โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขีปนาวุธอากาศสู่พื้น

ดัชนี ขีปนาวุธอากาศสู่พื้น

ีปนาวุธอากาศสู่พื้น (Air-to-surface missile) หรือ ASM เป็นขีปนาวุธที่ถูกออกแบบมาให้ยิงจากอากาศยานทางการทหารสู่เป้าหมายบนพื้นดินหรือพื้นน้ำ ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นจะมีการติดตั้งเครื่องยนต์จรวดที่ช้ากว่าสำหรับแบบพิสัยปฏิบัติการสั้น และติดตั้งเครื่องยนต์ไอพ่นที่เร็วกว่าสำหรับแบบพิสัยปฏิบัติการที่ยาวกว่า ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นแตกต่างจากระเบิดนำวิถีซึ่งเป็นอาวุธที่ไม่มีแหล่งพลังงานขับดัน ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นบางรุ่นของสหภาพโซเวียตมีการติดตั้งเครื่องยนต์แรมเจ็ท ซึ่งให้ทั้งพิสัยปฏิบัติการที่ไกลและความเร็วสูง ระบบนำวิถีของขีปนาวุธอากาศสู่พื้นนั้น มีทั้ง การนำวิถีด้วยเลเซอร์ (ชี้เป้า), การนำวิถีด้วยอินฟราเรด, การนำวิถีด้วยตาเทียม หรือ การนำวิถีด้วยดาวเทียม ซึ่งการเลือกใช้ระบบนำวิถีนั้นขึ้นอยู่กับประเภทของเป้าหมาย หากเป้าหมายเป็นยานพาหนะเคลื่อนที่ อาจใช้การนำวิถีด้วยตาเทียมหรืออินฟราเรด ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นสามารถจำแนกประเภทย่อยได้เป็นดังนี้.

6 ความสัมพันธ์: สหภาพโซเวียตอากาศยานทางการทหารขีปนาวุธเฮลิคอปเตอร์เครื่องยนต์จรวดเครื่องยนต์ไอพ่น

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

อากาศยานทางการทหาร

อากาศยานทางการทหาร คืออากาศยานปีกนิ่งหรือปีกหมุนแบบใดก็ตามที่ถูกใช้โดยกองทัพเพื่อวัตถุประสงค์ทางการทหาร อากาศยานปีกนิ่งทางทหารนั้นมักเรียกกันว่าเครื่องบินร.

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและอากาศยานทางการทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ขีปนาวุธ

ีปนาวุธ ''เอ็กโซเซต์'' ของฝรั่งเศส ในการทหารสมัยใหม่ ขีปนาวุธ (Missile มิสไซล์) หรือ ขีปนาวุธนำวิถี หมายถึงอาวุธขับเคลื่อนนำวิถี (ตรงข้ามกับระบบอาวุธขับเคลื่อนแบบไม่นำวิถี ซึ่งเรียกว่า จรวด) ขีปนาวุธมีส่วนประกอบหลักอยู่สี่ส่วน คือ ระบบกำหนดเป้าและนำวิถี, ระบบควบคุมทิศทาง, จรวดขับดัน และ หัวรบ ขีปนาวุธสามารถจำแนกออกได้เป็นหลายประเภทตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ไม่ว่าจะเป็น ขีปนาวุธพื้นสู่พื้น, ขีปนาวุธอากาศสู่พื้น, ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ หรือ ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ โดยขีปนาวุธที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งหมดถูกออกแบบมาให้ใช้พลังงานขับดันจากการทำปฏิกิริยาเคมีภายในเครื่องยนต์จรวด, เครื่องยนต์ไอพ่น หรือเครื่องยนต์ประเภทอื่นๆ ''ระเบิดบิน วี-1'' เป็นขีปนาวุธแบบแรกของโลก ขีปนาวุธถูกใช้งานครั้งแรกโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ขีปนาวุธแบบแรกของโลกมีชื่อว่า ระเบิดบิน วี-1 (V-1 flying bomb) เป็นลูกระเบิดที่ติดปีกและเครื่องไอพ่นเข้าไป ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น จรวด วี-2 ที่รวมเครื่องยนต์ไอพ่นไว้ในตัว และติดตั้งครีบที่ปลายจรวดแทนปีกที่ตัดออก เป็นลักษณะสากลของขีปนาวุธที่ใช้จวบจนปัจจุบัน ในภาษาไทย คำว่า ขีปนาวุธ เป็นคำสมาสระหว่างคำว่า ขีปน (แปลว่า "ซัด, เหวี่ยง") กับคำว่า อาวุธ ส่วนในภาษาอังกฤษ คำว่า missile มาจากคำละตินที่ว่า mittere มีความหมายว่า "ส่งไป".

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและขีปนาวุธ · ดูเพิ่มเติม »

เฮลิคอปเตอร์

ลิคอปเตอร์แบบ เบล 206 (Bell 206) ของตำรวจสหรัฐอเมริกา เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยแบบ AW139SAR แห่งสำนักงานความปลอดภัยทางทะเลของสเปน (A Spanish Maritime Safety Agency) HH-43 Huskie เฮลิคอปเตอร์ จัดเป็น อากาศยาน ปีกหมุน (Rotor Craft) มีใบพัดขนาดใหญ่ติดตั้งเหนือลำตัว ใบพัดหมุนรอบตัวในแนวนอน ทำหน้าที่ช่วยพยุงตัวและบังคับให้บินไปตามทิศทางที่ต้องการได้ ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อนและบินขึ้นลงในแนวดิ่งได้ สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างสะดวกแม้แต่ในที่แคบก็ขึ้นลงได้อย่างสบาย เฮลิคอปเตอร์ลำแรกของโลกพัฒนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซีย ชื่ออิกอร์ ซิคอร์สกี (Igor Sikorsky) โดยใช้ชื่อว่า VS-300 ใช้เครื่องยนต์ 4 สูบ ประกอบด้วยเหล็กท่ออย่างหนา ไม่มีผนังลำตัวปกปิด และไม่มีเครื่องวัดใด ๆ โรเตอร์หลักประกอบด้วยใบพัดสามใบ และมีโรเตอร์ท้ายเพื่อต้านแรงหมุนที่เกิดขึ้น.

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและเฮลิคอปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องยนต์จรวด

รื่องยนต์ RS - 68 ถูกทดสอบที่ศูนย์อวกาศสเตนนิสของนาซา ไอเสียมองเห็นได้เกือบโปร่งใสนี้เกิดจากไอเสียของเครื่องยนต์จรวดเชื้อเพลิงเหลว คือ ไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว ไอเสียส่วนใหญ่จะถูกเปลี่ยนเป็นไอน้ำร้อนยวดยิ่ง (ไอน้ำจากเชื้อเพลิงขับดันไฮโดรเจนและออกซิเจน) เครื่องยนต์จรวด ไวกิ้ง 5c (Viking 5C) เครื่องยนต์จรวด คือ เครื่องยนต์ไอพ่นชนิดหนึ่ง Rocket Propulsion Elements; 7th edition- chapter 1 ที่ใช้มวลเชื้อเพลิงจรวดที่ถูกเก็บไว้โดยเฉพาะสำหรับการสร้างแรงขับดันไอพ่น (Jet Propulsion) อัตราเร็วสูง เครื่องยนต์จรวดคือ เครื่องยนต์แห่งแรงปฏิกิริยา (reaction engine) และได้รับแรงผลักดันที่สอดคล้องกับกฎข้อที่สามของนิวตัน เนื่องจากพวกมันไม่จำเป็นต้องใช้วัสดุภายนอกในรูปแบบเครื่องยนต์ไอพ่น (เช่น อากาศที่ใช้ในการเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ แต่มีก๊าซอ๊อกซิเจนที่เป็นของเหลวบรรทุกติดตัวจรวดไปด้วย) เครื่องยนต์จรวดสามารถนำไปใช้ได้กับการขับเคลื่อนยานอวกาศและใช้เกี่ยวกับภาคพื้นโลก เช่น ขีปนาวุธ เครื่องยนต์จรวดส่วนใหญ่เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายใน แม้ว่าจะไม่ใช่รูปแบบของการสันดาปหลัก ๆ อย่างที่มีอยู่ก็ตาม เครื่องยนต์จรวดเป็นกลุ่มของเครื่องยนต์ที่มีไอเสียที่มีอัตราเร็วสูง โดยที่มีน้ำหนักเบามาก, และมีประสิทธิภาพของพลังงานสูงสุด (สูญเสียพลังงานน้อยที่อัตราความเร็วที่สูงมาก) ของชนิดของเครื่องยนต์ไอพ่นทุกชนิด อย่างไรก็ดี แรงผลักดันที่ให้ออกมาทำให้เกิดไอเสียที่มีความเร็วสูง และมีอัตราสัมพัทธ์ของพลังงานจำเพาะของเชื้อเพลิงที่ใช้ขับเคลื่อนจรวดต่ำ มันเผาผลาญเชื้อเพลิงให้หมดไปภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว.

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและเครื่องยนต์จรวด · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องยนต์ไอพ่น

รื่องยนต์แบบเทอร์โบแฟน F100 ของ Pratt & Whitney สำหรับ F-15 Eagle กำลังได้รับการทดสอบใน hush house ที่ฐานทัพการป้องกันทางอากาศ Florida. อุโมงด้านหลังเครื่องยนต์ห่อหุ้มเพื่อป้องกันเสียงและเป็นทางปล่อยให้ไอเสียออกไป การจำลองการไหลของอากาศของเครื่องยนต์แบบ low-bypass turbofan การไหลของอากาศของเครื่องยนต์ไอพ่นระหว่างการ take-off. (คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น) เครื่องยนต์ไอพ่น (jet engine) เป็นเครื่องยนต์แรงปฏิกิริยา (Reaction engine) ที่พ่นไอร้อนความเร็วสูงออกทางด้านหลังทำให้เกิดแรงผลัก (thrust) ไปข้างหน้า, การขับเคลื่อนของไอพ่น (Jet Propulsion) นี้สอดคล้องกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ที่ว่าแรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา นิยามของเครื่องยนต์ไอพ่นที่กว้างขวางนี้ครอบคลุมถึงเครื่องแบบเทอร์โบเจ็ท, เทอร์โบแฟน, เครื่องยนต์จรวด, แรมเจ็ท และพัลส์เจ็ท โดยทั่วไปเครื่องยนต์ไอพ่นเป็นชนิดสันดาบ (combustion engines) แต่ก็มีบางชนิดก็ไม่มีการสัน.

ใหม่!!: ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นและเครื่องยนต์ไอพ่น · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Air-to-surface missile

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »