู้ก่อตั้งคณะ เชิญยิ้ม ร่วมกับโน๊ต เชิญยิ้ม - (บำเรอ ผ่องอินทรกุล), สรายุทธ สาวยิ้ม, สีหนุ่ม เชิญยิ้ม - (บุญธรรม ฮวดกระโทก)เมื่อ พ.ศ. 2523 อดีตนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย และเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็ด เชิญยิ้ม หรือ ดร.ธัญญา โพธิ์วิจิตร สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง จากวิทยาลัยครูจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ระดับปริญญาตรี จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม และปริญญาเอก ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และเป็ด เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ12 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤศจิกายน

วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ16 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ17 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ18 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ19 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ19 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ19 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤศจิกายน

วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ25 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ26 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ26 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มกราคม

วันที่ 27 มกราคม เป็นวันที่ 27 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 338 วันในปีนั้น (339 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มกราคม

วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ 28 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 337 วันในปีนั้น (338 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ธันวาคม

วันที่ 28 ธันวาคม เป็นวันที่ 362 ของปี (วันที่ 363 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 3 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ28 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ29 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ29 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ30 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ30 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 เมษายน

วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ30 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ4 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤษภาคม

วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ5 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ6 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มีนาคม

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ9 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2497และ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1954

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »