โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์

ดัชนี กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เป็นศิลปิน และ นักแสดงชาวไทย อดีตศิลปินสังกัดกามิกาเซ่ มีน้องสาว 1 คน ชื่อ "ขนมหวาน" รัตนรวินท์ ลิมปวุฒิวรานนท์ ผู้เข้าประกวดเคพีเอ็นอวอร์ด ครั้งที่ 24 หมายเลข KPN 10 ขนมจีนออกอัลบั้มแรกในปี..

77 ความสัมพันธ์: ชิงรักหักสวาทช่อง 8พ.ศ. 2535พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พระมหาชนกกรุงเทพมหานครกามิกาเซ่กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ญารินดา บุนนาคมิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์มณีรัตน์ คำอ้วนยูแชนเนลยูโฟเนียมร็อกวิชญาณี เปียกลิ่นศุภรุจ เตชะตานนท์สาปสางสุดแต่ใจจะไขว่คว้าหวายอคัมย์สิริ สุวรรณศุขผู้ชนะสิบทิศจามิล่า พันธ์พินิจขนมจีนดอกซ่อนชู้คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซิ่นลายหงส์ประเทศไทยปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ป็อปป็อปพังก์ป็อปร็อกนักร้องนักแสดงนัท มีเรียแม่นาคพระโขนง เดอะมิวสิคัลแคลริเน็ตโรงเรียนราชวินิตโรงเรียนสตรีวิทยาโซล (แนวดนตรี)เกมพยาบาท...เยส มิวสิคLove Bipolar เลิฟนะคะ รักนะครับThe Mask Singer หน้ากากนักร้อง ซีซันที่ 310 กุมภาพันธ์12 พฤศจิกายน12 กันยายน13 กรกฎาคม13 ตุลาคม15 ธันวาคม16 พฤษภาคม17 พฤษภาคม17 กุมภาพันธ์18 กุมภาพันธ์2 กรกฎาคม20 สิงหาคม21 มีนาคม23 สิงหาคม24 กันยายน26 มกราคม26 มิถุนายน28 กุมภาพันธ์28 มิถุนายน30 กรกฎาคม30 กันยายน4 ตุลาคม5 เมษายน9 มิถุนายน ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »

ชิงรักหักสวาท

งรักหักสวาท เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวพีเรียด-ดราม่า โดยสร้างขึ้นจากบทประพันธ์ของ วาทินีย์ โอฬาร์กร บทโทรทัศน์โดย สติมา และ ศิกานต์ กำกับการแสดงโดย อดุลย์ บุญบุตร และ ศุภฌา ครุฑนาค ลงเสียงประกอบโดย ปั้น-ปั้น นำแสดงโดย สมชาย เข็มกลัด, สุจิรา อรุณพิพัฒน์, ภัครมัย โปตระนันท์, สิทธา สภานุชาติ, กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์, ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557 ทุกวันจันทร์ - พุธ เวลา 08.00 น., 12.15 น. และเวลา 20.00 น. โดยออกอากาศต่อจากละครเรื่องผัวชั่วคราว ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ผลิตโดย บริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด อำนวยการผลิตโดย องอาจ สิงห์ลำพอง.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และชิงรักหักสวาท · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 8

อง 8 (Channel 8 ชื่อเดิม:ช่อง 8 อินฟินิตี้) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทรายการวาไรตีและบันเทิง ซึ่งผลิตโดยบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ออกอากาศผ่านระบบโทรทัศน์ดาวเทียม และโทรทัศน์เคเบิลทั่วประเทศไทย เริ่มทดลองออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และออกอากาศจริงครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2554 ต่อมาเริ่มออกอากาศ ผ่านระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 โดยมีคำขวัญตั้งต้นว่า ช่อง 8 อินฟินิตี ความสุขไม่รู้จบ ต่อมาเปลี่ยนเป็น ช่อง 8 ฟรีทีวี วาไรตี้ 24 ชั่วโมง เมื่อปี 2555 เปลี่ยนสโลแกนเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 เป็น เพื่อนคุณทุกที่ ทีวีของทุกคน และล่าสุด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ช่อง 8 เปลี่ยนสโลแกนใหม่เป็น "ช่อง 8 เข้มทุกเรื่องราว สุดทุกอารมณ์".

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และช่อง 8 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาชนก

ระราชนิพนธ์เรื่อง''พระมหาชนก'' พระมหาชนก เป็นเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก อันเป็นชาดก 10 ชาติสุดท้ายก่อนที่พระโพธิสัตว์จะมาประสูติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ และตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชาดกเรื่องนี้เป็นการบำเพ็ญความเพียรเป็นบารมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัย จึงทรงค้นเรื่องพระมหาชนกในพระไตรปิฎกและทรงแปลเป็นภาษาอังกฤษตรงจากมหาชนกชาดก ตั้งแต่ต้นเรื่อง โดยทรงดัดแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น นอกจากนี้ ยังทรงแปลเป็นภาษาสันสกฤตประกอบอีกภาษา รวมทั้งแผนที่ฝีพระหัตถ์ แสดงสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมืองโบราณบางแห่งและข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเกี่ยวกับทิศทางลม กับกำหนดวันเดินทะเลตลอดจนจุดอัปปางของเรืออับโชค ทรงคาดคะเนโดยอาศัยข้อมูลทางโหราศาสตร์ แสดงถึงพระปรีชาในด้านอักษรศาสตร์ ภูมิศาสตร์และโหราศาสตร์ไทย ในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกแห่งรัชกาล เมื่อ..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และพระมหาชนก · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กามิกาเซ่

กามิกาเซ่ เป็นค่ายเพลงย่อยในสังกัดอาร์เอส ก่อตั้งใน พ.ศ. 2550 จากแนวคิดของสุทธิพงษ์ วัฒนจัง และณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์ ที่ต้องการทำค่ายเพลงสำหรับกลุ่มประชากรวัยก่อนวัยรุ่นโดยเฉ.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และกามิกาเซ่ · ดูเพิ่มเติม »

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เป็นศิลปิน และ นักแสดงชาวไทย อดีตศิลปินสังกัดกามิกาเซ่ มีน้องสาว 1 คน ชื่อ "ขนมหวาน" รัตนรวินท์ ลิมปวุฒิวรานนท์ ผู้เข้าประกวดเคพีเอ็นอวอร์ด ครั้งที่ 24 หมายเลข KPN 10 ขนมจีนออกอัลบั้มแรกในปี..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และกุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ญารินดา บุนนาค

ญารินดา บุนนาค (ชื่อเล่น: นินา; เกิด: 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เป็นนักร้อง, นักแสดง, พิธีกร และสถาปนิกหญิง ชาวไทย มีผลงานเพลงที่สร้างชื่อให้กับเธอ แค่ได้คิดถึง ญารินดายังเป็นอาจารย์พิเศษชั้นปีที่สี่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ (INDA).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และญารินดา บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์

มิวสิคมูฟ เป็นชื่อค่ายเพลงค่ายหนึ่งในประเทศไทยที่ก่อตั้งขึ้นโดยจุ๊บ - วุฒินันต์ ภิรมย์ภักดี กรรมการผู้จัดการ พร้อมทีมผู้บริหารประกอบด้วยกรรมการผู้อำนวยการ คือป้อม - อัสนี โชติกุล และ ศรีล สุขุม ผู้อำนวยการสื่อสารองค์กร พร้อม 2 ค่ายเพลงใหม่ในเครือ ประกอบด้วย มิวสิคมูฟเรคคอร์ดส, มีเรคคอร์ดส, เจ้าพระยาเรคคอร์ดส และบ็อกซ์มิวสิค เปิดตัวเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พร้อมชื่อบริษัทใหม่ว่า Music Move Entertainment และได้เปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็น Muzik Move เมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และมิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มณีรัตน์ คำอ้วน

มณีรัตน์ คำอ้วน (ชื่อเล่น: เอ๋; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 —) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-บังกลาเทศซึ่งเกิดและโตในประเทศไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท รับบท "นุ้ย" และจากซิทคอมเรื่อง เทวดาสาธุ รับบท "พลอยใส".

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และมณีรัตน์ คำอ้วน · ดูเพิ่มเติม »

ยูแชนเนล

ูแชนเนล (You Channel) เป็นช่องโทรทัศน์เพลง ของบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทาง ดาวเทียม ไทยคม 5 ในระบบ ซี-แบนด์ เคยู-แบนด์ ดีทีวี ช่อง 37 และ เคเบิลทีวีไทยทั่วประเทศ ตลอด 24 ชั่วโมง เริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2552 เป็นช่องที่นำเสนอเกี่ยวกับเพลงในแนววัยรุ่น ตามคำขวัญว่า "เพื่อนคุณ 24 ชั่วโมง" ต่อมาปี 2560 ยู แชนเนล ปรับโลโก้ใหม่ และเปลี่ยนสโลแกนใหม่เป็น "เพลงฮิต วาไรตี้ฮ็อต" เปิดรายการ และเพลงเก่าๆของอาร์เอส พร้อมการขายสินค้าเครื่องสำอาง.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และยูแชนเนล · ดูเพิ่มเติม »

ยูโฟเนียม

ูโฟเนียม ยูโฟเนียม (euphonium) คือ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าทองเหลือง ลักษณะเสียงของยูโฟเนียมจะนุ่มนวล ทุ้มลึก และมีความหนักแน่นมาก สามารถเล่นในระดับเสียง โดยมากจะใช้ในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง ต่ำได้ดี บางครั้งนำไปใช้ในวงออร์เคสตร้า และแตรวงแทนทูบา คำว่า”ยูโฟเนียม” มาจากภาษากรีกหมายถึง ”เสียงดี” ลักษณะทั่วไปของยูโฟเนียมเหมือนกับเครื่องเป่าทองเหลืองทั่วไป จะมีลูกสูบ 3 – 4 ลูกสูบมีกำพวดเป็นรูปถ้วย ท่อลมกลวงบานปลายเป็นลำโพงเสียง มีเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งชื่อ “บาริโทน” มีเสียงใกล้เคียงกับยูโฟเนียม แต่ท่อลมมีขนาดเล็กกว่า เสียงของบาริโทนจะมีความห้าวมากกว่ายูโฟเนียม พบว่าบ่อยครั้งที่มีการเรียกชื่อสลับกันระหว่างยูโฟเนียมและบาริโทน.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และยูโฟเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และร็อก · ดูเพิ่มเติม »

วิชญาณี เปียกลิ่น

วิชญาณี เปียกลิ่น หรือที่รู้จักในนาม แก้ม เดอะสตาร์ หรือ แก้ม วิชญาณี เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกรชาวไทย สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้ชนะรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 4 และเป็น "เดอะสตาร์หญิงคนแรกของเมืองไทย" แก้มได้ชื่อว่าเป็น "ศิลปินหญิงพลังเสียงคุณภาพ" หรือ "ดีวาสาวเสียงทรงพลัง" จากสื่อมวลชนหลายสำนัก และได้รับการกล่าวถึงในด้านเทคนิคการใช้เสียงและการถ่ายทอดอารมณ์เพลง แก้มได้รับรางวัลหลายประเภท อาทิ เยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ลูกกตัญญู นักร้องหญิงยอดนิยมสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2008 ครั้งที่ 7 ผู้ขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทยเพชรในเพลง 2556 รวมทั้งเป็น "นักร้องเพลงไทยสากลหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุด" อันดับ 2 ของประเทศ จากผลสำรวจของสวนดุสิตโพลในปี 2560 เธอสามารถร้องเพลงได้หลายแนวและหลายภาษา ทั้งไทย อังกฤษ และเกาหลี.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และวิชญาณี เปียกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรุจ เตชะตานนท์

รุจ เตชะตานนท์ หรือ รุจ เป็นนักร้องชาวไทย มีชื่อเสียงจากการประกวดในรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 4 และได้รางวัลรองชนะเล.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และศุภรุจ เตชะตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สาปสาง

ปสาง เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนว ดราม่า-ตื่นเต้น-สยองขวัญ นำแสดงโดย สราวุธ มาตรทอง, กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์, จิระ ด่านบวรเกียรติ, จริญญา ศิริมงคลสกุล และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557–16 เมษายน พ.ศ. 2557 ทุกวันจันทร์ - พุธ เวลา 08.00 น., 11.00 น., 20.00 น. ต่อจากละครเรื่องผู้ชนะสิบทิศ ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ผลิตโดย บริษัท บี-แฮปปี้ ทูเกทเธอร์ จำกัด (B-HAPPY TOGETHER) ควบคุมการผลิตโดย บุณฑณิก บูลย์สิน อำนวยการผลิตโดย องอาจ สิงห์ลำพอง บทประพันธ์โดย วาทินีย์ โอฬาร์กร และบทโทรทัศน์โดย วาทินีย์ โอฬาร์กร, ขวัญปีใหม่ กำกับการแสดงโดย กรัณย์ คุ้มอนุวงษ.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และสาปสาง · ดูเพิ่มเติม »

สุดแต่ใจจะไขว่คว้า

แต่ใจจะไขว่คว้า เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวสะท้อนชีวิต สร้างสรรค์สังคม ที่สร้างจากบทประพันธ์ของ โบตั๋น ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 เริ่มสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 โดยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เสกสรร ชัยเจริญ รอน บรรจงสร้าง ชุดาภา จันทเขตต์ ก้ามปู สุวรรณปัทม์ อารดา ศรีสร้อยแก้ว สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ พิศมัย วิไลศักดิ์ แต่งเพลงนำละครโดย เทียรี่ เมฆวัฒนา และ สมหวัง อนุศักดิ์เสถียร ซึ่งจากนี้เองได้รับรางวัลเมขลา และ โทรทัศน์ทองคำ สาขาเพลงนำละครดีเด่น และละครสร้างสรรค์สังคมดีเด่น ต่อมามีการสร้างละครโทรทัศน์อีกในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2551 โดยออกอากาศทางช่องเดิม และใช้เพลงนำละครมาแต่เดิม เพียงเปลี่ยนผู้ร้อง และสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้งในปี 2558 ออกอากาศทางช่อง 8.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และสุดแต่ใจจะไขว่คว้า · ดูเพิ่มเติม »

หวาย

ก้าอี้หวาย การทำเฟอร์นิเจอร์จากหวายในอินโดนีเซีย หวาย (Rattan palm) เป็นพืชที่อยู่ในเผ่าหวาย (Calameae) พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปแอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสตราเลเชีย ทั่วโลกมีหวายเกือบ 600 ชนิด เฉพาะในประเทศไทย มีหวายเกือบ 60 ชนิด เช่น หวายโคก หวายดง หวายน้ำผึ้ง เป็นต้น ลักษณะโดยทั่วไปของหวายเป็นพันธุ์ไม้เลื้อยหรือไม้รอเลื้อยตระกูลปาล์ม ลำเถาชอบพันเกาะต้นไม้ใหญ่ มีกาบหุ้มต้น และมีหนามแหลม มีความเหนียว ใบเป็นรูปขนนกเล็กๆ ใบย่อยนั้นเรียวยาว มีสีเขียวสด ก้านใบหนึ่งๆ มีใบย่อยราว 60 - 80 คู่ ออกดอกเป็นช่อ สีขาวปนเหลือง ผลค่อนข้างกลม เปลือกเป็นเกล็ด ลูกอ่อนเปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ผลแก่เปลือกสีเหลือง เปลือกล่อน เนื้อแข็ง รสเปรี้ยวฝ.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และหวาย · ดูเพิ่มเติม »

อคัมย์สิริ สุวรรณศุข

อคัมย์สิริ สุวรรณศุข เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานดังเรื่องรอยรักรอยบาป, ขุนเดช, ลิลลี่สีกุหลาบ, คือหัตถาครองพิภพ, สุสานคนเป็น, ลิขิตริษยา, คนเริงเมือง.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และอคัมย์สิริ สุวรรณศุข · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ชนะสิบทิศ

หน้าปกนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ ฉบับตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2496 ผู้ชนะสิบทิศ เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ งานประพันธ์ชิ้นเอกของ ยาขอบ กล่าวถึงเรื่องราวของนักรบผู้หนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็น "ผู้ชนะสิบทิศ" นั่นคือ พระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุงหงสาวดี นวนิยายได้รับความนิยมมากและดัดแปลงเป็นละครเวที ละครโทรทัศน์ และ ภาพยนตร์ หลายครั้ง ตลอดจน ละครวิทยุ รวมถึงมีการประพันธ์เพลง ผู้ชนะสิบทิศ ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายด้ว.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และผู้ชนะสิบทิศ · ดูเพิ่มเติม »

จามิล่า พันธ์พินิจ

มิล่า พันธ์พินิจ ชาวไทย-อิตาลี เป็นนักร้องแนวเพลงป๊อป-ร็อก เป็นอดีตสมาชิกคนหนึ่งในสังกัดกามิกาเซ่ ซึ่ง ปัจจุบันจามิล่า ได้ขอพักงานเพื่อไปเรียนต่อที่ต่างประเทศ ที่ ณ กรุงบอสตัน ที่ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และจามิล่า พันธ์พินิจ · ดูเพิ่มเติม »

ขนมจีน

นมจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และขนมจีน · ดูเพิ่มเติม »

ดอกซ่อนชู้

อกซ่อนชู้ เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวพีเรียด-ดราม่า นำแสดงโดย วันชนะ สวัสดี, เก็จมณี วรรธนะสิน, ลภัสรดา ช่วยเกื้อ, สิทธา สภานุชาติ, ษริกา สารทศิลป์ศุภา, กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 08.00 น., 12.30 น., 19.50 น., 00.30 น. ต่อจากละครเรื่องเพลิงพ่าย ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ผลิตโดย บริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด โดยผู้จัด เมย์ เฟื่องอารมย์ อำนวยการผลิตโดย ดร.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และดอกซ่อนชู้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารศิลปกรรม 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2527 นับเป็นคณะที่ 15 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากด้านการสอนแล้ว คณะศิลปกรรมศาสตร์ยังทำหน้าที่วิจัย บุกเบิก และพัฒนาวิชาการด้านศิลปกรรม รวมทั้งทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของไทยในสาขาศิลปะและการออกแบบ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก และเป็นแห่งเดียวที่ติดอันดับ) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ซิ่นลายหงส์

ซิ่นลายหงส์ เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวพีเรียด-ดราม่า จากบทประพันธ์ของ ณไทย ภัทรกวีกานท์ ผลิตโดย บริษัท ดีคืนดีวัน จำกัด โดยผู้จัด เมย์ เฟื่องอารมย์ เขียนบทโทรทัศน์โดย ปริศนา และ ณไทย ภัทรกวีกานท์ กำกับการแสดงโดย อัครพล บัวแตง นำแสดงโดย นิธิดล ป้อมสุวรรณ, นุสบา ปุณณกันต์ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย ละครโทรทัศน์เรื่อง ซิ่นลายหงส์ นำเสนอดราม่าร้อนแรงที่สะท้อนความเชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรมและการเวียนว่ายตายเกิดผ่านวัฒนธรรมอันงามวิไลของชาวอีสาน โดยมีผ้าซิ่นลายหงส์เป็นสื่อสัญลักษณ์สำคัญของเรื่อง ซึ่งผ้าซิ่นนั้นเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความเป็นสตรีและวัฒนธรรมอีสาน (รวมถึงวัฒนธรรมลาว) "ซิ่นลายหงส์" พ้องเสียงกับคำว่า "สิ้นลายหงส์" ซึ่งมีนัยทางนามธรรมที่สะท้อนถึง กฎไตรลักษณ์ และ โลกธรรม 8 เนื้อหาละครมีการนำเสนอถึงสัจธรรมในชีวิตมนุษย์ ร้อยเรียงเรื่องราวการพุ่งทะยานขึ้นสู่จุดสูงสุดและพลิกผันดิ่งสู่จุดต่ำสุดในชีวิตของสตรีที่ถูกขนานสมญานามว่าเป็น "นางพญาหงส์".

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และซิ่นลายหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์

ปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ (หรือชื่อเดิมว่า ปัญญริสา ชุมรุม) เป็นนักร้องชาวไทย อดีตสังกัดค่าย Yes Music (ค่ายเก่ากามิกาเซ่) ในเครือของอาร์เอ.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และปัญญริสา เธียรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ป็อปพังก์

ป็อปพังก์ (Pop punk) ในบางครั้งเรียกพังก์ป็อป เป็นแนวเพลงที่รวม ผสมองค์ประกอบของพังก์ร็อกเข้ากับดนตรีป็อป ให้มีความหลากหลายยิ่งขึ้น ในครั้งแรกที่มีการใช้คำว่าป็อปพังก์ ก็ยังไม่มีความชัดเจนในการใช้ แต่เพลงพังก์ร็อกที่ได้รับอิทธิพลจากเพลงป็อปก็เกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1970 โดยวงอย่าง เดอะราโมนส์, บัซค็อกซ์, เดอะแจม, เดอะแคลช, ดิอันเดอร์โทนส์ และ เดสเซนเดนต์ส วงแบดรีลิเจียน ที่เริ่มใน 1980 เป็นวงในยุคแรก ๆ ที่เล่นในแนวเพลงนี้ จนบางครั้งเรียกว่าเป็น มาเฟียของป็อปพังก์ จนกลางยุค 1990 วงจากแคลิฟอร์เนียตอนใต้ก็มีวงอย่าง กรีนเดย์, ดิออฟสปริงส์ และแรนซิด ประสบความสำเร็จไปทั่วโลก.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และป็อปพังก์ · ดูเพิ่มเติม »

ป็อปร็อก

ป็อปร็อก คือแนวเพลงที่ผสมระหว่างแนวป็อปกับร็อก จากหนังสือ American Popular Music อธิบายคำว่าป็อปร็อกไว้ว่า "คือดนตรีร็อกหลากหลายในจังหวะเร็ว เช่นศิลปินอย่าง เอลตัน จอห์น, พอล แม็กคาร์ทนีย์, เอเวอร์รีบราเธอร์ส, ร็อด สจ๊วต, ชิคาโก, ปีเตอร์ แฟรมป์ตัน" ส่วนนักวิจารณ์เพลงที่ชื่อ จอร์จ สตารโรสตินอธิบายว่า คือ แนวเพลงย่อยของป็อป ที่ใช้ท่อนติดหูที่มีการใช้กีตาร์เป็นหลัก ส่วนเนื้อเพลงป็อปร็อกจะดูรองกว่าด้านดนตรี ฟิลิป ออสแลนเดอร์ แสดงความแตกต่างระหว่างป็อปกับร็อกว่า ป็อปร็อกจะดูชัดเจนในอเมริกามากกว่าในสหราชอาณาจักร เขาอ้างว่า ในอเมริกา ป็อปมีรากฐานมาจากเพลงฮัมของคนขาวอย่างเช่น เพอร์รี โคโม ส่วนร็อกจะได้รับอิทธิพลมาจากคนแอฟริกัน-อเมริกัน อย่างดนตรีร็อกแอนด์โรล ออสแลนเดอร์ชี้ว่า แนวความคิดของป็อปร็อกคือการผสมผสานเพลงป็อปกับร็อกที่ดูจะตรงข้ามกัน นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการกล่าวว่า เพลงป็อป จะดูไม่จริง ดูเย้ยหยัน ทำเพื่อการค้า ดูเป็นสูตรสำเร็จของการบันเทิง ในทางตรงข้าม ร็อกแสดงความจริง ความจริงใจ ปฏิเสธการค้าขาย โดยเน้นเนื้อหาการแต่งเพลงโดยนักร้อง และวงดนตรี ที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับผู้ฟัง ผู้ดู.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และป็อปร็อก · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และนักแสดง · ดูเพิ่มเติม »

นัท มีเรีย

มีเรีย อเล็กซานดรา เบนเนเดดตี้ (Myria Benedetti; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ นัท มีเรีย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ สาขานิเทศศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และนัท มีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แม่นาคพระโขนง เดอะมิวสิคัล

แม่นาคพระโขนง เดอะมิวสิคัล สร้างขึ้นโดย บริษัท ซีเนริโอ จำกัด กำกับการแสดงโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ ที่นำตำนาน แม่นาคพระโขนง มาทำในรูปแบบของ ละครเพลง โดยเปิดทำการแสดง ณ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม - 28 มิถุนายน, 16 กรกฎาคม - 26 กรกฎาคม..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และแม่นาคพระโขนง เดอะมิวสิคัล · ดูเพิ่มเติม »

แคลริเน็ต

กซ้ายไปขวา คลาริเน็ต Ab Eb และ Bb คลาริเน็ต(Clarinet) เป็นเครื่องดนตรีจำพวกเครื่องเป่าลมไม้(woodwind instruments) ที่พัฒนามาจากเครื่องดนตรีในสมัยกลางเรียกว่า chalumeau แคลริเน็ตเป็นเครื่องดนตรีที่มักทำจากไม้หรือพลาสติก ทำให้เกิดเสียงโดยใช้ลิ้นเดี่ยว (single reed) ซึ่งรัดติดกับปากเป่าเช่นเดียวกับแซกโซโฟน ช่วงเสียงแคลริเน็ต (Bb) เริ่มตั้งแต่ D (เขียนว่า E แต่เล่นแล้วออกเสียง D เนื่องจากเป็นแคลริเน็ตบีแฟลต มีเสียงต่ำกว่าที่เขียนไว้ 1 tone) เรื่อยขึ้นไปประมาณ 3 ½ คู่แป.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และแคลริเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชวินิต

รงเรียนราชวินิต ถือกำเนิดด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คำว่า"ราชวินิต" เป็นนามพระราชทาน ความหมายว่า "สถานที่อบรมกุลบุตรกุลธิดาให้เป็นคนดี ด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชปรารถที่จะจัดตั้งโรงเรียนราชอุปถัมภ์ ณ บริเวณสวนเพาะชำ วังสวนกุหลาบ จำนวน 6 ไร่ ทรงให้สำนักพระราชวังจัดตั้งเป็นโรงเรียนราษฎร์ ระดับประถมศึกษา รับนักเรียนที่เป็นบุตรหลานข้าราชการสำนักพระราชวัง โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน ขอครูจากกระทรวงศึกษาธิการมาช่วยทำการสอน ใช้งบประมาณจากสวัสดิการของกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง จำนวน 1,000,000 บาท สร้างอาคารเรียน เมื่อหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ทราบพระราชประสงค์ จึงรับสนองพระบรมราชโองการ จัดตั้งโรงเรียนราชวินิต เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกองการประถมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2509 เปิดสอนชั้นเด็กเล็กถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 รับนักเรียนที่เป็นบุตรหลานข้าราชการ สำนักพระราชวัง และของบุคคลทั่วไป โดยมีคุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรก.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และโรงเรียนราชวินิต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวิทยา

รงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satri Wittaya School) หรือเรียกอย่างย่อ ว่า สตรีวิท เป็นโรงเรียนรัฐบาลมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และโรงเรียนสตรีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เกมพยาบาท

กมพยาบาท เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวดราม่า ผลิตโดย บริษัท โชคดีมีสุข จำกัด จากบทประพันธ์ของ ระกา นุกูล เขียนบทโทรทัศน์โดย แสงเหนือ กำกับการแสดงโดย ฉัตรชัย นาคสุริยะ นำแสดงโดย รัฐภูมิ โตคงทรัพย์, เอมี่ กลิ่นประทุม, อนุชิต สพันธุ์พงษ์, กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์, ศิระ แพทย์รัตน์, จุฬาลักษณ์ จุฬานนท์ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย ออกอากาศทุกจันทร์-อังคาร เวลา 09.00 / 19.50 น. ทางช่อง 8 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (งดออกอากาศตั้งแต่วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) เริ่มออกอากาศใหม่ทุกวันพุธ - พฤหัสบดี เริ่ม 5 เมษายน พ.ศ. 2560 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เวลา 09.00 / 20.05 น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และเกมพยาบาท · ดูเพิ่มเติม »

เยส มิวสิค

มิวสิค (Yes Music) เป็นชื่อเรียกของธุรกิจเพลงส่วนกลางในเครือบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยเคยเป็นหนึ่งในค่ายย่อยที่แยกตัวออกมาในช่วงที่มีการปรับโครงสร้างธุรกิจเพลงในช่วงปี 2555-2556 แต่ต่อมาค่ายย่อยอื่นหลายๆ ค่ายได้ทยอยลดสถานะและยุบรวมเข้าด้วยกัน จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายให้ชื่อ อาร์เอส มิวสิก เป็นชื่อกลางสำหรับหน่วยธุรกิจ และปัจจุบันก็ได้เปลี่ยนรูปแบบกลับมาเป็นค่ายเพลงหลักส่วนกลางตามเดิม.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และเยส มิวสิค · ดูเพิ่มเติม »

Love Bipolar เลิฟนะคะ รักนะครับ

Love Bipolar เลิฟนะคะ รักนะครับ เป็นละครสั้น ประเภทโรแมนติกคอมเมดี้ ผลิตโดยจีเอ็มเอ็มทีวี บริษัท ออนแอนด์ออน อินฟินิตี้ จำกัด และบริษัท เบทเตอร์เวย์ (ประเทศไทย) จำกัด นำแสดงโดย โทนี่ รากแก่น, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, คารีสา สปริงเก็ตต์ และ ชัชชวิศ เตชะรักษ์พงศ์ กำกับการแสดงโดย ผิน เกรียงไกรสกุล ออกอากาศทางช่องจีเอ็มเอ็ม 25 วันอาทิตย์ เวลา 20.30 - 21.45 น. เริ่มฉายตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และLove Bipolar เลิฟนะคะ รักนะครับ · ดูเพิ่มเติม »

The Mask Singer หน้ากากนักร้อง ซีซันที่ 3

The Mask Singer หน้ากากนักร้อง ซีซันที่ 3 รายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตีโชว์มิวสิกโชว์และเป็นฤดูกาลที่ 3 ของรายการ The Mask Singer หน้ากากนักร้อง ของประเทศไทยผลิตรายการโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินรายการโดย กันต์ กันตถาวร.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และThe Mask Singer หน้ากากนักร้อง ซีซันที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ12 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ16 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ18 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ4 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์และ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ขนมจีน (วงดนตรี)ขนมจีน (นักร้อง)ขนมจีน กามิกาเซ่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »