เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

ดัชนี ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

การต่อต้านอังกฤษในพม..

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: ชเวโบพม่าตอนบนพม่าตอนล่างพระเจ้ามินดงพระเจ้าธีบอกอว์นบิกมัณฑะเลย์มณฑลยูนนานยะไข่อูอองเมียะอูโอะตะมะจักรวรรดิบริติชแม่น้ำอิรวดีโบ-ซเวโบยะญูนเจ้าฟ้ามยีนไซง์เจ้าฟ้าลิมบินเจ้าซอยานไปง์

ชเวโบ

วโบ (Shwebo; ရွှေဘို) เป็นเมืองในเขตสะกาย ประเทศพม่า ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 113 กิโลเมตร ระหว่างแม่น้ำอิรวดีกับแม่น้ำมู มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ เป็นสถานที่ประสูติของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์คองบอง ราชวงศ์สุดท้ายของประเทศพม่า ต่อมาเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรในรัชสมัยของพระองค์ระหว่างปี..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และชเวโบ

พม่าตอนบน

ม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบน (Upper Burma; အထက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่าจริง (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่า ครอบคลุมบริเวณ มัณฑะเลย์ และรอบนอก (ปัจจุบันคือ เขตมัณฑะเลย์, เขตซะไกง์ และเขตมาเกว) และอาจรวมกว้างๆเข้ากับ รัฐคะฉิ่น และรัฐชาน ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-ญา-ตา, ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา คำนี้ถูกใช้โดยบริติชเพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และพม่าตอนบน

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และพม่าตอนล่าง

พระเจ้ามินดง

ระเจ้ามินดง (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2421) เป็นกษัตริย์พม่าแห่งราชวงศ์อลองพญา (ค.ศ. 1853 - 1878) พระองค์เป็นผู้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่อมรปุระ และมัณฑะเลย์ พระองค์เป็นผู้ปฏิรูปการปกครองให้ทันสมัยขึ้น ตอนที่พระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงสถาปนาเจ้าหญิงเสกขรเทวี น้องร่วมพระชนนีกับพระเจ้าพุกาม ขึ้นเป็นอัครมเหสี และสถาปนาเจ้าหญิงราชธิดาพระเจ้าพาคยีดอ คือนางอเลนันดอ เป็นมเหสี ในสมัยของพระองค์ต้องประสบปัญหาความขัดแย้งกับอังกฤษ การสูญเสียดินแดนของพม่าตอนล่าง และปัญหาการแย่งชิงอำนาจภายในประเทศ ภาพของพระเจ้ามินดงในเอกสารชาวตะวันตก.

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และพระเจ้ามินดง

พระเจ้าธีบอ

ระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และพระเจ้าธีบอ

กอว์นบิก

กอว์นบิก (Cawn Bik) เป็นหัวหน้าเผ่าตาชอน และเป็นผู้นำการต่อต้านอังกฤษที่สำคัญในหมู่ชาวฉิ่น เขาสามารถรวบรวมชาวฉิ่นให้เป็นปึกแผ่น และต่อต้านการรุกรานเข้าสู่เทือกเขาฉิ่นของอังกฤษ ต่อมาได้ร่วมมือกับเจ้าฟ้าชเวโจบะยูในการต่อต้านอังกฤษ ภายหลังวันหมุ่งลูกชายของเขาถูกอังกฤษจับตัวไป เขาจึงยอมยุติการต่อสู้แลกกับการได้รับนิรโทษกรรมเมื่อ 11 เมษายน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และกอว์นบิก

มัณฑะเลย์

มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และมัณฑะเลย์

มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม.

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และมณฑลยูนนาน

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และยะไข่

อูอองเมียะ

อูอองเมียะ (U Aung Myat) เกิดเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และอูอองเมียะ

อูโอะตะมะ

อูโอะตะมะ (U Ottama) เกิดเมื่อ..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และอูโอะตะมะ

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และจักรวรรดิบริติช

แม่น้ำอิรวดี

แม่น้ำอิรวดี (ออกเสียง เอยาวะดี) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากเหนือจรดใต้ผ่านประเทศพม่า เป็นแม่น้ำที่ใหญ่สุดในประเทศและเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญที่สุด ชื่ออิรวดีในพม่ามาจาก ภาษาบาลี Irāvatī Airavati Erāvatī เป็นชื่อบาลีของช้างเอราวัณพาหนะของพระอินทร์ ช้างมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับน้ำ และถูกนำมาใช้เป็นชื่อของแม่น้ำอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคเช่น แม่น้ำอจิรวดี ในอินเดีย แม่น้ำอิรวดีมีต้นกำเนิดจากจุดบรรจบกันของ แม่น้ำมะลิขา และ แม่น้ำเมขา ที่ไหลลงมาจากธารน้ำแข็งบริเวณเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือของปูตาโอในพม่าตอนบน แม่น้ำค่อนข้างไหลเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี และไหลลงสู่ทะเลอันดามัน แม่น้ำอิรวดีมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตารางกิโลเมตร (156,026 ตารางไมล์) ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพม่า นักกวีชาวอังกฤษ รัดยาร์ด คิปลิง มีการบรรยายถึงแม่น้ำอิรวดีในบทกวีที่เขาแต่งเรื่อง 'ถนนสู่มัณฑะเลย์' กว่าหกศตวรรษที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อจักรวรรดิอังกฤษหลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลองชลประทาน แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ ในปี..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และแม่น้ำอิรวดี

โบ-ซเว

-ซเว (Bo Swe) เป็นทูจีหรือนายบ้านแห่งมีนดะ มีอิทธิพลในเขตทุ่งตองซีน เขาไม่ยอมรับการยึดครองพม่าตอนล่างของอังกฤษและได้เข้าไปก่อกวนอังกฤษหลายครั้ง จนถูกทางมัณฑะเลย์เรียกไปรายงานตัวเพราะอังกฤษร้องเรียนมา เมื่ออังกฤษโจมตีพม่าใน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และโบ-ซเว

โบยะญูน

ญูน (Bo Ya Nyun) เป็นทหารม้าที่เคยรับราชการในสมัยพระเจ้ามินดงและพระเจ้าสีป่อ เมื่ออังกฤษเข้ายึดมัณฑะเลย์ เขาตัดสินใจรวบรวมกำลังต่อต้านอังกฤษ โดยใช้ทหารม้าที่เคยอยู่ใต้บังคับบัญชาและอาสาสมัครที่เป็นชาวบ้าน กลุ่มของโบยะญูนต่อสู้กับอังกฤษนานถึง 5 ปี อังกฤษตอบโต้กลุ่มของโบยะญูนด้วยการเข้ายึดครองมยีนจาน บ้านเดิมของโบยะญูน เผาหมู่บ้าน จับญาติพี่น้องของเขาไปเข้าคุกหรือฆ่าทิ้ง ในที่สุด โบยะญูนต้องยอมมอบตัวต่ออังกฤษเพื่อไม่ให้คนในหมู่บ้านของเขาถูกฆ่า เขายอมมอบตัวเมื่อเมื่อ 30 พฤษภาคม..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และโบยะญูน

เจ้าฟ้ามยีนไซง์

้าฟ้ามยีนไซง์ (Myinzaing Prince) เป็นพระโอรสของพระเจ้ามินดงกับพระนางและปานซีน (Letpansin) เมื่ออังกฤษตีมัณฑะเลย์แตกนั้น พระองค์ผนวชเป็นสามเณรอยู่ หลังจากนั้น พระองค์ได้ลาผนวช หนีไปกับหม่องละเพื่อซ่องสุมกำลังต่อต้านอังกฤษ กองทัพของพระองค์ตั้งมั่นโจมตีอังกฤษที่ซีบีนจี (Zibingyi) จนถูกตีแตกพ่าย จึงต้องถอยหนีไปตั้งมั่นที่มยีนไซง์ ซึ่งทำให้พระองค์เป็นที่รู้จักในชื่อเจ้าฟ้ามยีนไซง์ พระองค์พยายามรวบรวมกำลังต่อต้านอังกฤษขึ้นอีก แต่ถูกตีแตกพ่ายไปเป็นระยะ ๆ ในที่สุดพระองค์ได้ไปรวบรวมกำลังที่ยวานกาน (Ywangan) และที่ยวานกานนี่เอง พระองค์ประชวรเป็นโรคมาลาเรียและสิ้นพระชนม์ในเดือนสิงหาคม..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และเจ้าฟ้ามยีนไซง์

เจ้าฟ้าลิมบิน

้าฟ้าลิมบิน (Limbin Prince) หรือ เจ้าฟ้าลีนปีน (Lin Pin Prince) ทรงเป็นโอรสของเจ้าฟ้ากะหน่อง (Kanaung) แต่ถูกทอดทิ้ง จึงต้องดำรงชีวิตเป็นพ่อค้าขายตุ๊กตาอยู่กับยาย ต่อมา ใน..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และเจ้าฟ้าลิมบิน

เจ้าซอยานไปง์

้าซอยานไปง์ (Saw Yan Paing) เป็นเชื้อพระวงศ์ของพม่าในราชวงศ์คองบอง เป็นโอรสของเจ้าฟ้าเมกกะยากับตะโยะตานคีนเล (Tayoktan Khin Lay) พระองค์ถูกกักบริเวณในพระราชวังในรัชกาลพระเจ้าสีป่อ ก่อนจะเป็นอิสระเมื่ออังกฤษเข้ายึดมัณฑะเลย์ได้ หลังจากนั้นพระองค์ได้ไปรวบรวมกำลังเพื่อต่อต้านอังกฤษ โดยตั้งมั่นที่ตำบลชอง-กวะ (Chaunggwa) ในเขตอังวะร่วมกับเจ้าซอยานไนง์ (Saw Yan Naing) ทำให้พระองค์และเจ้าซอยานไนง์ถูกเรียกรวมกันว่า เจ้าฟ้าชอง-กวะ และได้มารวมกับกลุ่มของเจ้าฟ้ามยีนไซง์เมื่อ 23 พฤษภาคม..

ดู ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438และเจ้าซอยานไปง์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ การต่อต้านอังกฤษในพม่า พ.ศ. 2428 - 2438